830 likes | 1.1k Views
การเฝ้าระวังและการสอบสวนโรค ในภาวะฉุกเฉิน. นายวันชัย อาจเขียน การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ระดับอำเภอ สำนักระบาดวิทยา หลักสูตรตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
E N D
การเฝ้าระวังและการสอบสวนโรค ในภาวะฉุกเฉิน นายวันชัย อาจเขียน การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT)ระดับอำเภอ สำนักระบาดวิทยา หลักสูตรตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข กรมควบคุมโรค ณ โรงแรมท๊อปแลนด์ 31 มีนาคม 2552 จังหวัดพิษณุโลก
หัวข้อ • ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขกับบทบาทของ SRRT • ภาวะฉุกเฉินกับการเกิดโรคและภัยสุขภาพ • การเฝ้าระวังโรคในภาวะฉุกเฉิน • ตัวอย่างการดำเนินงานด้านเฝ้าระวังโรคระหว่างและภายหลังภัยธรรมชาติ “กรณีอุทกภัย ปีพ.ศ. 2549” • การสอบสวนโรค
ภัยพิบัติ (Disaster) หมายถึง • ภาวะฉุกเฉิน (Emergency) ที่มีผลกระทบตอระบบนิเวศ และชุมชนนั้นไมสามารถแกไขไดดวยตนเอง หากแตตองอาศัยความชวยเหลือจากภายนอก จึงจะสามารถจัดการแกไขไดอยางมีประสิทธิผล WHO : ปรากฏการณที่ก่อให้เกิดความเสียหาย กระทบต่อระบบนิเวศ มีผลต่อการสูญเสียชีวิต หรือทำลายสุขภาพและการบริการทางสุขภาพ ซึ่งมีขนาดถึง ตองอาศัยความชวยเหลือจากภายนอกชุมชน (ดร.สสิธร เทพตระการพร ใน : หน่วยที่ 1 หลักสูตรการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขสำหรับ SRRT)
สาธารณภัย • หมายถึง ภัยอันมีมาเป็นสาธารณะ ไม่ว่าจะเกิดจากธรรมชาติ หรือมีผู้ทำให้เกิดขึ้น ได้แก่ อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย ตลอดจนภัยอื่น ๆ ซึ่ง ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายแก่ชีวิตร่างกายของประชาชน หรือความเสียหายแก่ทรัพย์สินของประชาชนหรือรัฐ ทำให้การดำรงชีวิตในภาวะปกติหยุดชะงักลง (น.พ.พรเพชร ปัญจปิยะกุล ใน :การดำเนินงาน PHEMกระทรวงสาธารณสุข, 2550)
การจัดระดับความรุนแรงของสาธารณภัยการจัดระดับความรุนแรงของสาธารณภัย • ความรุนแรงระดับ 1 • สาธารณภัยที่เกิดขึ้นทั่วไปหรือมีขนาดเล็ก ซึ่งสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสามารถ ควบคุมสถานการณ์และจัดการระงับภัยได้โดยลำพัง • ความรุนแรงระดับ 2 • สาธารณภัยขนาดกลาง บริหารจัดการในระดับเขต • ความรุนแรงระดับ 3 • สาธารณภัยขนาดใหญ่ บริหารจัดการในระดับประเทศ (น.พ.พรเพชร ปัญจปิยะกุล ใน :การดำเนินงาน PHEMกระทรวงสาธารณสุข, 2550)
ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (Public Health Emergency) หมายถึง เหตุการณ์ที่เป็นโรคและภัยคุกคามสุขภาพ ซึ่งมีลักษณะเข้าได้กับเกณฑ์ อย่างน้อย 2 ใน 4 ประการ ดังนี้ 1. ทำให้เกิดผลกระทบทางสาธารณสุขที่มีความรุนแรง (seriousness of the public health impact of the event) 2. เป็นเหตุการณ์ที่ผิดปกติหรือไม่เคยพบมาก่อน (unusual or unexpected nature of the event) 3. มีโอกาสที่จะแพร่ไปสู่พื้นที่อื่น (potential for the event to spread) 4. ต้องจำกัดการเคลื่อนที่ของผู้คนหรือสินค้า (the risk that restrictions to travel or trade) (วันชัย อาจเขียน, ในรายงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาประจำสัปดาห์ ปีที่ 37: ฉบับที่ 46 : ปี 2549)
