1 / 16

รศ. อรุณจิรวัฒน์กุล

การคำนวณขนาดตัวอย่างและการวิเคราะห์ ในการวิจัยกึ่งทดลอง ทางด้านพฤติกรรมศาสตร์ : ประเด็นจริยธรรม. รศ. อรุณจิรวัฒน์กุล. Sample size and Statistical Analysis of Education Intervention Assoc. Prof. Aroon Chirawatkul, Jan. 11.

lukas
Download Presentation

รศ. อรุณจิรวัฒน์กุล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การคำนวณขนาดตัวอย่างและการวิเคราะห์ ในการวิจัยกึ่งทดลอง ทางด้านพฤติกรรมศาสตร์: ประเด็นจริยธรรม รศ. อรุณจิรวัฒน์กุล Sample size and Statistical Analysis of Education Intervention Assoc. Prof. Aroon Chirawatkul, Jan. 11

  2. การวิจัยกึ่งทดลองทางด้านพฤติกรรมศาสตร์การวิจัยกึ่งทดลองทางด้านพฤติกรรมศาสตร์ • เน้นเฉพาะ Education Intervention • การทดลองสองกลุ่ม Control และ Treatment จริยธรรม หลักจริยธรรมการทำวิจัยในมนุษย์ - งานวิจัยที่ทำต้องมีประโยชน์ • ประเด็นชวนคิด • การวัดสัมฤทธิผลของระบบการเรียนการสอน • แบบงานวิจัย • การใช้สถิติ Sample size and Statistical Analysis of Education Intervention Assoc. Prof. Aroon Chirawatkul, Jan. 11

  3. คำถามงานวิจัย และแบบงานวิจัย วัตถุประสงค์เพื่อพิสูจน์ว่า การสอนที่ใช้ (ระบบการเรียนการสอน) ได้ผลสัมฤทธิ์ (ตามที่กำหนด) หรือไม่ จริยธรรม แบบงานวิจัยกลุ่มเดียว วัดก่อน-หลัง B1 B2 Treatment Control Treatment A1 A2 B Treatment A แบบงานวิจัยสองกลุ่ม วัดก่อน-หลัง Sample size and Statistical Analysis of Education Intervention Assoc. Prof. Aroon Chirawatkul, Jan. 11

  4. แบบงานวิจัยสองกลุ่ม วัดก่อน-หลัง B1 B2 Treatment Control Treatment A1 A2 การเปรียบเทียบผลการศึกษา • เปรียบเทียบคะแนนก่อนการทดลอง B1กับ B2 • เปรียบเทียบคะแนนก่อน-หลังการทดลองของแต่ละกลุ่ม (A1 กับ B1และA2กับ B2) • เปรียบเทียบคะแนนผลต่างระหว่าง 2 กลุ่ม (A1-B1) กับ (A2-B2) • เปรียบเทียบคะแนนหลังการทดลอง A1กับ A2 Sample size and Statistical Analysis of Education Intervention Assoc. Prof. Aroon Chirawatkul, Jan. 11

  5. แบบงานวิจัยสองกลุ่ม วัดก่อน-หลัง ในการทดลองนักวิจัยต้องการให้สองกลุ่มมีคะแนนเริ่มต้นที่เท่ากัน B1 B2 Control Treatment Treatment A1 A2 ผลการทดสอบคะแนนก่อนการทดลอง B1กับ B2บอกได้แต่เพียงว่านักวิจัยสุ่มไม่ดี ทำให้สองกลุ่มมีคะแนนก่อนการทดลองต่างกัน Statistics notes: Concealing treatment allocation in randomised trials. Altman DG, Schulz KF. British Medical Journal 2001: 323(7310); 446-7. แก้ให้สองกลุ่มมีคะแนนเริ่มต้นที่เท่ากันทำในขั้นออกแบบงานวิจัย โดยทำ stratify คะแนนก่อนการทดลอง แล้วจึงสุ่มแบ่งกลุ่ม Sample size and Statistical Analysis of Education Intervention Assoc. Prof. Aroon Chirawatkul, Jan. 11

  6. การทดสอบBaseline Sample size and Statistical Analysis of Education Intervention Assoc. Prof. Aroon Chirawatkul, Jan. 11

