520 likes | 781 Views
ยินดีต้อนรับ. คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจ การพาณิชย์และอุตสาหกรรม วุฒิสภา ด้วย ความยินดียิ่ง. วันจันทร์ที่ 24 ธันวาคม 2555 ณ ห้อง ประชุม กพร. ชั้น 1. กรอบการนำเสนอ. ภารกิจและโครงสร้างกระทรวง อุตสาหกรรม. นโยบายรัฐบาล นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม.
E N D
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจ การพาณิชย์และอุตสาหกรรม วุฒิสภา ด้วยความยินดียิ่ง วันจันทร์ที่ 24 ธันวาคม 2555 ณ ห้องประชุม กพร. ชั้น 1
กรอบการนำเสนอ • ภารกิจและโครงสร้างกระทรวงอุตสาหกรรม • นโยบายรัฐบาล นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม • แผนยุทธศาสตร์กระทรวงอุตสาหกรรม ปี พ.ศ. 2555 - 2558 • งบประมาณกระทรวงอุตสาหกรรม ปี พ.ศ. 2556 • การทำเหมืองแร่โพแทช • มาตรการส่งเสริมและพัฒนา SMEs • เกษตรกรชาวไร่อ้อยขอให้พิจารณา • ตั้งโรงงานน้ำตาลแห่งใหม่ในจังหวัดสระแก้ว
ภารกิจหน้าที่ของกระทรวงอุตสาหกรรมภารกิจหน้าที่ของกระทรวงอุตสาหกรรม • จัดทำนโยบายด้านเศรษฐกิจอุตสาหกรรม • ส่งเสริมการลงทุน • กำกับดูแลการประกอบกิจการโรงงานอุตสาหกรรมและ • อุตสาหกรรม พื้นฐานและการเหมืองแร่ • ส่งเสริมและพัฒนา SMEs และวิสาหกิจชุมชน • ส่งเสริมและพัฒนางานการมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม • กำกับดูแล ส่งเสริมอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทราย
จำนวนข้าราชการ จำนวนลูกจ้างประจำ 3,715 1,031 โครงสร้างกระทรวงอุตสาหกรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม 304 25 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน กลุ่มภารกิจด้านเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กลุ่มภารกิจด้านส่งเสริมอุตสาหกรรมและผู้ประกอบการ ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม กลุ่มภารกิจด้านกำกับ ตรวจสอบกระบวนการผลิต สำนักงานรัฐมนตรี 27 - สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม 13716 569350 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กรมโรงงานอุตสาหกรรม สำนักงานปลัดอุตสาหกรรม 1,063 281 601 86 11173 สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย สถาบันเครือข่าย 1. สถาบันไทย-เยอรมัน 2. สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ 3. สถาบันอาหาร 4. สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ 5. สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ 6. สถาบันยานยนต์ 7. สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 8. สถาบันเหล็กและเหล็กกล้าแห่งประเทศไทย 9. สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 10. สถาบันการก่อสร้างแห่งประเทศไทย 11. สถาบันพลาสติก 12. สถาบันพัฒนาผลิตภัณฑ์ยางและไม้ยางพารา หน่วยงานในกำกับ สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม [200] 44437 สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม 459 163 กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ รัฐวิสาหกิจ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย [634] หน่วยงานที่ดูแลร่วมกับกระทรวงการคลัง ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย[1,789]
