350 likes | 675 Views
บทบาทของศูนย์ปฏิบัติการ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม และพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความ รุนแรงในครอบครัว. โดย... สำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว. กรอบ การอภิปราย. 1. ยุทธศาสตร์ พม.กับการยุติความรุนแรง. 2. การขับเคลื่อนความร่วมมือคุ้มครองช่วยเหลือในระบบ OSCC. 4.
E N D
บทบาทของศูนย์ปฏิบัติการบทบาทของศูนย์ปฏิบัติการ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม และพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว โดย... สำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว
กรอบการอภิปราย 1. ยุทธศาสตร์ พม.กับการยุติความรุนแรง 2. การขับเคลื่อนความร่วมมือคุ้มครองช่วยเหลือในระบบOSCC 4. สค.กับการสนับสนุนงานคุ้มครองช่วยเหลือ 3. บทบาท/แนวทางปฏิบัติงาน ศูนย์ ปฏิบัติการ + พนง.จนท. สห วิชาชีพ ชุมชน
ยุทธศาสตร์ พม. กับการยุติความรุนแรง
ยุทธศาสตร์ พม. กับการดำเนินการเพื่อยุติปัญหาความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และครอบครัว พัฒนาสังคมเข้มแข็งพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง เสริมสร้าง พลังทางสังคม ผลักดันให้เกิดสังคมสวัสดิการ กลยุทธ์ภาพรวม • ส่งเสริมสถาบัน คค. ชุมชน ประชาสังคม เป็นกลไกพัฒนาสังคมคุณภาพ • เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน+ป้องกัน+แก้ไขปัญหา (คำนึงถึงโอกาส +เท่าเทียม) • พัฒนาระบบการจัดสวัสดิการสังคม • ยกระดับการบูรณาการให้บริการแบบ One Stop Service
ปรับทัศนคติสังคม + ผู้ปฏิบัติงาน พม.หยุดยั้งปัญหาอย่างไร สร้างภูมิคุ้มกัน+ คุ้มครอง ช่วยเหลือ สร้างความเข้มแข็งครอบครัว เน้นส่วนร่วมชุมชน/ศพค.เครือข่าย สร้างความตระหนัก/ เข้าใจ เข้าถึงสิทธิ สนับสนุนการใช้กฎหมาย/กลไกรัฐ เป้าหมาย: “ผู้หญิง” กลับคืนสู่สังคม + Empowered สื่อไม่ซ้ำเติม ครอบครัว มีปัญหา ครอบครัว ไม่มีปัญหา ครอบครัว เสี่ยง
พม. สค. สานงานสานพลังความร่วมมือสู่เป้าหมาย • เสริมสร้างศักยภาพ ครอบครัว กลไก+ บูรณาการมิติหญิงชายในประเด็นความรู้ • รณรงค์ยุติความรุนแรงในส่วนกลาง/ ภูมิภาค ภาคสื่อ • MOU ระดับต่าง ๆ + สนับสนุนการดำเนินงานของรัฐ/เอกชน อปท. ภาคปชช. เช่น ตำรวจ ศาล ศพค.ในรูปแบบต่าง ๆ • ปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย • พัฒนาระบบศูนย์ปฏิบัติการฯตามยุทธศาสตร์ ปท. ให้มีความเชื่อมโยงกับ ศพค. สร้างให้ตระหนัก/ เข้าใจ เข้าถึงสิทธิ สนับสนุนการใช้กฎหมาย/กลไกรัฐ เน้นส่วนร่วมชุมชน/ศพค.เครือข่าย สร้างความเข้มแข็งครอบครัว ปรับทัศนคติสังคม + ผู้ปฏิบัติงาน
การขับเคลื่อนความร่วมมือในการคุ้มครองช่วยเหลือเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และบุคคลในครอบครัวจากความรุนแรง ในระบบ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม กรณีคนไทยติดตามทุก 3 / 6 /12 เดือน ได้รับบริการในระบบ OSCC เพื่อคืนสู่สังคม
เน้นการบูรณาการความร่วมมือเน้นการบูรณาการความร่วมมือ ศูนย์ปฏิบัติการฯ (พมจ. และ พส.) ครอบคลุม ครบวงจร สะดวก รวดเร็ว ทันการณ์ เท่าเทียม มีระบบติดตามผล FL. 1 และ FL. 2