Decision instrument (Annex 2) 1 ราย: -ไข้ทรพิษ, โปลิโอ (wild type), ไข้หวัดใหญ่ในคนสายพันธุ์ใหม่, ซาร์ส โรคไม่ทราบสาเหตุที่ไม่เข้ากับกลุ่มซ้ายหรือกลุ่มขวา มีแนวโน้มระบาดข้ามประเทศ มีแนวโน้มแพร่ระบาด :-อหิวาต์, กาฬโรคปอด, ไข้เหลือง,ไข้เลือดออกจากไวรัส (อีโบลา,ลัสสา,มาร์เบิร์ก,เวสท์ไนล์,เดงกี่,ลิฟท์วัลลีย์), ไข้กาฬหลังแอ่น หรือ หรือ ปัญหาสาธารณสุขรุนแรง? รุนแรง ไม่รุนแรง ไม่คาดฝันหรือผิดปกติ ไม่คาดฝันหรือผิดปกติ ใช่ ไม่ใช่ ใช่ ไม่ใช่ มีความเสี่ยงแพร่ระบาดข้ามประเทศ มีความเสี่ยงแพร่ระบาดข้ามประเทศ มี ไม่มี มี ไม่มี มีผลกระทบกับการเดินทาง/ การค้าระหว่างประเทศ มี ไม่มี ไม่ต้องแจ้งความแต่ประเมินจนได้ข้อมูลเพียงพอ ต้องแจ้งองค์การอนามัยโลกตาม IHR
ระดับความรุนแรง ของภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข Level 1 : Day-to-Day Emergency เหตุการณ์ที่เป็นจุดเริ่มต้น (originate)หน่วยงานพื้นที่แก้ไขปัญหาได้เอง เช่น โรคอาหารเป็นพิษ Level 2 : Minor Emergency เหตุการณ์ที่รุนแรงขึ้น เกิดหนึ่งหรือหลายพื้นที่พร้อมกัน อาจเกิดเหตุบริเวณกว้างหรือติดต่อเป็นเวลานาน ต้องได้ความช่วยเหลือเพิ่มเติมจากหน่วยงานระดับสูงกว่าเช่น อหิวาตกโรคระบาด Level 3 : Major Emergency เหตุการณ์ที่เกินขีดความสามารถของระดับพื้นที่ หน่วยงานใกล้เคียงและระดับสูงกว่าต้องให้การช่วยเหลือ อาจต้องจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการและทีมจัดการภาวะฉุกเฉิน เช่น มีผู้ป่วยไข้ทรพิษ, SARS, การฟุ้งกระจายของแก๊สพิษหรือสารเคมีอื่น ๆ Level 4 : Catastrophic Emergency ภาวะฉุกเฉินจากพิบัติภัย (Catastrophy) ผู้ประสบภัยไม่อาจช่วยเหลือตนเอง เป็นความรับผิดชอบของหน่วยจัดการภาวะฉุกเฉินระดับประเทศ เช่น Tsunami, Katrina (วันชัย อาจเขียน, ในรายงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาประจำสัปดาห์ ปีที่ 37: ฉบับที่ 46 : ปี 2549)
DisasterกับPublic Health Emergency Level 4 : Catastrophic Emergency Level 3 : Major Emergency Level 2 : Minor Emergency Level 1 : Day-to-Day Emergency สาธารณภัยระดับ 3 (Catastophy /พิบัติภัย) สาธารณภัยระดับ 2 สาธารณภัยระดับ 1 อุบัติภัย Emergency ภัย/ภาวะฉุกเฉิน Public Health Emergency ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
Public Health Emergency PHE (level 2+) ผลจากภัยพิบัติ ที่ไม่ใช่โรค Level 4 : Catastrophic Emergency Level 3 : Major Emergency Level 2 : Minor Emergency Level 1 : Day-to-Day Emergency Emerging diseases Outbreaks Natural disasters Technological disasters (Mass injury, Chemical, Radiation) PHE (level 2+) โรค/ภัยสุขภาพ ที่เป็น PHEIC PHE (level 2+) ภัยจากโรคระบาด PHE (level 1) ระบาดเล็กน้อย