การเชื่อมโยง นโยบายรัฐบาล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม กับ ยุทธศาสตร์ของกระทรวงอุตสาหกรรม นโยบายรัฐบาล ที่เกี่ยวข้อง นโยบายเร่งด่วน ชายแดนภาคใต้/AEC/OTOP ครัวโลก/เกษตรแปรรูป/Logistics/SMEs/สิ่งแวดล้อม/สร้างความเชื่อมั่น/สร้างสรรค์ นโยบายเศรษฐกิจ SMEs/AEC/OTOP/ครัวโลก/ฮาลาล/กรุงเทพเมืองแฟชั่น/ระบบเตือนภัย/การลงทุน/พื้นที่อุตสาหกรรมใหม่/ป้องกันอุบัติภัย/การบังคับใช้กฎหมาย/มาตรฐาน/แสวงหาแหล่งแร่ นโยบาย รวอ. การเชื่อมโยงอุตสาหกรรมสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และปรับโครงสร้างการผลิตสู่อุตสาหกรรมฐานความรู้ ยุทธศาสตร์ อก. การส่งเสริมสถานประกอบการสู่อุตสาหกรรมสีเขียว การส่งเสริมการลงทุนและพัฒนาปัจจัยแวดล้อมให้เอื้อต่อการประกอบธุรกิจและพัฒนาอุตสาหกรรม การเสริมสร้างขีดความสามารถของภาคอุตสาหกรรมให้แข่งขันได้ทุกระดับ การพัฒนาสมรรถนะองค์กร เพื่อสนองตอบความต้องการของผู้ประกอบการและประชาชน
เชื่อมโยงอุตสาหกรรมฯ ส่งเสริมการลงทุนฯ เสริมสร้างขีดความสามารถฯ ส่งเสริมสถานประกอบการฯ พัฒนาสมรรถนะองค์กรฯ แผนยุทธศาสตร์กระทรวงอุตสาหกรรมปี พ.ศ. 2555 - 2558
กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรมมุ่งสู่การพัฒนาอุตสาหกรรม อย่างยั่งยืน และสามารถแข่งขันได้ในตลาดโลก เพื่อผู้ประกอบการและประชาชน วิสัยทัศน์ รับผิดชอบในหน้าที่ เสนอแนะอย่างสร้างสรรค์ มีความซื่อสัตย์สุจริต จิตอาสาบริการ ค่านิยม 7
พันธกิจกระทรวงอุตสาหกรรมพันธกิจกระทรวงอุตสาหกรรม (1) กำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมไทย พร้อมทั้งชี้นำและเตือนภัยภาคอุตสาหกรรมให้ก้าวทันโลก (5) บูรณาการและติดตามการดำเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมกับหน่วยงานและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อผลักดันให้เกิดประสิทธิผล (2) สร้างโอกาสและสภาพแวดล้อมที่เอื้อ ต่อการลงทุนและ การประกอบกิจการ พันธกิจ (3) สนับสนุนและเสริมสร้างศักยภาพของผู้ประกอบการ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม วิสาหกิจชุมชนให้มีความเข้มแข็ง สามารถแข่งขันได้ ในตลาดโลก และมีการยกระดับพื้นฐานทางปัญญา เพื่อการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง (4) กำกับดูแลการประกอบธุรกิจอุตสาหกรรม ให้มีการพัฒนา อย่างสมดุลและยั่งยืน เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและมีความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค ชุมชนและสังคม
ยุทธศาสตร์กระทรวงอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์กระทรวงอุตสาหกรรม • การเชื่อมโยงอุตสาหกรรมสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และปรับโครงสร้าง • การผลิตสู่อุตสาหกรรมฐานความรู้ 2. การส่งเสริมการลงทุนและพัฒนาปัจจัยแวดล้อมให้เอื้อต่อการประกอบธุรกิจ และพัฒนาอุตสาหกรรม 3. การเสริมสร้างขีดความสามารถของผู้ประกอบการให้สามารถแข่งขันได้ ในตลาดโลก 4. การส่งเสริมสถานประกอบการสู่อุตสาหกรรมสีเขียว 5. การพัฒนาสมรรถนะองค์กร เพื่อสนองตอบความต้องการของผู้ประกอบการ และประชาชน