บทบาทของ หน่วยรับแจ้ง กับ OSCC กรณีความรุนแรงต่อเด็ก สตรี ครอบครัว หน่วยรับแจ้ง (FL1) ตรวจสอบ คัดกรอง วิเคราะห์ปัญหา ให้บริการเบื้องต้น รวมทั้งคำปรึกษา/ไกล่เกลี่ย/ ส่ง รพ. บันทึกข้อมูลกล่องความรุนแรงฯ ยุติได้เอง หรือส่งต่อ FL2 (บันทึกข้อมูลที่ให้บริการลงในระบบ) ข้อมูลถูกส่งไปที่ศูนย์ปฏิบัติการฯ (กทม. หรือ พมจ.)-FL2 เพื่อดำเนินการต่อ (ประสาน พนง.จนท.) หรือปิด case
- สอบปากคำ - แจ้งสิทธิ - ดำเนินคดี - เยียวยาการเงิน ถูกกระทำโดยบุคคล ภายนอกครอบครัว ด้านกระบวนการ ยุติธรรม (สตช./ยธ.) ประสาน/ส่งต่อ บำบัดรักษา (ถูกข่มขืนให้ยาป้องกัน+เก็บหลักฐานใน72ชม.) ติดตาม รายงาน ด้านร่างกาย/เพศ (สธ.) จัดบริการ ให้บริการ (FL 2) ยุติการ ให้บริการ (ปิด case) ด้านจิตใจ (พม./สธ.) - ให้คำปรึกษา - ฟื้นฟูเยียวยาจิตใจ - จัดหาที่พักชั่วคราว - สังคมสงเคราะห์ - ดูแลด้านการศึกษา ถูกกระทำโดยบุคคล ภายในครอบครัว ด้านสังคม • (พม./ศธ.) ไม่ร้องทุกข์ (เข้าสู่กระบวนการ พ.ร.บ.) ไม่ร้องทุกข์
บทบาทและแนวทางการปฏิบัติงานบทบาทและแนวทางการปฏิบัติงาน ศูนย์ปฏิบัติการฯ พนง.จนท. สหวิชาชีพ ตามกฎหมาย ในระบบงาน OSCC
กลไกหลักของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (ตามกฎกระทรวงฯ) 1. ศูนย์ปฏิบัติการเพื่อป้องกันการกระทำความรุนแรง ในครอบครัว กทม. ส่วนภูมิภาค กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด 2. สำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว
ผังรวมบทบาทศูนย์ปฏิบัติการ (FL2)พนง.จนท. (พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วย คร.ใน คค.)เชื่อมโยงกับ OSCC ประสานหน่วยงาน/ สหวิชาชีพ + อำนวยความ สะดวก พนง.จนท. ประสาน พนง.จนท. สอบข้อเท็จจริง+ ประเมิน+คุ้มครองเบื้องต้น วิเคราะห์ Case (คร.ใน คค.หรือไม่) ไกล่เกลี่ยเพื่อยุติคดี กรณี ร้องทุกข์ มาตรการแทนการลงโทษ แจ้งข้อเท็จจริง คุ้มครองชั่วคราว รับแจ้งเหตุ จาก FL1 รายงานตาม กม./ระบบ ติดตาม/ ประเมิน ปิด case
พนักงานเจ้าหน้าที่ + ศูนย์ปฏิบัติการฯ สอบข้อเท็จจริง จัดให้ได้รับการรักษา/คำปรึกษาแนะนำ (ประสานแพทย์ จิตแพทย์ นักสังคม นักจิต) ประเมินสภาพ ปัญหา/ สภาพครอบครัว แจ้งสิทธิตามกฎหมาย คุ้มครองเบื้องต้น จัดให้มีการร้องทุกข์/ ไม่ร้องทุกข์ จัดให้ มีการคุ้มครองสวัสดิภาพ/ไกล่เกลี่ย สหวิชาชีพช่วยเหลือ
กรณี ไม่ร้องทุกข์ 1. การคุ้มครองสวัสดิภาพ ตาม พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ - ผู้เสียหาย ญาติ - พนง.เจ้าหน้าที่ พนง.สอบสวน พนง.อัยการ องค์การซึ่งมีหน้าที่ช่วยเหลือ ปชช.ทางกฎหมาย องค์กรคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กฯ หรือบุคคลอื่นใด ใคร ร้อง ขอได้ สห วิชาชีพ • ห้ามผู้กระทำเสพสุราหรือสิ่งมึนเมา • ห้ามเข้าใกล้ที่อยู่อาศัย ที่ทำงาน • เข้ารับการปรึกษาแนะนำจากศูนย์ให้ • คำปรึกษาแนะนำ (อบรม/บำบัดฟื้นฟู) ดำเนินกระบวนการ ออกคำสั่งคุ้มครอง สวัสดิภาพ เช่น 2. ไกล่เกลี่ย (ทำบันทึก ข้อตกลง) ประเมิน ความพร้อม/ กลับสู่ครอบครัว ช่วยเหลือ/ ให้คำ ปรึกษา ติดตาม ประเมิน รายงาน
กรณี ร้องทุกข์ บทบาทศูนย์ปฏิบัติการฯ แจ้งข้อเท็จจริง สหวิชาชีพ หน่วยงาน คุ้มครองชั่วคราว (พนง.จนท./ศาล) ประสาน ประสานงานตามคำสั่ง/ บันทึกข้อตกลง มาตรการแทน การลงโทษ (ศาล) ติดตาม ติดตามทำตามคำสั่ง/ บันทึกข้อตกลง รายงานตาม กม./ระบบ ไกล่เกลี่ย (ปรับพฤติกรรม) (พนง.สอบสวน/ศาล) ศูนย์ฯ ติดตามเอง อปท./ชุมชน/หน่วยงาน