2546 SARS ประเทศไทย 2546Probable case ป่วย 8 ตาย 2
ไข้หวัดนกระบาด 2547 ไข้หวัดนก,ประเทศไทย 2547 Confirmed caseป่วย 17 ตาย 12สัตว์ปีกถูกทำลาย 30 ล้านตัว ผลกระทบกับการส่งออก 0.9 % GDPผลกระทบด้านการท่องเที่ยว 6 % GDP
Cases 26,000,000 Cases 6,500,000 Case rate 40% CFR 1% Cases rate 10% CFR 1 % ประมาณการผลกระทบ จาก Flu Pandemic ในประเทศไทย Deaths 260,000 25xx deaths 65,000 16 Apr 05 (นพ.ศุภมิตร ชุณหสุทธิวัฒน์)
- จะแก้ไขได้อย่างไร เรากำลังเผชิญปัญหา ภัยจากมนุษย์ (MAN MADE DISASTER) OUTBREAK ของโรคประจำถิ่น SRRT ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (Public Health Emergency) สาธารณภัย (NATURAL DISASTER) โรคติดเชื้ออุบัติใหม่ (EMERGING DISEASE)
ทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว:SRRT(Surveillance and Rapid Response Team) บทบาทหน้าที่ • เฝ้าระวังโรคติดต่อที่แพร่ระบาดได้รวดเร็วรุนแรง • ตรวจจับ public health emergency • ออกสอบสวนโรคอย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว • ควบคุมโรคฉุกเฉิน เพื่อหยุดยั้งการแพร่ระบาดไม่ให้ขยายวงหรือมี generation ที่ 2 • แลกเปลี่ยนข้อมูลเฝ้าระวังโรค
ผังแสดงโครงสร้างศูนย์ปฏิบัติการเตรียมพร้อมด้านการแพทย์และการสาธารสุข ส่วนภูมิภาค ระดับจังหวัด ผู้บัญชาการเหตุการณ์ (ด้านการแพทย์และการสาธารสุข) หัวหน้างานด้านความปลอดภัย หัวหน้างานประชาสัมพันธ์ หัวหน้างานประสานงาน หัวหน้างานสนับสนุนทั่วไป หัวหน้างานวางแผน หัวหน้าปฏิบัติการด้านเฝ้าระวัง สอบสวน ควบคุมโรค หัวหน้าปฏิบัติการด้านการแพทย์ ฝ่ายสื่อสารและขนส่ง ฝ่ายประเมินสถานการณ์ และประเมินผล ฝ่ายรักษาพยาบาล ฝ่ายเฝ้าระวังและควบคุมโรคเชิงรุก ฝ่ายจัดซื้อและพัสดุ ฝ่ายสุขภาพจิต ฝ่ายสนับสนุนกำลังคน (จนท.ด้านการแพทย์- บุคลทั่วไป) ฝ่ายสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ฝ่ายเภสัชกรรม ฝ่ายอาหารและเครื่องดื่ม ฝ่ายจัดการศพ ฝ่ายห้องปฏิบัติการชันสูตร ฝ่ายการเงินการคลัง ฝ่ายอสม.และภาคประชาชน ฝ่ายสนับสนุนวิชาการ
โรคระบาดเล่นงานบังคลาเทศหลังน้ำท่วมใหญ่โรคระบาดเล่นงานบังคลาเทศหลังน้ำท่วมใหญ่ บังคลาเทศเผชิญโรคระบาดและการขาดแคลนอาหาร จำนวนผู้เสียชีวิตเพิ่มขึ้นเป็น 328 ศพ ภายหลังน้ำท่วมใหญ่ในเอเซียใต้ จนท.สธ.บังคลาเทศกำลังดิ้นรนอย่างหนักเพื่อควบคุมการระบาดของโรคที่เกิดจากน้ำขณะที่น้ำท่วมได้ลดระดับลง หลังจากเกิดอุทกภัยครั้งใหญ่และฝนตกหนักเป็นประวัติการณ์คร่าชีวิตผู้คน 328 ศพประชาชนไม่ต่ำกว่า 18,330 คนเข้ารักษาตัวตามโรงพยาบาลต่างๆทั่วประเทศ เนื่องจากป่วยด้วยโรคท้องร่วงในช่วง 8 วันที่ผ่านมาเพราะขาดแคลนน้ำดื่มน้ำสะอาด นอกจากนี้ ยังมีการระบาดของโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ ผิวหนัง และนัยน์ตา ในช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมารายงานแจ้งว่า มีผู้ป่วยใหม่จากโรคที่เกิดจากน้ำเพิ่มขึ้นกว่า 4,000 คน โรงพยาบาลรับผู้ป่วยเข้ารักษา 691คนเมื่อเทียบกับระดับเฉลี่ย 300-400ต่อวัน (นสพ.เดลินิวส์ 9 ส.ค.50)