ยุทธศาสตร์กระทรวงอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์กระทรวงอุตสาหกรรม เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ 1. พัฒนาอุตสาหกรรมให้เป็นอุตสาหกรรมชั้นนำ เชื่อมโยงภาคการผลิต ทั้งด้านวัตถุดิบและ การตลาดกับประเทศในประชาคมอาเซียน 2. ปรับโครงสร้างการผลิตของอุตสาหกรรมสู่อุตสาหกรรม ฐานความรู้ อุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์รวมทั้ง การเป็นครัวโลกและเมืองแฟชั่น • การเชื่อมโยงอุตสาหกรรมสู่ประชาคมเศรษฐกิจ • อาเซียนและปรับโครงสร้างการผลิตสู่อุตสาหกรรมฐาน • ความรู้ ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมมีโอกาส ความพร้อม และได้รับบริการอย่างทั่วถึงในการลงทุน และ ประกอบธุรกิจอุตสาหกรรมทั้งในและต่างประเทศ 2. การส่งเสริมการลงทุนและพัฒนาปัจจัยแวดล้อม ให้เอื้อต่อการประกอบธุรกิจและพัฒนาอุตสาหกรรม 3. การเสริมสร้างขีดความสามารถของผู้ประกอบการให้ สามารถแข่งขันได้ในตลาดโลก ผู้ประกอบการ วิสาหกิจขาดกลางและขนาดย่อม วิสาหกิจชุมชน และบุคลากรภาคอุตสาหกรรมมี ศักยภาพสูงขึ้น รวมทั้งการส่งเสริมการพัฒนาทุนมนุษย์ ภาคอุตสาหกรรมมีการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืนโดยมีความรับผิดชอบต่อสังคม และเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน 4. การส่งเสริมสถานประกอบการสู่อุตสาหกรรมสีเขียว กระทรวงอุตสาหกรรมมีความสามารถในการให้ บริการแก่ผู้ประกอบการและประชาชนอย่างมี ประสิทธิภาพ 5. การพัฒนาสมรรถนะองค์กรเพื่อสนองตอบ ความต้องการของผู้ประกอบการและประชาชน
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเชื่อมโยงอุตสาหกรรมสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และปรับโครงสร้าง การผลิตสู่อุตสาหกรรมฐานความรู้ • เป้าประสงค์ • พัฒนาอุตสาหกรรมให้เป็นอุตสาหกรรม ชั้นนำ เชื่อมโยงภาคการผลิต ทั้งด้านวัตถุดิบและการตลาดกับประเทศในประชาคมอาเซียน • ปรับโครงสร้างการผลิตของอุตสาหกรรม สู่อุตสาหกรรมฐานความรู้ อุตสาหกรรม เชิงสร้างสรรค์ รวมทั้งการเป็นครัวโลก และเมืองแฟชั่น กลยุทธ์ 1. สร้างความพร้อมและพัฒนาศักยภาพภาคอุตสาหกรรม ให้มีคุณค่าในเชิงสร้างสรรค์ นำครัวไทยสู่ครัวโลกและเป็นเมืองแฟชั่น รองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2. การเชื่อมโยงภาคอุตสาหกรรมสู่อุตสาหกรรมเศรษฐกิจอาเซียน และเขตเศรษฐกิจอื่นๆ 3. สนับสนุนอุตสาหกรรมให้มีการพัฒนาบนพื้นฐานของ การผลิตที่ใช้ฐานความรู้ เพื่อผลิตภาพการผลิตและลด การใช้แรงงานภาคอุตสาหกรรม 4. ส่งเสริมให้สถานประกอบการให้มีศักยภาพและสามารถพึ่งพาซึ่งกันและกัน (Otagai Business Continuity) • ตัวชี้วัด • มูลค่าดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมเป้าหมายเพิ่มขึ้น ร้อยละ 1.9 • มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น 3.6 ล้านล้านบาท • มูลค่าการค้าระหว่างไทยกับประเทศในกลุ่มอาเซียนเพิ่มขึ้นร้อยละ 16 ต่อปี อุตสาหกรรมเป้าหมาย ได้แก่ 1) กลุ่มอุตสาหกรรมสนับสนุนและอุตสาหกรรมหลัก (ประกอบด้วย อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้า อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ และอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์) 2) กลุ่มอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป (ประกอบด้วย อุตสาหกรรมอาหาร และอุตสาหกรรมยาง) และ 3) กลุ่มอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (ประกอบด้วย อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม อุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ และอุตสาหกรรมอัญมณี)
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การส่งเสริมการลงทุนและพัฒนาปัจจัยแวดล้อมให้เอื้อต่อการประกอบธุรกิจและพัฒนาอุตสาหกรรม เป้าประสงค์ ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมมีโอกาส ความพร้อม และได้รับบริการอย่างทั่วถึงในการลงทุนและประกอบธุรกิจอุตสาหกรรมทั้งในและต่างประเทศ กลยุทธ์ 1. ส่งเสริมการลงทุนไทยทั้งในและต่างประเทศ และการลงทุนจากต่างประเทศ เพื่อสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจให้แก่ประเทศและภูมิภาค 2. สนับสนุน และจัดการพื้นที่อุตสาหกรรม (Zoning Planning) อย่างเหมาะสม 3. ผลักดันการแก้ไข ปรับปรุง และออกกฎหมายและกฎระเบียบ ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมเพื่อลดอุปสรรคและต้นทุน ในการประกอบธุรกิจ และส่งเสริมการยกระดับของภาคอุตสาหกรรม 4. จัดตั้งกองทุน และเชื่อมโยงการใช้ประโยชน์จากกองทุน 5. พัฒนาระบบข้อมูลเชิงลึกด้านเศรษฐกิจ เพื่อเตือนภัย การตัดสินใจการลงทุนในอาเซียนและด้านอื่นๆ ตัวชี้วัด 1. มียุทธศาสตร์และมาตรการส่งเสริม การลงทุนใหม่ในช่วง 5 ปี 2. มูลค่าลงทุนไทยไปยังต่างประเทศ โดยเฉพาะประเทศเพื่อนบ้านและประเทศ ในภูมิภาคเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าปีละ 10 ล้านเหรียญสหรัฐฯ 3. สัดส่วนการออกบัตรส่งเสริมในกิจการเทคโนโลยีสูงต่อการออกบัตรส่งเสริมในกิจการอุตสาหกรรมทั้งหมด ร้อยละ 67 4. พื้นที่ในการจัดตั้งนิคมและเขตประกอบการอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น 1,000 ไร่
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การเสริมสร้างขีดความสามารถของผู้ประกอบการให้สามารถแข่งขันได้ ในตลาดโลก เป้าประสงค์ ผู้ประกอบการ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม วิสาหกิจชุมชน และบุคลากรภาคอุตสาหกรรม มีศักยภาพสูงขึ้น รวมทั้งการส่งเสริม การพัฒนาทุนมนุษย์ กลยุทธ์ 1. เสริมสร้างขีดความสามารถของผู้ประกอบการให้มีศักยภาพเพิ่มขึ้น 2. เสริมสร้างประสิทธิภาพการจัดการโลจิสติกส์ และโซ่อุปทานของภาคอุตสาหกรรมให้มีความได้เปรียบในการแข่งขัน 3. พัฒนามาตรฐานระบบและผลิตภัณฑ์ รวมถึงการบังคับใช้ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยต่อประชาชน และเอื้อต่อการพัฒนาภาคอุตสาหกรรม 4. สร้างเครือข่ายวิสาหกิจ (Cluster) ของอุตสาหกรรม 5. สนับสนุนและผลักดันการเตรียมกำลังคนเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรม ให้มีจำนวนเพียงพอและมีทักษะ สอดคล้องกับความต้องการของอุตสาหกรรมแต่ละสาขา 