  7. แบบงานวิจัยสองกลุ่ม วัดก่อน-หลัง จริยธรรม การเปรียบเทียบคะแนนก่อน-หลังของแต่ละกลุ่ม (A1กับ B1 และA2กับ B2) B1 B2 Control Treatment Treatment A1 A2 จะใช้ตอบคำถามว่าแต่ละกลุ่มเมื่อได้รับการสอนแล้วมีความรู้เพิ่มขึ้นจากเดิมหรือไม่ กลุ่มทดลองผลการทดสอบ ถ้าพบว่าไม่ต่าง สรุปว่าการสอนไม่ดี ถ้าพบว่าต่าง สรุปว่าการสอนอาจดี (เพราะอาจรู้เพิ่มจากเหล่งอื่น) ข้อสังเกต: ถ้านักวิจัยต้องทดสอบว่าวิธีการสอนที่ใช้สอนแล้วจะมีความรู้เพิ่มขึ้นหรือไม่จะมีประเด็นจริยธรรมด้าน Risk และ Benefit ของ Intervention ที่ใช้หรือไม่ การทดสอบถ้าไม่ใช้ตอบคำถามงานวิจัย ไม่มีประโยชน์ และมีปัญหาของ multiple testing Sample size and Statistical Analysis of Education Intervention Assoc. Prof. Aroon Chirawatkul, Jan. 11

  8. แบบงานวิจัยสองกลุ่ม วัดก่อน-หลัง B1 B2 Control Treatment Treatment A1 A2 เปรียบเทียบคะแนนผลต่างระหว่าง 2 กลุ่ม (A1-B1) กับ (A2-B2) การวัดความรู้โดยใช้ผลต่างระหว่างก่อนและหลังการสอน ของทั้งสองกลุ่มมาเปรียบเทียบกัน จะใช้ตอบคำถามว่ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีขนาดของความรู้ที่เพิ่มขึ้น ต่างกันหรือไม่ Sample size and Statistical Analysis of Education Intervention Assoc. Prof. Aroon Chirawatkul, Jan. 11

  9. ความรู้ที่เพิ่มขึ้นมากกว่า มิได้หมายความว่ารู้มากกว่า ผลลัพธ์ (ความรู้) ที่ได้จากการสอน • เนื้อหาที่ใช้สอนจะออกแบบให้สอนคนจาก ไม่รู้ หรือ รู้ไม่พอ ให้มีความรู้ที่เพียงพอ • ความรู้ก่อนสอน และหลังสอนไม่ได้มีความสัมพันธ์เชิงเส้นตรงทางบวก ตย. ความสัมพันธ์เชิงเส้นตรงทางบวก (positive correlation) ก่อนสอน 20 หลังสอน 40 (เพิ่ม 20 ) ก่อนสอน 15 หลังสอน 35 ก่อนสอน 37 หลังสอน 57 ฯลฯ การเปรียบเทียบผลต่างจึงไม่เหมาะที่ใช้ตอบคำถามวิจัย Education intervention การทดลองทางการแพทย์ที่วัดผลเป็นคุณภาพชีวิตผู้ป่วยจะใช้คะแนนที่เปลี่ยนแปลงในการสรุปผล Sample size and Statistical Analysis of Education Intervention Assoc. Prof. Aroon Chirawatkul, Jan. 11

  10. แบบงานวิจัยสองกลุ่ม วัดก่อน-หลัง B1 B2 เปรียบเทียบคะแนนหลังการทดลอง A1กับ A2 ใช้สำหรับตอบคำถามว่า เมื่อสิ้นสุดการทดลองกลุ่มทดลองมีความรู้มากกว่ากลุ่มควบคุมหรือไม่ Treatment Control Treatment A1 A2 ถ้าปัจจัยกวน (confounding) ของทั้งสองกลุ่มเหมือนกัน ข้อสรุปที่ได้จากการเปรียบเทียบคะแนนหลังการทดลอง A1กับ A2 โดยตรงเหมาะสมใช้ตอบคำถามงานวิจัยได้ตรงที่สุด Sample size and Statistical Analysis of Education Intervention Assoc. Prof. Aroon Chirawatkul, Jan. 11

  11. หมายเหตุ: 1 แบบทดสอบมีคะแนนเต็ม 50 คะแนน “จากผลการทดสอบสมมุติฐานพบว่า ความรู้ในกลุ่มทดลองมากกว่ากลุ่มควบคุมต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (P = 0.0002) ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ดังนั้น การสอนด้วยวิธีใหม่จะทำให้ผู้เรียนมีความรู้มากกว่าการสอนด้วยวิธีเดิม จึงควรมีการนำการสอนฑันตสุขศึกษาไปใช้ในการให้บริการของ PCU” Sample size and Statistical Analysis of Education Intervention Assoc. Prof. Aroon Chirawatkul, Jan. 11