ผลกระทบของภาวะฉุกเฉินผลกระทบของภาวะฉุกเฉิน • มีการป่วย การตายเพิ่มขึ้น • ผลกระทบต่อสุขภาพจิต • ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช่น หมอกควันจากไฟป่า • การสัมผัสสารพิษ สารเคมี รังสี • การทำลายระบบบริการพื้นฐานที่สำคัญต่อชีวิต : อาหาร น้ำ ที่อยู่อาศัย ประปา ไฟฟ้า โรงพยาบาล การขนส่ง • การสูญเสียระบบข้อมูลข่าวสาร • การอพยพย้ายที่อยู่ของประชากร • เกิดความล่าช้าในการเข้าถึงบริการทางการแพทย์ที่เคยได้รับ (ดร.สสิธร เทพตระการพร ใน : หน่วยที่ 1 หลักสูตรการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขสำหรับ SRRT)
ปัจจัยที่มีผลต่อการถ่ายทอดโรคหลังภัยพิบัติปัจจัยที่มีผลต่อการถ่ายทอดโรคหลังภัยพิบัติ • ระดับการเกิดโรคในพื้นที่เปลี่ยนไปจากเดิม (Preexistent levels of disease) มีโรคใหม่ ๆ เกิดขึ้น • ผู้ช่วยเหลือนำไป • ผู้ช่วยเหลือติดโรคในพื้นที่ • มีเชื้อสายพันธุ์ใหม่ • เปลี่ยนแปลงระบบนิเวศวิทยา (Ecological changes) • ฝนตกหนัก ทำให้หนอง, บึงเปลี่ยนไป แหล่งเพาะพันธุ์ยุง • น้ำท่วม บ่อน้ำ, สระน้ำที่เป็นแหล่งน้ำบริโภค • แผ่นดินไหว เพิ่มแหล่งเพาะพันธุ์หนูและแมลง (Dr. Karl A. Western. In : Epidemiologic Surveillance after Natural Disaster)
ปัจจัยที่มีผลต่อการถ่ายทอดโรคหลังภัยพิบัติปัจจัยที่มีผลต่อการถ่ายทอดโรคหลังภัยพิบัติ • การเคลื่อนย้ายของประชากร (Population displacement) • การเคลื่อนย้ายระยะใกล้ - สาธารณูปโภคจำกัด • การเคลื่อนย้ายระยะไกล – ไปติดโรค หรือนำเชื้อโรค/แมลง/สัตว์นำโรคไปด้วย • การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย/พาหะของโรค • ความหนาแน่นประชากรเปลี่ยนไป (Changes in population density) มีผลต่อ • โรคติดต่อระบบทางเดินหายใจ • โรคติดต่อโดยการสัมผัส • โรคอุจจาระร่วง (Dr. Karl A. Western. In : Epidemiologic Surveillance after Natural Disaster)
ปัจจัยที่มีผลต่อการถ่ายทอดโรคหลังภัยพิบัติปัจจัยที่มีผลต่อการถ่ายทอดโรคหลังภัยพิบัติ • ระบบบริการสาธารณะขัดข้อง(Disruption of public utilities) • ไม่มีไฟฟ้าใช้ -- ไม่เห็นสิ่งปนเปื้อน • เพิ่มความเสี่ยงโรคติดต่อจากอาหารและน้ำ • ขาดแคลนน้ำสะอาด(ล้างมือ/อาบน้ำ) -- โรคจากการสัมผัส • บริการสาธารณสุขไม่สะดวก (Interruption of basic public health services) เช่น • การรับวัคซีน • การรักษาวัณโรคที่ต่อเนื่อง • การควบคุมมาลาเรียและโรคนำโดยแมลง ฯ (Dr. Karl A. Western. In : Epidemiologic Surveillance after Natural Disaster)
อุทกภัย Influenza Conjunctivitis Food poisoning Hepatitis Leptospirosis Melioidosis Injury – Drowned Animal bite Infected wound ภัยแล้ง Cholera Food poisoning Dysentery Enteric Fever Hepatitis A Anthrax ตัวอย่างโรค/ภัย จากภัยธรรมชาติ