6. ผลักดันให้มีการวิจัยการออกแบบในเชิงพาณิชย์ และการร่วมลงทุน (VentureCapital) ตัวชี้วัด 1. จำนวนผู้ประกอบการรายใหม่/หรือจำนวนผู้ประกอบการรายเดิมที่ได้รับการพัฒนา ไม่น้อยกว่า 10,000 ราย 2. ต้นทุนโลจิสติกส์ภาคอุตสาหกรรมลดลง ร้อยละ 2 3. ผู้ประกอบการที่ได้รับการพัฒนามาตรฐานสามารถลดการสูญเสียในกระบวนการผลิตได้ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 3 4. ผลิตภาพแรงงานอุตสาหกรรม (Labor Productivity) เพิ่มขึ้น ร้อยละ 2
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การส่งเสริมสถานประกอบการสู่อุตสาหกรรมสีเขียว เป้าประสงค์ ภาคอุตสาหกรรมมีการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน โดยมีความรับผิดชอบต่อสังคมและเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน กลยุทธ์ 1. ส่งเสริม/สนับสนุน สถานประกอบการให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และมีความรับผิดชอบต่อสังคม(CSR) 2. สนับสนุนการสร้างระบบตรวจสอบความปลอดภัยในอุตสาหกรรมสำคัญที่มีความเสี่ยง 3. ผลักดันการจัดตั้งพื้นที่ที่เหมาะสมกับประเภทอุตสาหกรรมและสนับสนุนโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อการเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์ 4. ส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนา เทคโนโลยี ที่เหมาะสม เพื่อการจัดการกากอุตสาหกรรม 5. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ตัวชี้วัด 1. จำนวนสถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์อุตสาหกรรม สีเขียว (Green Industry ) 7,500 ราย 2. เครือข่ายความร่วมมือในการเฝ้าระวังปัญหาสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยภาคอุตสาหกรรมได้รับการพัฒนาเพิ่มขึ้น (นับจากปีที่ผ่านมา) ร้อยละ 5 3. หน่วยงานมีองค์ประกอบ/ปัจจัยความสำเร็จของ การพัฒนากลไกกำกับดูแล ติดตามและตรวจสอบสิ่งแวดล้อม 5 องค์ประกอบ 4. จำนวนนิคมอุตสาหกรรมที่ได้รับการพัฒนา เป็นอุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์เพิ่มขึ้น 3 ราย
ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาสมรรถนะองค์กรเพื่อสนองตอบความต้องการของผู้ประกอบการและประชาชน เป้าประสงค์ กระทรวงอุตสาหกรรมมีความสามารถในการให้บริการแก่ผู้ประกอบการและประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ 1. พัฒนาระบบบริหารจัดการองค์การ การจัดการองค์ความรู้ ด้านการอุตสาหกรรม เพื่อยกระดับศักยภาพการปฏิบัติงาน 2. พัฒนาศักยภาพของบุคลากรในองค์กรให้สามารถพัฒนาผลักดันการพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างยั่งยืน และมีความพร้อมในการสู่ประชาคมอาเซียน 3. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการบริหาร และการบริการที่มีประสิทธิภาพ 4. สร้างระบบบูรณาการการดำเนินงานกับพันธมิตรทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน 5. เพิ่มประสิทธิภาพและปรับปรุงโครงสร้างองค์กรการบริหารงานผ่านช่องทางบริการต่างๆ ตัวชี้วัด 1. ผู้รับบริการมีความพึงพอใจในคุณภาพการให้บริการของหน่วยงานในกระทรวงอุตสาหกรรมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 2. บุคลากรสายงานหลักของกระทรวงอุตสาหกรรมตามแผนปฏิบัติการพัฒนาบุคลากรกระทรวงอุตสาหกรรมได้รับ การพัฒนาการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ร้อยละ 80 3. ผู้รับบริการมีความพึงพอใจในการใช้บริการข้อมูลเว็บท่ากระทรวงอุตสาหกรรม ร้อยละ 80