  12. คำตอบงานวิจัยสรุปจากคะแนนสัมฤทธิผลจากการทดลอง คะแนนสัมฤทธิ์ผลนำมาวิเคราะห์ได้ 2 แบบ 1. นำคะแนนที่ได้มาใช้ตัดสินโดยตรง เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของคะแนนหลังการทดลอง ระหว่างกลุ่มควบคุม กับ กลุ่มทดลอง มี Assumption ว่า:ทุกค่าคะแนนที่เพิ่มขึ้นจะมีสัมฤทธิ์ผลที่ต่างกัน 2.นำคะแนนที่ได้มาจัดกลุ่มตามเกณฑ์ที่กำหนด เช่น รู้เพียงพอ รู้ไม่พอ แล้วเปรียบเทียบค่าสัดส่วนของผู้ที่มีความรู้เพียงพอหลังการทดลอง ระหว่างกลุ่มควบคุม กับ กลุ่มทดลอง มี Assumption ว่า:สัมฤทธิ์ผลสามารถจัดเป็นกลุ่ม (ตามเกณฑ์) ผู้ที่ได้คะแนนต่างกันถ้าอยู่ในกลุ่มเดียวกันจะมีสัมฤทธิ์ผลไม่ต่างกัน Sample size and Statistical Analysis of Education Intervention Assoc. Prof. Aroon Chirawatkul, Jan. 11

  13. การวิเคราะห์ และคำนวณขนาดตัวอย่างทดลอง กรณีนำคะแนนที่ได้มาใช้ตัดสินโดยตรง เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของคะแนนหลังการทดลอง ระหว่างกลุ่มควบคุม กับ กลุ่มทดลอง สถิติที่ใช้ในการคำนวณขนาดตัวอย่าง เพื่อการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย 2 ประชากร สถิติที่ใช้ในการสรุปผล Unpaired t test หรือ Nonparametric 95% confidence interval ในกรณีที่มีตัวกวน Covariate Adjustment ANCOVA (Multiple Liner Regression) Sample size and Statistical Analysis of Education Intervention Assoc. Prof. Aroon Chirawatkul, Jan. 11

  14. การวิเคราะห์ และคำนวณขนาดตัวอย่างทดลอง กรณีนำคะแนนที่ได้มาจัดกลุ่มตามเกณฑ์ที่กำหนด เปรียบเทียบค่าสัดส่วนของผู้ที่มีความรู้เพียงพอหลังการทดลอง ระหว่างกลุ่มควบคุม กับ กลุ่มทดลอง สถิติที่ใช้ในการคำนวณขนาดตัวอย่าง เพื่อการเปรียบเทียบค่าสัดส่วน 2 ประชากร สถิติที่ใช้ในการสรุปผล Z test for two proportion หรือ Exact test 95% confidence interval ในกรณีที่มีตัวกวน Covariate Adjustment Multiple Logistic Regression Sample size and Statistical Analysis of Education Intervention Assoc. Prof. Aroon Chirawatkul, Jan. 11

  15. สรุป ความเหมาะสมของระเบียบวิธีวิจัยและการใช้สถิติในการวิจัยกึ่งทดลอง ทางด้านพฤติกรรมศาสตร์ ต้องพิจารณาประกอบกันทั้ง Content (Scientific Rational) แบบงานวิจัย การใช้สถิติ โดยตั้งต้นจาก วัตถุประสงค์หลัก หรือ คำถามหลัก (Primary Research Question) Sample size and Statistical Analysis of Education Intervention Assoc. Prof. Aroon Chirawatkul, Jan. 11

  16. คำถาม กรรมการจริยธรรม เพื่อมนุษยชาติ จงอย่าละความกล้า เมื่อเผชิญกับความทุกข์ให้อดทนและสุขุม และจงมีความสุขที่ได้ยึดอุดมการณ์ที่มีค่า บทพระราชนิพนธ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชสุดา ๒๕๑๙ Sample size and Statistical Analysis of Education Intervention Assoc. Prof. Aroon Chirawatkul, Jan. 11

More Related