1.52k likes | 1.74k Views
การฝึกอบรม มินิ เกษตรศาสตร์. เรื่อง. การตลาดผักและผลไม้. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 15 พฤษภาคม 2553. หัวข้อการนำเสนอ. 1. ดุลการค้าภาคการเกษตร การส่งออก. และนำเข้าสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์. 2. การตลาดผัก. 3. การตลาดผลไม้. 4. ปัญหาสินค้าเกษตร.
E N D
การฝึกอบรม มินิ เกษตรศาสตร์ เรื่อง การตลาดผักและผลไม้ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 15 พฤษภาคม 2553
หัวข้อการนำเสนอ 1. ดุลการค้าภาคการเกษตร การส่งออก และนำเข้าสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ 2. การตลาดผัก 3. การตลาดผลไม้ 4. ปัญหาสินค้าเกษตร
มูลค่าสินค้าส่งออก สินค้านำเข้าและดุลการค้าสินค้าของประเทศไทยปี 2548-2552 หน่วย : ล้านบาท
มูลค่าสินค้าส่งออก สินค้านำเข้าและดุลการค้าสินค้าของประเทศไทย ปี 2548-2552 (ต่อ) หน่วย : ล้านบาท
1.55% 0.77%
มูลค่าการส่งออกสินค้าภาคเกษตรที่สำคัญ ปี 2548-2552 หน่วย : ล้านบาท
มูลค่าการส่งออกผักและผลิตภัณฑ์ผักที่สำคัญ ปี 2551-2553 หน่วย : ล้านบาท
มูลค่าการส่งออกผลไม้และผลิตภัณฑ์ผลไม้ที่สำคัญ ปี 2551-2553 หน่วย : ล้านบาท
มูลค่าการส่งออกสินค้าภาคเกษตรไปประเทศที่สำคัญ ปี 2548-2552 หน่วย : ล้านบาท
มูลค่าการนำเข้าสินค้าภาคเกษตรที่สำคัญ ปี 2548-2552 หน่วย : ล้านบาท
มูลค่าการนำเข้าผักและผลิตภัณฑ์ผักที่สำคัญ ปี 2551-2553 หน่วย : ล้านบาท
มูลค่าการนำเข้าผลไม้และผลิตภัณฑ์ผลไม้ที่สำคัญ ปี 2551-2553 หน่วย : ล้านบาท
มูลค่าการนำเข้าสินค้าภาคเกษตรไปประเทศที่สำคัญ ปี 2548-2552 หน่วย : ล้านบาท
2. การตลาดผัก • กระเทียม • หอมแดง • หอมหัวใหญ่ • หน่อไม้ฝรั่ง • ข้าวโพดฝักอ่อน • ข้าวโพดหวาน
กระเทียม การผลิตกระเทียม ปี 2549-2553
จังหวัดแหล่งผลิตกระเทียมจังหวัดแหล่งผลิตกระเทียม
ต้นทุนการผลิตกระเทียม ปี 2549-53
การกระจายผลผลิตสู่ตลาดปี 2552-53 ตัน
การนำเข้ากระเทียมสดแช่เย็น ปี 2548-2552 ปี
สัดส่วนมูลค่านำเข้ากระเทียมสดแช่เย็น เทียบปี 2548-2552 2548 มูลค่า 180 ล้านบาท 2552 มูลค่า 308 ล้านบาท
การส่งออกกระเทียมสดแช่เย็น ปี 2548-2552
สัดส่วนมูลค่าส่งออกกระเทียมสดแช่เย็น เทียบปี 2548 กับ 52 2552 มูลค่า 10.97 ล้านบาท 2548 มูลค่า 18.40 ล้านบาท
ราคากระเทียมแห้งใหญ่คละ ปี 2548-2552
การตลาด ประเภทของพ่อค้า • ค้ากระเทียมไทย 40% • ค้ากระเทียมไทยและจีน 60% ช่วงเวลาการรับซื้อ • กระเทียมไทย สด มี.ค. – พ.ค. แห้ง มิ.ย. – ก.ย. • กระเทียมจีน พ.ค. – ม.ค.