งบประมาณ ปี 2556 ของ อก. จำแนกตามหน่วยงาน หน่วย : ล้านบาท
โครงการเหมืองแร่โพแทชโครงการเหมืองแร่โพแทช • มาตรการส่งเสริมและพัฒนา SMEs • เกษตรกรชาวไร่อ้อยร้องขอให้พิจารณาตั้งโรงงานน้ำตาลแห่งใหม่ในจังหวัดสระแก้ว
โครงการเหมืองแร่โพแทชโครงการเหมืองแร่โพแทช 1
แร่โพแทชของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2516-2525 กระทรวงอุตสาหกรรมได้ดำเนินการเจาะสำรวจแร่โพแทชในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศจำนวน 194 หลุมเจาะ พบแร่โพแทช 2 ชนิด ดังนี้ 1. แร่ซิลไวท ์ 2. แร่คาร์นัลไลท์ 2
แหล่งแร่โพแทชของประเทศไทยแหล่งแร่โพแทชของประเทศไทย พื้นที่ 17,000 ตร.กม. พื้นที่ 33,000 ตร.กม. ปริมาณสำรอง แร่ซิลไวท ์(KCl) ประมาณ 7,000 ล้านตัน แร่คาร์นัลไลท์ (KCl.MgCl2.6H2O) 400,000 ล้านตัน 3
ประโยชน์ของแร่โพแทช • แร่โพแทชมีความสำคัญเป็นอย่างมากสำหรับอุตสาหกรรมปุ๋ยเคมี เนื่องจากธาตุโพแทชเซียม (K) เป็นธาตุที่เป็นส่วนประกอบหลักในปุ๋ยเคมี นอกจากนี้แร่โพแทชยังสามารถใช้เป็นวัตถุดิบสำหรับอุตสาหกรรมต่อเนื่องได้เช่น อุตสาหกรรมแก้วกระจก อุตสาหกรรมฟอกย้อม อุตสาหกรรมยาอุตสาหกรรมสบู่ผงซักฟอก เป็นต้น 4
ตารางเปรียบเทียบความต้องการใช้ปุ๋ยโพแทชและการผลิตแร่โพแทชของโลกตารางเปรียบเทียบความต้องการใช้ปุ๋ยโพแทชและการผลิตแร่โพแทชของโลก * กลุ่มประเทศอาเซียนมีความต้องการประมาณ 4 ล้านตันต่อปี และประเทศไทยมีความต้องการประมาณ 700,000 ตันต่อปี โดยต้องนำเข้ามาจากต่างประเทศทั้งหมด 5
ปัจจุบันผู้ยื่นขอประทานบัตรมี 3 บริษัท ดังนี้ 1. บริษัท เอเชีย แปซิฟิค โปแตช คอร์ปอเรชั่น จำกัด 2. บริษัท เหมืองแร่โปแตชอาเซียน จำกัด (มหาชน) 3. บริษัท ไทยคาลิ จำกัด 6
โครงการเหมืองแร่โพแทชบริษัทAPPCโครงการเหมืองแร่โพแทชบริษัทAPPC โครงการตั้งอยู่ที่อำเภอเมืองและอำเภอประจักษ์ศิลปาคม จังหวัดอุดรธานี 7
ข้อมูลทั่วไป • บริษัท APPC ได้ลงนามในสัญญากับกระทรวงอุตสาหกรรมเมื่อ 4 กันยายน 2527 • เจาะสำรวจจำนวน 169 หลุมเจาะ • ปริมาณสำรองแร่ชนิดซิลไวท์ประมาณ 300 ล้านตัน • ความสมบูรณ์ของแร่เฉลี่ย 35% KCl • บริษัท APPC ยื่นคำขอประทานบัตรเนื้อที่ 26,446 ไร่ กำลังการผลิต 2 ล้านตันต่อปี • ปัจจุบันอยู่ระหว่างดำเนินการขอประทานบัตร 8
ปัญหาอุปสรรคของโครงการ (APPC) • ประชาชนจำนวนหนึ่งในพื้นที่โครงการคัดค้านการดำเนินโครงการของบริษัทในทุกขั้นตอนจึงทำให้การดำเนินการตามขั้นตอนการขอประทานบัตรเป็นไปด้วยความล่าช้า 9
