800 likes | 2.37k Views
ระบบบริหารความเสี่ยง. II-1 การบริหารความเสี่ยง ความปลอดภัยและคุณภาพ. โดย นาง วงธิ พา ศรีทุมมา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลบึงกาฬ 18 พ.ย.2556. คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง. โรงพยาบาลบึงกาฬ. บริบท. ผู้อำนวยการโรงพยาบาล. คณะกรรมการความเสี่ยงโรงพยาบาล. แพทย์. RM. RM Network ER.
E N D
ระบบบริหารความเสี่ยง II-1 การบริหารความเสี่ยง ความปลอดภัยและคุณภาพ โดย นางวงธิพา ศรีทุมมา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลบึงกาฬ 18 พ.ย.2556
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง โรงพยาบาลบึงกาฬ
บริบท ผู้อำนวยการโรงพยาบาล คณะกรรมการความเสี่ยงโรงพยาบาล แพทย์ RM RM Network ER RM Network IPD (6หน่วย) ตัวแทนหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง บริหารงาน/เภสัช/ทันตกรรม/ชันสูตร/โภชนากร/จ่ายกลาง-ซักฟอก RM Network OPD RM Network ไตเทียม RM Network LR RM Network OR RM Network ICU กรรมการระดับหน่วยงาน64 หน่วย
การสนับสนุนจากผู้นำและการเชื่อมโยงการสนับสนุนจากผู้นำและการเชื่อมโยง องค์กรวิชาชีพ -องค์กรแพทย์ -องค์กรพยาบาล ทีมนำระดับโรงพยาบาล คณะกรรมการประสานงานคุณภาพ ระบบงานที่สำคัญ IC, ENV, IM, RM, HPH, HRD, EQM,ระบบยา • ทีมดูแลผู้ป่วย • -สูติ-นรีเวชกรรม • -ศัลยกรรม • -อายุรกรรม • กุมารเวช • กรรม โอกาสพัฒนา เพิ่มประสิทธิภาพการสื่อสารโดยใช้เทคโนโลยี หน่วยงาน
การเชื่อมยุทธศาสตร์โรงพยาบาลสู่จุดเน้น ปี 2556 พัฒนาระบบบริการ สุขภาพที่มีคุณภาพ ยุทธศาสตร์1 จุดเน้น RM 2556 จุดเน้นที่ 1 จุดเน้นที่ 2 พัฒนาระบบการจัดการความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ เน้นการค้นหาเชิงรุก / Near miss พัฒนาระบบบริหารจัดการตามนโยบายความปลอดภัยของผู้ป่วย PSG SIMPLE
1.นำหลัก SIMPLE สู่การดูแล ที่ปลอดภัย - ประชุมให้ความรู้แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - มอบหมายให้หน่วยงานศึกษามาตรฐานและกำหนดแนวทางปฏิบัติ SIMPLEที่เกี่ยวข้อง - รวบรวมแนวทางปฏิบัติ - นำเสนอทีมนำ รพ.เพื่อการคัดเลือกและ SIMPLE ของ รพ. -จัดทำคู่มือ/ แจกคู่มือแก่หน่วยงานและสื่อสารให้เข้าใจตรงกัน -สื่อสารใช้ระบบสารานเทศเข้ามาช่วย - ติดตามประเมินผล จุดเน้นที่ 1 : พัฒนาระบบบริหารจัดการตามนโยบายความปลอดภัยของผู้ป่วย PSG SIMPLE
จุดเน้นที่ 2: พัฒนาระบบการจัดการความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ เน้นการค้นหาเชิงรุก / Near miss -ติดตามการแก้ไข และมาตรการป้องกันความเสี่ยง - ติดตามความเสี่ยงที่เกิดซ้ำ ทบทวนความเสี่ยงโดยการทำ RCA ,Tracer - ประสานทีมคร่อมสายงานหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - ทำ CPG ,WI ,ไกล่เกลี่ย -มีโปรแกรมความเสี่ยง 10 โปรแกรม -แบ่งระดับความรุนแรงเป็น4 กลุ่มความ Near Miss,Low Risk, Moderate Risk, High Risk • -การรายงานความเสี่ยง • - ปัญหาข้อร้องเรียน • - IC Round , RM Round ,Quick Round • การทบทวนข้างเตียงผู้ป่วย • ร่วมรับ-ส่งเวร 4.ประเมินผลระบบ 1.ค้นหาความเสี่ยง