บทบาทของ SRRT ในภาวะฉุกเฉิน • กรณีการระบาด • สอบสวนโรคเพื่อหาสาเหตุ แหล่งโรค • ควบคุมการระบาด • เฝ้าระวังติดตามแนวโน้มของสถานการณ์ • กรณีภัยธรรมชาติ • จัดตั้งระบบเฝ้าระวังโรคในพื้นที่เกิดเหตุ • สอบสวนเหตุการณ์ที่ผิดปกติ (ถ้ามี) • ควบคุมการระบาด (ถ้ามี)
การเฝ้าระวังและตอบสนองของทีม SRRT ในภาวะฉุกเฉิน Early warning Response (Anne Mazick)
การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา หมายถึง การติดตามสังเกต พินิจพิจารณา ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของการเกิด การกระจายของโรค และเหตุการณ์หรือปัญหาสาธารณสุข รวมทั้งปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงนั้น ๆ อย่างต่อเนื่อง ด้วยกระบวนการที่เป็นระบบและมีขั้นตอน ประกอบด้วยการรวบรวม เรียบเรียง วิเคราะห์ แปลผล และกระจายข้อมูลข่าวสารสู่ผู้ใช้ประโยชน์เพื่อการวางแผน กำหนดนโยบาย การปฏิบัติงาน และการประเมินมาตรการควบคุมป้องกันโรคอย่างมีประสิทธิภาพ... (กองระบาดวิทยา/คู่มือการดำเนินงานฯ/2542)
ขั้นตอนการดำเนินงาน 1. การรวบรวมข้อมูล (Collection of data) 2. การเรียบเรียงข้อมูล (Collation of data) 3. การวิเคราะห์และแปลผล (Analysis and interpretation of data) 4. การกระจายข้อมูลข่าวสาร (Dissemination of information)
แบบฟอร์มมาตรฐาน ใคร อะไร ที่ไหน เมื่อไร การรวบรวมข้อมูล แหล่งข้อมูล ผู้รายงาน การส่งข้อมูล (email, telephone, fax…) ความถี่ การวิเคราะห์ข้อมูล วิธีการและวัตถุประสงค์ ผู้วิเคราะห์ ความถี่ Statistical software การเผยแพร่ข้อมูล ใคร เมื่อไร อย่างไร Standardized Surveillance Methods SRRT Foundation Course PHEM
ข้อมูลเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาข้อมูลเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา 1. ข้อมูลการป่วย 2. ข้อมูลการตาย 3. ข้อมูลการชันสูตรโรค 4. ข้อมูลการระบาด 5. ข้อมูลการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย 6. ข้อมูลสอบสวนการระบาด 7. ข้อมูลการสำรวจทางระบาดวิทยา 8. ข้อมูลการศึกษารังโรคในสัตว์และการกระจายของแมลงนำโรค 9. ข้อมูลการใช้วัคซีน ซีรั่ม และยา 10. ข้อมูลประชากรและสิ่งแวดล้อม
การเฝ้าระวังโรคในภาวะฉุกเฉินการเฝ้าระวังโรคในภาวะฉุกเฉิน • Surveillance system • ระบบเฝ้าระวังปกติ (routine surveillance) • การเฝ้าระวังเชิงรุก (active surveillance) • Event – based surveillance
Surveillance system ในภาวะฉุกเฉิน ระบบเฝ้าระวังปกติ (routine surveillance) • การป่วยและการตาย(รง.506, แบบ Injury Surveillance) • การตรวจชันสูตรทางห้องปฏิบัติการ • การตรวจวัดสิ่งคุกคามในสิ่งแวดล้อม (เฝ้าระวังทางสุขาภิบาล) การใช้ประโยชน์ • เป็นข้อมูลพื้นฐาน หรือสัญญาณภัย (Signals) • รายงานที่เป็นทางการ ปัญหา/ข้อจำกัด • การวินิจฉัยโรคในภาวะฉุกเฉิน • โครงสร้างระบบบริการถูกทำลาย ส่งรายงานไม่ได้
เขต สถานพยาบาล จังหวัด ส่วนกลาง รพศ. รพท. Report data สสจ. สำนักงาน ป้องกันควบคุมโรค รพช. สอ. เครือข่ายระบบการเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา Wkly,monthly,Annually report สำนัก ระบาดวิทยา Report data รพ.เอกชน