แนวทางการแก้ไขปัญหาโครงการแนวทางการแก้ไขปัญหาโครงการ • กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่มีนโยบายให้ผู้ประกอบการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (EHIA) ถึงแม้ว่าจะไม่เข้าข่ายโครงการรุนแรงตามประกาศของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติแลสิ่งแวดล้อม • กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ร่วมกับจังหวัดอุดรธานี ลงพื้นที่ชี้แจงทำความเข้าใจกับประชาชนในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง • กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ได้แต่งตั้งคณะกรรมการศึกษา ติดตามกระบวนการขออนุญาตประทานบัตรโครงการเหมืองแร่โพแทชจังหวัดอุดรธานีโดยมีข้าราชการกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่และกลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอุดรธานี เพื่อแก้ไขปัญหาประเด็นข้อร้องเรียนต่างๆ 10
พม่า • N ลาว ไทย ชัยภูมิ บำเหน็จณรงค์ นครราชสีมา กรุงเทพ มาบตาพุด กัมพูชา อ่าวไทย ทะเลอันดามัน โครงการเหมืองแร่โพแทชบริษัท APMC โครงการตั้งอยู่ที่อำเภอบำเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ 11
ข้อมูลทั่วไป • กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ได้สำรวจ โดยใช้มาตรา 6 ทวิ แห่ง พ.ร.บ. แร่ จำนวน 100 หลุมเจาะ • ปริมาณสำรองแร่ชนิดคาร์นัลไลท์ประมาณ 570 ล้านตัน • ความสมบูรณ์ของแร่ประมาณ 15% KCl • บริษัท APMC ยื่นคำขอประทานบัตรเนื้อที่ 9,708 ไร่ กำลังการผลิต 1.1 ล้านตันต่อปี • ปัจจุบันอยู่ระหว่างดำเนินการขอประทานบัตร 12
พม่า ลาว ไทย ชัยภูมิ บำเหน็จณรงค์ นครราชสีมา กรุงเทพ มาบตาพุด กัมพูชา อ่าวไทย ทะเลอันดามัน โครงการเหมืองแร่โพแทชบริษัท ไทยคาลิ จำกัด • N โครงการตั้งอยู่ที่อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา 13
ข้อมูลทั่วไป • ปี พ.ศ. 2553 ได้รับอาชญาบัตรพิเศษเนื้อที่ 40,000 ไร่ • บริษัท ไทยคาลิ จำกัด ยื่นคำขอประทานบัตรเนื้อที่ 9,200 ไร่กำลังการผลิต 100,000 ตันต่อปี • ปริมาณสำรองแร่ประมาณ 17 ล้านตัน • ปัจจุบันอยู่ระหว่างดำเนินการขอประทานบัตร 14
ขอบคุณครับ 15
Supporting ตลาด Stand-alone ต่างประเทศ SMEs ผู้ผลิตชิ้นส่วน SMEs ผู้ผลิตสินค้า สำเร็จรูป วิสาหกิจ ตลาด ในประเทศ ขนาดใหญ่ ภาพรวมSMEsในโครงสร้างเศรษฐกิจไทย ข้อมูล SMEs ณ สิ้นปี 2554 มีจำนวนทั้งสิ้น 2,652,854 ราย SMEs ภาคการค้า SMEs ภาคบริการ
หน่วยงานส่งเสริม SMEs ของกระทรวงอุตสาหกรรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่ง ประเทศไทย (SME BANK) สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (ISMED)
ผลการดำเนินงาน หมายเหตุ : เฉพาะของ กสอ. และ สสว.
ผลการดำเนินงาน (ต่อ) หมายเหตุ : เฉพาะของ กสอ. และ สสว.
โครงการสร้างและพัฒนาบุคลากรโครงการสร้างและพัฒนาบุคลากร เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(AEC) การเตรียมความพร้อมผู้ประกอบการ SMEs สู่ AEC วัตถุประสงค์ของโครงการ • เพื่อเตรียมความพร้อมและเพิ่มขีดความสามารถในการดำเนินธุรกิจ ให้แก่ผู้ประกอบการอุตสาหกรรม เพื่อรองรับการเข้าสู่ AEC ได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งในเชิงรับและเชิงรุก • เพื่อพัฒนา ยกระดับความรู้และทักษะในการปฏิบัติงาน ให้แก่บุคลากรหรือพนักงานภาคอุตสาหกรรมให้มีมาตรฐาน รองรับการเข้าสู่ AEC • เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างประเทศในสาขาอุตสาหกรรม ที่มีศักยภาพอันจะก่อให้เกิดการขยายโอกาสทางการค้า การลงทุน ให้แก่ธุรกิจอุตสาหกรรม
