1 / 18

เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง ASP and Database

เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง ASP and Database. อ.กันทิมา อ่อนละออ. ASP กับ Access. วัตถุประสงค์ของการใช้ ASP เพื่อนำข้อมูลจากฐานข้อมูล Access มาแสดงผลบนเว็บ เรียกว่า Web database เป็นการทำงานแบบ Server side และ Server ต้องสนับสนุนฐานข้อมูล Access และ ASP

lyle-beck
Download Presentation

เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง ASP and Database

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่องASP and Database อ.กันทิมา อ่อนละออ

  2. ASP กับ Access • วัตถุประสงค์ของการใช้ ASP เพื่อนำข้อมูลจากฐานข้อมูล Access มาแสดงผลบนเว็บ เรียกว่า Web database • เป็นการทำงานแบบ Server side และ Server ต้องสนับสนุนฐานข้อมูล Access และ ASP • Free server ที่สนับสนุน Access และ ASP http://www.webhostme.com http://www2.ewebcity.com

  3. ทางเลือกการพัฒนา Web Database • CGI ใช้ ภาษา Java, Perl, C++ บน UNIX • PHP (Professional Home Page) เป็น Open source • JSP (Java Server Pages) • Cold Fusion บน Cold Fusion Server • ASP บน IIS และ PWS

  4. การเขียนคำสั่งเชื่อมต่อฐานข้อมูลการเขียนคำสั่งเชื่อมต่อฐานข้อมูล การเขียนโปรแกรม ASP เพื่อเชื่อมต่อกับฐานข้อมูล Microsoft Access ต้องมี driver ช่วย ซึ่งมีหลายแบบ • ODBC (Open Database Connectivity) โดยการสร้าง DSN (Data Source Name) • DSNLess ไม่ใช้ DSN • OLEDB

  5. รูปแบบการใช้ DSNLess คำสั่ง ASP เพื่อเชื่อมต่อกับฐานข้อมูลแบบ DNSLess มี 2 ส่วน 1 Set ObjDB=Server.CreateObject("ADODB.Connection") • เชื่อมต่อฐานข้อมูลผ่าน DNSLess ด้วยออปเจ็กต์ ObjDB 2 ObjDB.Open "DRIVER={Microsoft Access Driver (*.mdb)}; DBQ="& Server.mappath("bookshop.mdb") • ใช้เมธอด Open เพื่อติดต่อฐานข้อมูล Microsoft Access โดยมี DBQ (Databasw Querry) บอกชื่อไฟล์ และไดเร็กทอรี่

  6. การเขียนคำสั่งเพื่อดึงข้อมูลมาใช้การเขียนคำสั่งเพื่อดึงข้อมูลมาใช้ การเขียนโปรแกรม ASP เพื่อดึงข้อมูลจาก Access มี 3 ส่วน • 1 คำสั่ง ASP เพื่อสร้างเร็กคอร์ดเซ็ต Set ObjRS=Server.CreateObject(“ADODB.RecordSet”) • เมื่อ ObjRS เป็นออปเจ็กต์ที่ติดต่อเร็กคอร์ดเซ็ต • 2 คำสั่ง SQL เพื่อดึงข้อมูลมาไว้ในตัวแปร SQL เช่น SQL=Select * From Employee • 3 เขียนคำสั่ง ASP ให้เอ็กซิคิวต์ SQLSet ObjRS = ObjDB.Execute(SQL)

  7. การเขียนคำสั่งเพื่อดึงข้อมูลมาใช้ (2) • หมายเหตุ • ข้อ 5 อาจเขียนเป็น ObjRS.Open SQL, ObjDB • ข้อ 4 และ 5 อาจเขียนรวมกันเป็นคำสั่งเดียว คือ ้ Set ObjRS=ObjDB.Execute(“Select * From Employee”) ก็ได้

  8. สรุปขั้นตอนการติดต่อ Access 1 สร้างฐานข้อมูลด้วย Access 2 เขียนโค้ด ASP เชื่อมต่อฐานข้อมูล (ใช้ DNSLess) 3 เขียนโค้ด ASP เพื่อสร้างเร็กคอร์ดเซ็ต 4 เขียนคำสั่ง SQL เพื่อดึงข้อมูลมาใช้งาน 5 เขียนคำสั่งให้เอ็กซิคิวต์ SQL

  9. ตัวอย่างโปรแกรมเชื่อมต่อฐานข้อมูลตัวอย่างโปรแกรมเชื่อมต่อฐานข้อมูล <% 'ติดต่อฐานข้อมูลด้วย ObjDB 'ใช้เมธอด Open เพื่อติดต่อฐานข้อมูล Microsoft Access โดยใช้ DSN ชื่อ Bookshop Set ObjDB=Server.CreateObject("ADODB.Connection") ObjDB.Open "DRIVER={Microsoft Access Driver (*.mdb)}; DBQ="& Server.mappath("bookshop.mdb") 'ออปเจ็กต์ Recordset ชื่อ ObjRS 'โดยออบเจกต์ ObjRS จะดึงข้อมูลจาก ObjDB โดยอยู่ภายใต้เงื่อนไขคำสั่ง Sql Sql="Select * From Book" Set ObjRS=Server.CreateObject("ADODB.Recordset") Set ObjRS = ObjDB.Execute (Sql) ……..

  10. Property ของ Object Recordset • Property ของ Object Recordset ที่ใช้เปลี่ยนคำสั่งดึงข้อมูลจากฐานข้อมูล BOFตำแหน่งเริ่มต้นของไฟล์ EOF ตำแหน่งสุดท้ายของไฟล์ Name ชื่อฟิลด์ RecordCount จำนวนเรคคอร์ดทั้งหมด FieldsCount จำนวนฟีลด์ทั้งหมด Value ข้อมูลในฟิลด์นั้น

  11. Method ของ Object Recordset Method ที่ใช้ Open เปิดเรคคอร์ดแรก Close ปิดเรคคอร์ด AddNew เพิ่มเรคคอร์ด Delete ลบเรคคอร์ด Update แก้ไขข้อมูลในเรคคอร์ด MoveNext ย้ายพอยท์เตอร์ไปยังเรคคอร์ดถัดไป

  12. การอ่านข้อมูลและแสดงข้อมูลการอ่านข้อมูลและแสดงข้อมูล 1 พิมพ์หัวรายงาน 2 ติดต่อฐานข้อมูล และ สร้าง Object เพื่อดึงข้อมูล 3 พิมพ์หัวตาราง (ชื่อคอลัมน์) 4 พิมพ์ข้อมูลใน Recordset ทีละเรคคอร์ด 5 เลื่อนไปยังเรคคอร์ดถัดไป โดยใช้ MoveNext 6 เมื่อหมดข้อมูลให้พิมพ์ท้ายตาราง 7 ปิดการติดต่อฐานข้อมูล ดูตัวอย่าง ex10_01.asp

  13. การเพิ่มข้อมูล 1 พิมพ์หัวเรื่อง 2 สร้างแบบฟอร์มกรอกข้อมูล 3 ตรวจสอบการกรอกข้อมูลไม่ครบ 4 ติดต่อฐานข้อมูล 5 บันทึกลงในฐานข้อมูล 6 ปิดการติดต่อฐานข้อมูล ดูตัวอย่าง ex10_02.asp

  14. การตรวจสอบการส่งข้อมูลการตรวจสอบการส่งข้อมูล 1 ถ้าคลิกปุ่ม Add โดยไม่ได้กรอกข้อมูล หรือกรอกไม่ครบ ให้แสดงข้อความว่า “โปรดกรอกข้อมูลให้ครบ 2 ถ้าเพิ่มข้อมูลในฐานข้อมูลเสร็จแล้ว ให้แสดงข้อความว่า “เพิ่มข้อมูลให้แล้ว” และถามว่า จะเพิ่มอีก หรือจะหยุด หรือจะดูข้อมูล

  15. การสืบค้นข้อมูล 1 พิมพ์หัวเรื่อง 2 สร้างฟอร์มใส่ข้อมูลสืบค้น โดยระบุว่าเป็นฟิลด์ใด 3 ตรวจสอบการกรอกข้อมูลไม่ถูกต้อง 4 ติดต่อฐานข้อมูล 5 เปรียบเทียบข้อมูลสืบค้นกับข้อมูลในฐานข้อมูล ถ้าพบข้อมูล ให้แสดงข้อมูลนั้น ถ้าไม่พบ ให้พิมพ์ข้อความว่า “ไม่พบข้อมูลที่ต้องการ” 6 ปิดการติดต่อฐานข้อมูล ดูตัวอย่าง ex10_03.asp

  16. การแก้ไขข้อมูล 1 พิมพ์หัวเรื่อง 2 สร้างฟอร์มใส่ข้อมูลที่ต้องการแก้ไข 3 ตรวจสอบการกรอกข้อมูลไม่ถูกต้อง 4 ติดต่อฐานข้อมูล 5 เปรียบเทียบข้อมูลสืบค้นกับข้อมูลในฐานข้อมูลถ้าไม่พบ ให้พิมพ์ข้อความว่า “ไม่พบข้อมูลที่ต้องการ” ถ้าพบข้อมูล ให้แสดงข้อมูลนั้น และเขียนข้อมูลใหม่ทับ 6 ปิดการติดต่อฐานข้อมูล ดูตัวอย่าง ex10_04.asp และ ex10_05.asp

  17. การลบข้อมูล 1 พิมพ์หัวเรื่อง 2 สร้างฟอร์มใส่ข้อมูลที่จะลบ 3 ตรวจสอบการกรอกข้อมูลไม่ถูกต้อง 4 ติดต่อฐานข้อมูล 5 เปรียบเทียบข้อมูลสืบค้นกับข้อมูลในฐานข้อมูล ถ้าไม่พบ ให้พิมพ์ข้อความว่า “ไม่พบข้อมูลที่ต้องการ” ถ้าพบข้อมูล ให้แสดงข้อมูลนั้น และลบข้อมูลเรคอร์ดนั้น 6 ปิดการติดต่อฐานข้อมูล ดูตัวอย่าง ex10_06.asp และ ex10_07.asp

  18. The End

More Related