คาดการณ์แนวโน้มการตลาดกระเทียม ปี 2553 การผลิต การแปรรูป การตลาด ปริมาณการบริโภคใช้ทำพันธุ์ และแปรรูปในประเทศ122,000 ตัน ผลผลิตกระเทียมแห้ง ปี 2553 68,108 ตัน ผลผลิตกระเทียมสด ปี 2553 204,000 ตัน แปรรูป 6,000 ตัน- กระเทียมดอง 2,500 ตัน (42%)- กระเทียมผง 2,200 ตัน (33%)- กระเทียมเจียว 1,500 ตัน (25%) พื้นที่เพาะปลูกรวม 68,484 ไร่ ปริมาณการส่งออก500 ตัน- หัวแห้ง 300 ตัน-อบแห้ง 150 ตัน-ผง 50 ตัน กระเทียมนำเข้า ปี 2553 55,000 ตัน
หอมแดง การผลิตหอมแดง ปี 2549-2553
จังหวัดแหล่งผลิตหอมแดงจังหวัดแหล่งผลิตหอมแดง
ต้นทุนการผลิตหอมแดง ปี 2549-53 ปี
การกระจายผลผลิตสู่ตลาดปี 2552-53 ตัน ปริมาณหอมแดงรวม 180,696 ตัน
การกระจายผลผลิต (รายจังหวัด) - ศรีสะเกษเก็บเกี่ยวมากธ.ค. – ก.พ.- เพชรบูรณ์เก็บเกี่ยวมากม.ค. – มี.ค.- อุตรดิตถ์เก็บเกี่ยวมากมี.ค. – เม.ย.- พะเยาเก็บเกี่ยวมากมี.ค. – เม.ย.- ลำพูนเก็บเกี่ยวมากม.ค. – มี.ค.- เชียงใหม่เก็บเกี่ยวมากมี.ค. – เม.ย.
การนำเข้าหอมแดงสดแช่เย็น ปี 2548-2552 ปี
สัดส่วนมูลค่าการนำเข้า เทียบปี 2548 กับ 2552 2552 มูลค่า 265.32 ล้านบาท 2548 มูลค่า 38.80 ล้านบาท
การส่งออกหอมแดงสดแช่เย็น ปี 2548-2552 ปี
สัดส่วนมูลค่าการส่งออกหอมแดงสดแช่เย็น เทียบปี 2548 กับ 2552 2552 มูลค่า 250 ล้านบาท 2548 มูลค่า 230 ล้านบาท
ระบบการส่งออกของไทยไปอินโดนีเซียระบบการส่งออกของไทยไปอินโดนีเซีย ท่าเรือแหลมฉบัง เรือทะเล เกาะชวา ผู้ส่งออกกทม. เกาะสุมาตรา เกษตรกร พ่อค้ารวบรวม - ศรีสะเกษ- เพชรบูรณ์- ลำพูน- เชียงใหม่ ผู้ส่งออกหาดใหญ่ ท่าเรือPort Klang มาเลเซีย เรือเล็ก เกาะสุมาตรา
ราคาหอมแดงแห้งใหญ่คละ ปี 2548-2552
คาดการณ์แนวโน้มการตลาดหอมแดง ปี 2553 การผลิต การตลาด ปริมาณส่งออก 30,000 ตัน- สดหรือแช่เย็น 99.90 %- แห้ง 0.10 % ผลผลิต 180,696 ตัน พื้นที่ 103,144 ไร่ ปริมาณการบริโภคในประเทศ 180,000 ตัน หอมแดงนำเข้า 28,000 ตัน
หอมหัวใหญ่ การผลิตหอมหัวใหญ่ปี 2549-2553
จังหวัดแหล่งผลิตหอมหัวใหญ่จังหวัดแหล่งผลิตหอมหัวใหญ่
ต้นทุนการผลิตหอมหัวใหญ่ ปี 2549-53 ปี
การกระจายผลผลิตสู่ตลาดปี 2552-53 ปริมาณหอมหัวใหญ่รวม 46,464 ตัน
การนำเข้าหอมหัวใหญ่สดแช่เย็น ปี 2548-2552 ปี
สัดส่วนมูลค่านำเข้าหอมหัวใหญ่สดแช่เย็น เทียบปี 2548 กับ 2552 2548 มูลค่า 135 ล้านบาท 2552 มูลค่า 280 ล้านบาท
การส่งออกหอมหัวใหญ่สดแช่เย็น ปี 2548-52