Surveillance system ในภาวะฉุกเฉิน การเฝ้าระวังเชิงรุก (active surveillance) • ข้อมูลจากใบสั่งยา (หน่วยแพทย์เคลื่อนที่) • ข้อมูลจากสถานบริการที่ยังทำการได้ • การเก็บตัวอย่างส่งตรวจในพื้นที่เสี่ยง การใช้ประโยชน์ • ใช้ทดแทนระบบเฝ้าระวังปกติ • รวดเร็ว / ความครบถ้วนสูง ปัญหา/ข้อจำกัด • ส่วนใหญ่วินิจฉัยเป็นกลุ่มอาการ • ใช้ทรัพยากรมาก • ความสำเร็จขึ้นกับ การประสานงาน + การให้ความร่วมมือ
ตัวอย่างข้อมูลจากระบบเฝ้าระวังเชิงรุก กรณีสึนามิ 26 ธันวาคม 47 – 23 มกราคม 48
Event – based surveillance ในภาวะฉุกเฉิน ข่าวสาร • เจ้าหน้าที่ทางการแพทย์และสาธารณสุขที่ออกหน่วยเคลื่อนที่ / สถานบริการที่เปิดให้บริการได้ • หน่วยงานอื่นแจ้งให้ทราบ • สื่อมวลชน การใช้ประโยชน์ • บ่งชี้ความรุนแรงของโรค • รวดเร็ว ปัญหา/ข้อจำกัด • เป็นข่าวลือ
ขั้นตอนการเฝ้าระวังโรคขั้นตอนการเฝ้าระวังโรค ระบบรายงานผู้ป่วยโรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา (รง.506) ร.พ., สอ., ศบส. E. 1 DR E. 2 E. 3 ตาราง กราฟ แผนภูมิ คำนวณ เปรียบเทียบ สรุป รายงานสถานการณ์ รง.506 รง.507 1. รวบรวม 2. เรียบเรียง & นำเสนอ 3. วิเคราะห์/ 4. กระจายข้อมูล/ ข้อมูล แปลผล ใช้ประโยชน์ ระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ (Event – based surveillance) หน่วย งานรัฐ, สื่อ, บุคคล ทะเบียนรับแจ้งข่าว, แฟ้มข่าวสาร ตรวจสอบ คัดกรองข่าว สัญญาณ(signals) ข่าวสาร (รายงาน/แจ้งข่าว/ข่าวลือ) แจ้งเตือนภัย รายงาน
การดำเนินงานด้านเฝ้าระวังโรคระหว่างและภายหลังภัยธรรมชาติ“กรณีอุทกภัย ปีพ.ศ. 2549”
แนวทางการดำเนินงาน (1) 1. ทุกจังหวัดที่ประสบภาวะน้ำท่วมรุนแรงควรจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการwar room ที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เพื่อให้มีการสรุปสถานการณ์โรคเป็นประจำวัน นอกเหนือจากกิจกรรมการแก้ปัญหาน้ำท่วมในด้านต่างๆ 2. มอบหมายให้เจ้าหน้าที่ระบาดวิทยา หรือสมาชิก SRRT ทำการติดตามสถานการณ์โรคที่เกี่ยวข้องกับภาวะน้ำท่วมตามที่แจกแจงไว้จากระดับอำเภอเป็นประจำวัน ทั้งนี้ควรเร่งรัดให้หน่วยบริการรายงานด้วยบัตรรายงาน 506 เป็นรายวัน หากทำได้ หรือหากไม่ได้ก็เป็นการสอบถามจำนวนผู้ป่วยรายใหม่ในแต่ละวัน
แนวทางการดำเนินงาน (2) 3. จัดทำสรุปสถานการณ์โรคเสนอที่ประชุม war roomทุกวัน หรือนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด โดยอาจเป็นตารางแสดงผู้ป่วยด้วยโรคสำคัญหรือผู้เสียชีวิตที่ได้รับแจ้งในแต่ละวัน และจำนวนสะสม พร้อมมีการวิเคราะห์ที่สำคัญเช่น โรคที่เป็นปัญหา พื้นที่ที่ควรให้ความสนใจเป็นพิเศษ กลุ่มประชากร และเหตุการณ์การระบาดที่เกิดขึ้นในขณะนี้ หรือมีแนวโน้มจะเกิดขึ้น 4. สำเนาหรือส่งสรุปรายงานดังกล่าวซึ่งได้จัดทำเสนอนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอยู่แล้วให้กระทรวงสาธารณสุขได้รับทราบ ผ่านกรมควบคุมโรค ซึ่งทางกรมได้ให้ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่และสำนักระบาดวิทยาประสานงานและสนับสนุน โดยสามารถส่งมาที่ e-mail: outbreak@health.moph.go.th
