210 likes | 583 Views
ผลกระทบจากปัญหาขยะที่เพิ่มขึ้นของประเทศ. นายรังสรรค์ ปิ่นทอง ผอ.สำนักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ. เหตุรำคาญ และความไม่น่าดู เชื้อโรค และแหล่งพาหะนำโรค น้ำเสีย อากาศเสีย สารพิษ ( Toxic Substances ). ปัญหามลพิษจากขยะมูลฝอย. ปัญหามลพิษจากการไม่แยกขยะ.
E N D
ผลกระทบจากปัญหาขยะที่เพิ่มขึ้นของประเทศ นายรังสรรค์ ปิ่นทอง ผอ.สำนักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ
เหตุรำคาญ และความไม่น่าดู เชื้อโรค และแหล่งพาหะนำโรค น้ำเสีย อากาศเสีย สารพิษ (Toxic Substances) ปัญหามลพิษจากขยะมูลฝอย
ปัญหามลพิษจากการไม่แยกขยะปัญหามลพิษจากการไม่แยกขยะ
ปัญหามลพิษจากการทิ้งขยะปัญหามลพิษจากการทิ้งขยะ
ปัญหามลพิษจากการกำจัดที่ไม่ถูกสุขลักษณะปัญหามลพิษจากการกำจัดที่ไม่ถูกสุขลักษณะ
ปัญหามลพิษจากการฝังกลบขยะมูลฝอยปัญหามลพิษจากการฝังกลบขยะมูลฝอย
ความเชื่อมโยงการจัดการขยะมูลฝอยความเชื่อมโยงการจัดการขยะมูลฝอย • ระบบเศรษฐกิจ – สังคม • - อาชีพ/การจ้างงาน/รายได้ • - การพัฒนาอย่างยั่งยืน • ฐานทรัพยากรธรรมชาติ • - การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ • - การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ • ให้เกิดประโยชน์สูงสุด การจัดการขยะมูลฝอย • สิ่งแวดล้อม • - ระดับท้องถิ่น/ภูมิภาค(local and regional scale) • - ระดับโลก (Global scale) เช่นปัญหาโลกร้อน • พลังงาน • - การส่งเสริมและอนุรักษพลังงาน • - การใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยเป็นพลังงานทดแทน • การค้าและสิ่งแวดล้อม • - การจัดการบรรจุภัณฑ์ • - การจัดการซากผลิตภัณฑ์ (WEEE) • - การเคลื่อนย้ายถ่ายเทสินค้าผลิตภัณฑ์ วัสดุรีไซเคิล • หรือของเสียข้ามแดน
สถานภาพการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนสถานภาพการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน ขยะมูลฝอยที่เกิด100% 15.98 ล้านตัน จัดการไม่ ถูกหลักวิชาการ 65% 12.78 ล้านตัน เทกองบนพื้น/เผากลางแจ้ง 10.34 ล้านตัน เก็บรวบรวม 80% จัดการอย่าง ถูกหลักวิชาการ35% 5.64 ล้านตัน ที่มา : (ร่าง) รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย ปี 2554
ปริมาณขยะมูลฝอยที่ได้รับการจัดการอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการปริมาณขยะมูลฝอยที่ได้รับการจัดการอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ จัดการอย่างไม่ถูกหลักวิชาการ จัดการอย่างถูกหลักวิชาการ
สถานที่กำจัดขยะมูลฝอยที่ออกแบบถูกหลักวิชาการสถานที่กำจัดขยะมูลฝอยที่ออกแบบถูกหลักวิชาการ ระบบฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล เดินระบบ 94 แห่ง หยุดเดินระบบ 18 แห่ง ระบบเตาเผา • ทน.ภูเก็ต (250 ตัน/วัน) • อบต.เกาะเต่า (10 ตัน/วัน) • ทม.เกาะสมุย (75 ตัน/วัน) • (หยุดเดินระบบ) ระบบผสมผสาน เดินระบบ 11 แห่ง หยุดเดินระบบ 1 แห่ง (อบจ.ชลบุรี) ที่มา : (ร่าง) รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย ปี 2554