การแบ่งโปรแกรมความเสี่ยงการแบ่งโปรแกรมความเสี่ยง ปัญหา บุคลากรยังมีความเข้าใจไม่ตรงกัน ความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัยคล้ายคลึงกันทำให้บันทึกซ้ำกัน ,ความเสี่ยงด้านการเงินมีความหลากหลายมากขึ้นและแตกต่างจากเวชระเบียน,ความเสี่ยงทางคลินิกเป็นภาพรวมทั้งเฉพาะโรคและทั่วไปเมื่อมีการจัดบริการเฉพาะโรคทำให้ยุงยากในการวิเคราะห์คณะกรรมการจึงได้ทบทวนโปรแกรมและระดับความเสี่ยงใหม่ ความเสี่ยงด้านคลินิก • ความเสี่ยงทั่วไป • ด้านสิ่งแวดล้อม • อาชีวะอนามัยและความปลอดภัย • - ด้านเวชระเบียนและการเงิน • - ด้านบริการ • - ด้านเครื่องมือและอุปกรณ์ • - ด้านสิทธิผู้ป่วยและจริยธรรมองค์กร • - ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ • - ด้านคลินิก • - ด้านยา/สารน้ำ • - IC บทเรียนในการรับรู้รายงานอุบัติการณ์
การแบ่งโปรแกรมความเสี่ยงการแบ่งโปรแกรมความเสี่ยง ความเสี่ยงทั่วไป - ด้านสิ่งแวดล้อมอาชีวะอนามัยและความปลอดภัย - ด้านการเงิน - ด้านเวชระเบียน - ด้านบริการ - ด้านเครื่องมือและอุปกรณ์ - ด้านสิทธิผู้ป่วยและจริยธรรมองค์กร - ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ความเสี่ยงด้านคลินิก • คลินิกทั่วไป • - ด้านคลินิก • - ด้านยา/สารน้ำ • - IC • คลินิกเฉพาะโรค • 5อันดับโรคสำคัญของ PCT • เช่น • STEMI/STROKE/CKD • HI/Appendicitis/UGIH • PIH/PPH/BA • LBW/DHF/Neonatal Jx
ความเสี่ยงสำคัญของโรงพยาบาลมีดังนี้ความเสี่ยงสำคัญของโรงพยาบาลมีดังนี้
โอกาสพัฒนา คือ อุบัติการณ์ได้รับการแก้ไขยังอยู่ในเกณฑ์ที่ต่ำปี 2556 พบร้อยละ 51.7 ยังพบว่าอุบัติการณ์ซ้ำยังไม่ลดลงตามเป้าหมาย จะต้องกระตุ้นการพัฒนาให้ดีขึ้นต่อไป
1.มีการทบทวนระบบความปลอดภัยของผู้ป่วยและพิจารณาให้ดำเนินการเร่งด่วน เช่น เรื่องการติดตั้งสัญญาณเรียกเจ้าหน้าที่เพื่อช่วยเหลือในลิฟต์ ติดตั้ง ออกซิเจนไปป์ไลน์ให้ครบทุกหอผู้ป่วย ทำตาข่ายกันผู้ป่วยกระโดดตึกที่ตึก อายุรกรรมชาย โครงสร้างอาคาร
การประเมินตนเอง บทเรียนการใช้เครื่องมือต่างๆ
ระบบบริหารความเสี่ยงและความปลอดภัยระบบบริหารความเสี่ยงและความปลอดภัย
ตัวอย่างบทเรียนการวิเคราะห์ RCA การกำหนดมาตรการป้องกันที่รัดกุม การใช้human Factor engineering
ตัวอย่างบทเรียนการวิเคราะห์ RCA การกำหนดมาตรการป้องกันที่รัดกุม การใช้human Factor engineering
ผลการประเมินประสิทธิภาพของการบริหารความเสี่ยงและตอบสนองที่เกิดขึ้นผลการประเมินประสิทธิภาพของการบริหารความเสี่ยงและตอบสนองที่เกิดขึ้น
บทเรียนในการส่งเสริมให้มีกิจกรรมทบทวนคุณภาพในงานประจำบทเรียนในการส่งเสริมให้มีกิจกรรมทบทวนคุณภาพในงานประจำ
บทเรียนในการส่งเสริมให้มีกิจกรรมทบทวนคุณภาพในงานประจำบทเรียนในการส่งเสริมให้มีกิจกรรมทบทวนคุณภาพในงานประจำ
บทเรียนในการใช้เครื่องมือพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยบทเรียนในการใช้เครื่องมือพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วย
บทเรียนในการใช้เครื่องมือพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยบทเรียนในการใช้เครื่องมือพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วย
บทเรียนในการใช้เครื่องมือพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยบทเรียนในการใช้เครื่องมือพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วย