แนวทางการดำเนินงาน (3) 5. ในกรณีที่เกิดการระบาด การป่วย การตายที่ผิดปกติ ขอให้ SRRT ออกสอบสวนโรคแต่ละโรคในเบื้องต้นและรีบดำเนินการควบคุมโรคทันที ตามมาตรฐานการควบคุมโรคแต่ละโรคและช่วยแจ้งผ่านเครือข่ายให้ สำนักงานป้องกันควบคุมโรค และ/หรือสำนักระบาดวิทยารับทราบด้วย 6.สำนักงานป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่และสำนักระบาดวิทยารวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ และสรุปเสนอกระทรวงสาธารณสุขเพื่อการสนับสนุนจังหวัดต่อไป
ระบบรายงานในภาวะฉุกเฉิน (กรณีภัยธรรมชาติ) ศูนย์ฯกระทรวงสาธารณสุข กรมควบคุมโรค สำนักระบาดวิทยา สำนักงานป้องกันควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (งานระบาด หรือที่เกี่ยวข้อง) สถานพยาบาล หน่วยเคลื่อนที่
แบบรายงานในสถานพยาบาลแบบรายงานในสถานพยาบาล ข้อมูลจากระบบเฝ้าระวังปกติ ข้อมูลจากใบสั่งยาหรือบัญชีให้บริการของหน่วยเคลื่อนที่ ข้อมูลจากระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์
แบบรายงานระดับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแบบรายงานระดับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
แบบรายงานระดับสำนักงานป้องกันควบคุมโรคแบบรายงานระดับสำนักงานป้องกันควบคุมโรค
ตัวอย่างแบบฟอร์มสรุปรายงานผู้ป่วยเฝ้าระวังรายวันประจำวันที่.....เดือน.....จังหวัด....................ตัวอย่างแบบฟอร์มสรุปรายงานผู้ป่วยเฝ้าระวังรายวันประจำวันที่.....เดือน.....จังหวัด.................... • ตาราง จำนวนผู้ป่วยที่มารับบริการ ณ.จุดพักพิง......... กลุ่มโรค โรค เด็ก<15ปี ผู้ใหญ่ รวม Diarrheal
ตัวอย่างแบบฟอร์มสรุปรายงานผู้ป่วยเฝ้าระวังรายวันประจำวันที่.....เดือน.....จังหวัด....................ตัวอย่างแบบฟอร์มสรุปรายงานผู้ป่วยเฝ้าระวังรายวันประจำวันที่.....เดือน.....จังหวัด.................... • ตาราง จำนวนผู้ป่วยที่มารับบริการ ณ.จุดพักพิง......... กลุ่มโรค โรค เด็ก<15ปี ผู้ใหญ่ รวม Fever
สรุปรายงานผู้ป่วยเฝ้าระวังรายวัน(ต่อ)สรุปรายงานผู้ป่วยเฝ้าระวังรายวัน(ต่อ) • การวิเคราะห์สถานการณ์การระบาด.................................................... ..................................................................... ...................................................................... • ผลการสอบสวนโรคเบื้องต้น ................................................................ ....................................................................... • มาตรการป้องกันควบคุมโรค ................................................................ .................................................................... • สรุป/ข้อเสนอแนะ