สถานการณ์การการใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยสถานการณ์การการใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย องค์ประกอบขยะมูลฝอย ขยะ ขยะ อันตราย รีไซเคิล ขยะอื่นๆ 3 % 30 % 3 % ขยะ อินทรีย์ 64 % • พลาสติก 17% (2.5 mt) • ถุงพลาสติก ขวด โฟม ซองบรรจุอาหาร • กระดาษ 8% (1.1 mt) • หนังสือพิมพ์ นิตยสาร กล่องน้ำผลไม้ บรรจุภัณฑ์กันกระแทก • แก้ว 3% (0.4 mt) • ขวดเครื่องดื่มชูกำลัง • ขวดเครื่องปรุงรส เครื่องสำอางค์ • ขวดเครื่องดื่มแบบวันเวย์ • โลหะ/อลูมิเนียม 2% (0.3 mt) เศษอลูมิเนียมเครื่องครัว กระป๋องอาหาร เครื่องดื่ม
สถานการณ์การการใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยสถานการณ์การการใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย ศักยภาพในการนำกลับมาใช้ประโยชน์ (Potential recycling) • ขยะรีไซเคิล 30% • ถุงพลาสติก 17% • กระดาษ 8% • แก้ว 3% • โลหะ/อลูมิเนียม 2% • ศูนย์วัสดุรีไซเคิลชุมชน • ธนาคารขยะ • ร้านรับซื้อของเก่า • ใช้ซ้ำ • แปรรูปใช้ใหม่ • ใช้ประโยชน์ • ด้านพลังงาน • ขยะอินทรีย์ 50% • เศษอาหาร เศษผัก • เศษหญ้า ใบไม้ • หรือกิ่งไม้ • ครัวเรือน • ตลาด • ห้างสรรพสินค้า • ร้านอาหาร • โรงแรม • การปศุสัตว์ • ปุ๋ยหมัก • ระบบผลิต • ก๊าซชีวภาพ
สถานการณ์การการใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยสถานการณ์การการใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย การซื้อขายวัสดุรีไซเคิลโดยร้านรับซื้อ ของเก่า ศูนย์วัสดุรีไซเคิลชุมชน ธนาคารขยะ รีไซเคิล และการเรียกคืนบรรจุภัณฑ์โดย ผู้ประกอบการ รวมประมาณ 3.39 ล้านตัน การนำมูลฝอยอินทรีย์มาหมักทำปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยชีวภาพ และการหมักเพื่อผลิตก๊าซชีวภาพ (Biogas) ประมาณ 0.59 ล้านตัน การนำมูลฝอยมาผลิตพลังงานไฟฟ้าและ เชื้อเพลิงทดแทน ประมาณ 0.12 ล้านตัน รวมทั้งหมด 4.10 ล้านตัน/ปี หรือ 11,232 ตัน/วัน หรือ เฉลี่ยร้อยละ 26 ของปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นทั้งหมด การนำกลับมาใช้ใหม่จริง (Actual recycling) ร้านรับซื้อของเก่า 54.7 %
สภาพปัญหาการดำเนินงานด้าน 3Rs ด้านการบริหารจัดการ - ขาดแผนหลัก (Master plan) เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางการดำเนินงานให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันทั่วประเทศ - ข้อจำกัดด้านกฎหมาย กฎระเบียบในปัจจุบันที่เน้นการจัดการที่ปลายเหตุ - งบประมาณส่วนใหญ่ใช้ในการกำจัดทิ้งขยะมูลฝอย - ขาดความร่วมมือ และการให้ความสำคัญของทุกภาคส่วนในการดำเนินงาน 3Rs ด้านเทคโนโลยี - เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานด้าน 3Rs เช่น CT/CP Waste to Energy และ Reuse / recycling technologies ยังคงเป็นเรื่องใหม่ มีราคาแพง และต้องการทักษะเฉพาะในการบริหารจัดการ - ขาดการส่งเสิรมการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี่ที่เหมาะสมกับการดำเนินงาน 3Rsในประเทศ