บทบาทของเจ้าหน้าที่ตำรวจบทบาทของเจ้าหน้าที่ตำรวจ ตัวช่วย/ ตัวประสาน พนักงาน จนท. + ศูนย์ปฏิบัติการ คุ้มครอง+ระงับเหตุ/ประสานสอบข้อเท็จจริง รับแจ้งเหตุ บันทึก/รับร้องทุกข์ ได้ตัว-สอบสวน-ส่งฟ้อง 48 ชม. (แจ้งข้อกล่าวหา) รวบรวมหลักฐาน (เช่น ทางแพทย์) คุ้มครอง ไกล่เกลี่ย ติดตาม/ยุติหรือยกคดีใหม่ ทำบันทึกข้อตกลง
บทบาทของโรงพยาบาล/ศูนย์พึ่งได้บทบาทของโรงพยาบาล/ศูนย์พึ่งได้ ตัวช่วย/ ตัวประสาน พนักงาน จนท. + ศูนย์ปฏิบัติการ ออกใบตรวจตามคำขอ ยาป้องกัน >72 ชม. กาย รับเรื่อง/รับแจ้งเหตุ แพทย์เฉพาะทาง ข่มขืน ท้องไม่พร้อม คุ้มครองเบื้องต้น (กาย จิต เพศ สังคม) เพศ ช่วยเหลือ ทางการแพทย์ ให้คำปรึกษา ทางเลือก ให้การปรึกษา ส่งปรึกษาสังคมสงเคราะห์ จิตใจ สังคม สนับสนุนใช้มาตรการคุ้มครอง/ยุติคดี ประสาน- ส่งต่อ/เยี่ยมบ้าน/ปิด case ประเมินความเสี่ยงถูกทำซ้ำ/ ประเมินความพร้อมคืนสู่สังคม
บทบาทของเครือข่ายชุมชนบทบาทของเครือข่ายชุมชน เน้นบทบาทของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นำชุมชน ศพค. ส่วนใหญ่เหตุเกิดในหมู่บ้าน/ ชุมชน ป้องกัน/ เฝ้าระวัง/ รณรงค์/ข้อมูล ไกล่เกลี่ย/ ให้คำปรึกษา เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน/ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมากขึ้น เผยแพร่สิทธิ/ ช่องทาง ผ่านสื่อท้องถิ่น แจ้งเหตุ พนง.จนท./OSCC (ระวัง ม.9) ช่วยเหลือ กม. (ที่พำนัก/ติดตาม สอดส่อง)
สรุปบทบาทสหวิชาชีพในการคุ้มครองผู้ถูกกระทำสรุปบทบาทสหวิชาชีพในการคุ้มครองผู้ถูกกระทำ ด้วยความรุนแรงในครอบครัว
สค.กับการสนับสนุนงานคุ้มครองช่วยเหลือผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัวสค.กับการสนับสนุนงานคุ้มครองช่วยเหลือผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว
บทบาทสำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัวกับการทำงานในระบบ OSCC (ต่อ) 1. พัฒนาระบบงาน • เป็นต้นแบบ (Model) นำร่อง • ป้องกัน แก้ไขปัญหาความรุนแรงฯ เชื่อมโยงกับศูนย์ปฏิบัติการฯ และงาน OSCC เสริมพลัง ศพค. เป้า: ชุมชน Zero Violence เสริมสร้างศักยภาพ + เชื่อมโยงกับศูนย์ปฏิบัติการ/สหวิชาชีพ เวทีประชาคม 2 ครั้ง สำรวจข้อมูล คร.ในพื้นที่ คืนข้อมูล สู่พื้นที่ ขับเคลื่อนเครือข่าย/ case conference ทำแผน/ออกแบบโครงการ พัฒนาคู่มือพัฒนา ระบบงาน ถอดบทเรียน/ประเมินผล ทำกิจกรรมตามแผน
วัตถุประสงค์ (เสริมพลัง ศพค.) 1. พัฒนาต้นแบบการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวของ ศพค. เชื่อมโยงศูนย์ปฏิบัติการ+OSCC 2. พัฒนาศักยภาพในการสำรวจข้อมูลความรุนแรงในครอบครัว และกลไกปฏิบัติงานการคุ้มครองช่วยเหลือในพื้นที่ 3. ขับเคลื่อนเครือข่ายในการป้องกันและแก้ไขปัญหาเชิงพื้นที่ 4. พัฒนาแนวทางการดำเนินงาน (จากการติดตามผล + ถอดบทเรียน) และขยายผลสู่พื้นที่อื่น ๆ
บทบาทสำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัวกับการทำงานในระบบ OSCC (ต่อ) 2. สร้างกลไก/มาตรฐาน พนักงานเจ้าหน้าที่/ ผู้ประนีประนอม แนวทาง ปฏิบัติงาน 3. สนับสนุน องค์ความรู้/ศักยภาพ 4. สร้างเครือข่าย/ พันธมิตร (ภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม ชุมชน สื่อ) 5. ระบบ ฐานข้อมูล ทิศทางการขับเคลื่อนงานต่อไป จัดทำยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนประเด็นความรุนแรงฯ จัดทำองค์ความรู้/ข้อเสนอจากงานวิจัย