โครงการสร้างและพัฒนาบุคลากรโครงการสร้างและพัฒนาบุคลากร เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(AEC) งบประมาณปี 2556 : 180 ล้านบาท สร้างเครือข่ายธุรกิจ 10 เครือข่าย เตรียมความพร้อมผู้ประกอบการ 10,000 ราย พัฒนาแรงงานอุตสาหกรรม 5,000 ราย พัฒนาวิสาหกิจ 650 กิจการ พัฒนาผู้ประกอบการ 5,000 ราย
ภาพกิจกรรมการสร้างเครือข่ายผู้ประกอบการ สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า (25 – 28 ก.ค. 55)
ภาพกิจกรรมการสร้างเครือข่ายผู้ประกอบการภาพกิจกรรมการสร้างเครือข่ายผู้ประกอบการ สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า (25 – 28 ก.ค. 55)
ภาพกิจกรรมการสร้างเครือข่ายผู้ประกอบการ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (8 – 11 ส.ค. 55)
เกษตรกรชาวไร่อ้อยร้องขอให้พิจารณาตั้งโรงงานน้ำตาลแห่งใหม่ในจังหวัดสระแก้วเกษตรกรชาวไร่อ้อยร้องขอให้พิจารณาตั้งโรงงานน้ำตาลแห่งใหม่ในจังหวัดสระแก้ว
เกษตรกรชาวไร่อ้อยร้องขอให้พิจารณาตั้งโรงงานน้ำตาลแห่งใหม่ในจังหวัดสระแก้วเกษตรกรชาวไร่อ้อยร้องขอให้พิจารณาตั้งโรงงานน้ำตาลแห่งใหม่ในจังหวัดสระแก้ว • ปัจจุบัน จ.สระแก้ว มีโรงงานน้ำตาล 1 โรงงาน คือ • โรงงานน้ำตาลและอ้อยตะวันออก ตั้งอยู่ที่ อ.วัฒนานคร จ.สระแก้ว • - กำลังการผลิตที่ ครม. อนุมัติ 22,000 ตันอ้อย/วัน • - กำลังการผลิตตรวจวัดลูกหีบจริง 12,236 ตันอ้อย/วัน • ต่อมาได้รับอนุญาต (มติ ครม. 1 มี.ค. 54) ให้นำกำลังการผลิต 2,000 ตันอ้อย/วัน ไปตั้งใหม่ที่ อ.วังสมบูรณ์ จ.สระแก้ว และขยายกำลัง การผลิตเป็น 12,500 ตันอ้อย/วัน • (ขณะนี้ยังอยู่ระหว่างดำเนินการ) • ปี 2554/55 จ.สระแก้ว มีพื้นที่ปลูกอ้อย 253,764 ไร่ ผลิตอ้อยได้ประมาณ 2.72 ล้านตัน • แต่โรงงานน้ำตาลและอ้อยตะวันออกหีบอ้อยได้ 2.314 ล้านต้น • ชาวไร่อ้อยอ้อยบางส่วนต้องขนอ้อยไปหีบที่โรงงานในจังหวัดใกล้เคียง • (โรงงานน้ำตาลชลบุรี และโรงงานน้ำตาลสุรินทร์)
การขออนุญาตตั้งโรงงานของบริษัท น้ำตาลนิวกว้างสุ้นหลี จำกัดที่ อ.วัฒนานคร จ.สระแก้ว • ครม. (16 ต.ค50) เห็นชอบให้บริษัทฯ ย้ายสถานที่ตั้งจาก อ.พนัสนิคม จ.ชลบุรี ไปที่ อ.ตาพระยา จ.สระแก้ว • และขยายกำลังการผลิตจาก 6,479 ตันอ้อย/วัน เป็น 20,400 ตันอ้อย/วัน • เนื่องจากกรมชลประทานไม่สามารถจัดสรรน้ำดิบจากอ่างห้วยยาง อ.ตาพระยา ให้ได้ แต่ยินดีจะพิจารณาจัดสรรน้ำจากอ่างเก็บน้ำ ห้วยปรง อ.วัฒนานคร บริษัทฯ จึงขอย้ายสถานที่ตั้งโรงงาน จาก อ.ตาพระยา ไปที่ อ.วัฒนานคร (ระยะห่างจากโรงงานน้ำตาลและอ้อยตะวันออก ประมาณ 23 กม.)
โรงงานของบริษัท น้ำตาล นิวกว้างสุ้นหลี ที่ขอย้ายไปตั้งที่ อ.วัฒนานคร จ.สระแก้ว ห่างจากโรงงานเดิม คือ โรงงานน้ำตาลและอ้อยตะวันออก ประมาณ 23 กม. • โดยที่ระยะห่างไม่สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ที่กระทรวงอุตสาหกรรมกำหนด ให้ระยะห่างจากโรงงานที่ตั้งอยู่เดิมกับโรงงานที่จะตั้งใหม่ในเส้นทางใกล้ที่สุด ไม่น้อยกว่า 80 กม. • บริษัท น้ำตาลและอ้อยตะวันออก จึงคัดค้าน กรณีที่บริษัท น้ำตาล นิวกว้างสุ้นหลี ขอย้าย สถานที่ตั้งโรงงานดังกล่าว