สภาพปัญหาการดำเนินงานด้าน 3Rs ด้านการการตลาด - กลไกตลาดวัสดุรีไซเคิลมีความไม่แน่นอน - ผู้ประกอบการให้ความสนใจในการใช้วัตถุดิบใหม่มากกว่า - สินค้ารีไซเคิล/เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ยังไม่ได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนเท่าที่ควร ด้านสิ่งแวดล้อม - การดำเนินงานด้านรีไซเคิลอาจก่อให้เกิดเหตุเดือดร้อนรำคาญ และมลพิษสิ่งแวดล้อม - วัสดุรีไซเคิลบางประเภทอาจเป็นของเสียอันตราย ทำให้ยุ่งยากในการจัดการ - การนำเข้าของเสีย ซากผลิตภัณฑ์หรือวัสดุใช้แล้วเพื่อการรีไซเคิลในประเทศ อาจก่อให้เกิดมลพิษสิ่งแวดล้อมตามมา (Secondary pollutants)
แนวนโยบายการจัดการขยะมูลฝอยแนวนโยบายการจัดการขยะมูลฝอย การคัดแยกและใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย (3Rs) การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการจัดการแบบผสมผสานเพื่อลดการสิ้นเปลืองพื้นที่ฝังกลบ การกำจัดขยะมูลฝอยแบบรวมกลุ่ม (Cluster) การส่งเสริมและสนับสนุนให้เอกชนร่วมลงทุนและดำเนินการในระบบจัดการขยะมูลฝอย
เป้าหมาย มีการนำขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ ไม่น้อยกว่า 30% ภายในปี 2559 ลดการเกิดของเสีย ใช้หลัก 3Rsส่งเสริม Green Product ขยะมูลฝอยได้รับการจัดการอย่างถูกหลักวิชาการ ไม่น้อยกว่า 50% ภายในปี 2559 การจัดการขยะมูลฝอยแบบผสมผสาน ของเสียอันตรายชุมชนได้รับการจัดการอย่างถูกหลักวิชาการไม่น้อยกว่า 50% ภายในปี 2559 ระบบบริหารจัดการ &ศูนย์ HHW
กรอบนโยบายการบริหารจัดการ • ใช้หลักการ 3Rs • ลดปริมาณของเสีย/ขยะมูลฝอย (Reduce) • ใช้ซ้ำของเสีย / ซากผลิตภัณฑ์ (Reuse) • แปรรูปใช้ใหม่ของเสีย ซากผลิตภัณฑ์ • และขยะมูลฝอย (Recycle)
กรอบนโยบายการบริหารจัดการกรอบนโยบายการบริหารจัดการ ขั้นตอนที่ 2 ใช้ซ้ำ ( Reuse ) ของเสีย / ซากผลิตภัณฑ์ บำบัด / กำจัด การผลิตและจำหน่าย เกิดเป็น ของเสีย การบริโภค วัตถุดิบ ขั้นตอนที่ 1 ลดการเกิดของเสีย จากการผลิตและบริโภค (Reduce) ขั้นตอนที่ 3 แปรรูปใช้ใหม่ ของเสีย ซากผลิตภัณฑ์และขยะมูลฝอย (Recycle) ผลพลอยได้ (วัสดุรีไซเคิล พลังงานความร้อน ก๊าซชีวภาพ) หลักการดำเนินงานด้าน 3Rs (Reduce Reuse Recycle)
ใช้ประโยชน์ด้านพลังงานความร้อนและไฟฟ้าใช้ประโยชน์ด้านพลังงานความร้อนและไฟฟ้า ตัวอย่างระบบการจัดการแบบผสมผสาน ขยะเข้าระบบ100 % ระบบการคัดแยก ระบบการหมักปุ๋ย 50 - 60 % วัสดุรีไซเคิล 20 - 30 % วัสดุเหลือใช้ 10 - 20 % การกำจัดขั้นสุดท้าย น้อยกว่า 5% แปรสภาพเป็น RDF
กรมควบคุมมลพิษกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกรมควบคุมมลพิษกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม