410 likes | 634 Views
Australian Model. การอธิบายด้วยสมการ การอธิบายด้วยกราฟ กรณีของประเทศไทย. สมการใน Australian Model. A คือ Domestic Absorption. ตัวแปรใน Australian Model. RER = Real Exchange Rate. e = nominal exchange rate. ราคาของ Tradables ในสกุลเงินตรา ตปท.
E N D
Australian Model การอธิบายด้วยสมการ การอธิบายด้วยกราฟ กรณีของประเทศไทย
สมการใน Australian Model A คือ Domestic Absorption
ตัวแปรใน Australian Model RER = Real Exchange Rate e = nominal exchange rate ราคาของ Tradables ในสกุลเงินตรา ตปท ราคาของ Nontradables ในสกุลเงินตราของตน
สมการใน Australian Model Internal Balance External Balance NCI = net capital inflow
กราฟแสดง Australian Model RER=e PT*/PN EB overemployment RER unemployment B a a A BOP surplus RER BOP deficit IB a=A/PN 0
กราฟแสดง Australian Model RER=e PT*/PN EB overemployment BOP surplus unemployment overemployment BOP surplus BOP deficit unemployment BOP deficit IB a=A/PN 0
RER=e PT*/PN EB o . IB a=A/PN 0
RER=e PT*/PN EB o . IB a=A/PN 0
RER=e PT*/PN EB RER 2 a 1 IB a=A/PN 0
RER=e PT*/PN EB 1 2 IB a=A/PN 0
EB RER=e PT*/PN EB’ 0 1 2 3 IB a=A/PN 0
EB RER=e PT*/PN EB’ 0 1 IB a=A/PN 0
นโยบายการเงินใน Australian Model จาก (M=M2) - ใช้เงินกับ Nontraded Gds เป็นสัดส่วน ของรายจ่ายทั้งหมด
นโยบายการเงินใน Australian Model - Supply เป็น function ของ RER
นโยบายการเงินใน Australian Model ที่ดุลยภาพ
นโยบายการเงินใน Australian Model - NCI คือ Foreign Borrowing อันเป็นทางเลือก ทางด้านนโยบาย - อุปสงค์ของสินค้าขึ้นกับ Real Balance (m=Ms/PN) - ดังนั้นนโยบายการเงินจะส่งผลต่อระดับของ Domestic Dem. โดยผ่าน Real Balance
กลไกการปรับตัวแบบอัตโนมัตกลไกการปรับตัวแบบอัตโนมัต MB = NFA + DC NFA= Foreign Exchange Reserves - Foreign Liability ของธนาคารกลาง (CB) - CB คุม MBไม่ได้ ถ้าคุม NFA ไม่ได้ - NFA ขึ้นกับปัจจัย เช่น ดุลการชำระเงินที่ส่งผล ต่อ Ms
กลไกการปรับตัวแบบอัตโนมัตกลไกการปรับตัวแบบอัตโนมัต - รัฐบาลสามารถคุม MB ได้เต็มที่หรือไม่ ได้ ถ้ารัฐบาลคุมเศรษฐกิจให้มีดุลชำระเงินสมดุลตลอด - การสมดุลของ BOP จะเกิดขึ้นเมื่อ - ปล่อย e ให้ลอยตัวอย่างอิสระ - fixe ให้อยู่ในระดับที่ BOP สมดุลตลอด
กลไกการปรับตัวแบบอัตโนมัตกลไกการปรับตัวแบบอัตโนมัต - ถ้าทำได้ ก็เท่ากับว่า คุม NFA ได้ ซึ่งเท่ากับว่าคุม Ms ได้ - แต่ที่สำคัญคือ รัฐบาลคุมได้แค่ e หรือ Ms (โดยผ่าน BOP)
กลไกการปรับตัวแบบอัตโนมัตกลไกการปรับตัวแบบอัตโนมัต - ในระบบ e คงที่ - ราคาของ Traded Gds กำหนดโดย ตปท - BOP และดังนั้น NFA ถูกกำหนดในระบบ - Msจึงถูกกำหนดในระบบ รัฐบาลคุม Msไม่ได้ - ในระบบที่ e ลอยตัว - รัฐบาลคุม M-stock ได้ - ราคาของ Traded Gds ผันผวนตาม e Bop ได้ดุลตลอด
กลไกการปรับตัวแบบอัตโนมัตกลไกการปรับตัวแบบอัตโนมัต - สมมุติว่า DCgเพิ่ม ทำให้ Msเพิ่ม - ถ้าMdไม่เพิ่มในสัดส่วนเดียวกัน ตัวแปรที่จะนำพา Ms ที่เพิ่มขึ้นให้กลับมาเท่ากับMd ก็คือ BOP โดยที่ เงินจะไหลออก ผ่านการขาดดุล BOP จนกระทั่ง ms=md กลไกการปรับตัวแบบอัตโนมัต
นโยบายการเงินใน Swan Diagram - Automatic Adjustment Mechanism ใน Swan Diagram
นโยบายการเงินใน Swan Diagram - สมการที่เชื่อมระหว่าง BOP กับ Ms ด้านขวามือจะเท่ากับสภาวะของ BOP Stock ของ NFA จะเปลี่ยน - ถ้า โดยผ่านการสะสม หรือการยุบลงของสำรองเงิน ตราต่างประเทศ
นโยบายการเงินใน Swan Diagram RER=e PT*/PN EB BOP surplus BOP deficit 0 1 RER0 IB m=M/PN m1 0 m0
นโยบายการเงินใน Swan Diagram ผลของนโยบายการเงินแบบขยายตัว -Msเพิ่มจาก m0ไป m1 โดยการขยาย DC - ผลคือ เศรษฐกิจขยับจากจุด 0 ไปที่ 1 เกิด BOP def เศรษฐกิจถอยในแนวราบจากจุด 1
นโยบายการเงินใน Swan Diagram - Excess Supply of Money จะถูกขจัดไป จน m ลดเหลือ m0ได้ดุลยภาพที่จุด 0 อีกครั้ง - m มีเท่าเดิม แต่มีการเปลี่ยนแปลงใน องค์ประกอบ โดยมี DC มากขึ้น แต่ NFA ลดลง เนื่องจากขาดดุล BOP
Time Path Reserve เพิ่ม Msที่ t0 time 0 t0 t1
Time Path 2 BOP เพิ่ม Msที่ t0 + 0 - time 0 t0 t1
Time Path 3 Ms เพิ่ม Msที่ t0 time 0 t1 t0
ผลของการลดค่าเงิน RER=e PT*/PN EB 2 R1 3 Ro 1 IB m=M/PN o PN Fixed
ผลของการลดค่าเงิน RER=e PT*/PN EB 2 3 5 4 1 IB m=M/PN o PN Flexible
ผลของการลดค่าเงิน - กรณี PN Fixed • การลดค่าเงินจะพระบบ ศก ออกจาก จุ ด 1 มี BOP • เกินดุล ทำให้ Ms เพิ่ม • ระบบ ศก เคลื่อนตัวไปที่จุด 2 บน EB • ที่จุด 2 มีแรงกดดันของเงินเฟ้อ เพราะมี overemploy • ถ้าไม่มีการปรับลด e ระบบ ศก จะอยู่นอกดุล IB ได้ • ระยะหนึ่ง ถ้า PNปรับตัวสูงขึ้นไม่ได้ทันที • แต่ไม่ค่อยพบกรณีเช่นนี้ เพราะ PNจะปรับสูงขึ้น
ผลของการลดค่าเงิน - กรณี PN flexible • การลดค่าเงินทำให้ ศก เคลื่อนจาก 1 ไป 2 มี BOP> o • จึงค่อย ๆ เคลื่อนไปอยู่ที่ 2 บน EB • PNเพิ่ม ศก เคลื่อนออกจาก 2 ในทิศที่ วิ่งเข้าสู่จุด • origin ด้วยแรงกดดันทาง RER และ Real Money • Balance • Inflation จะอยู่จนกระทั่ง ศก มาอยู่ที่จุดที่ 3 บน IB • เพราะ มี BOP>o ทำให้ Msเพิ่ม เกิด inflation pressure • PNเพิ่มต่อเนื่อง
ผลของการลดค่าเงิน • ถ้า PN flexible ไม่มาก ศก จะเคลื่อนตัวต่อไปที่จุด 5 • เหตุการณ์จะเกิดสลับกันจะกระทั่งได้ดุลยภาพ • ทั้งภายในและภายนอก ที่จุด 0 • ผลคือ การเพิ่มในทุกระดับราคา ทำให้เกิด Money • Neutralkty โดยที่ระดับตัวแปรแท้จริงไม่เปลี่ยน • แปลง • นี่เองเป็นเหตุให้ Ron Mckinnon และ Bob Mundell • เสนอว่า • การลดค่าเงิน เป็นเครื่องมือที่ไร้ค่า
ผลของการลดค่าเงิน • แต่นั่นก็เป็นข้อสรุปของกรณี PN flexible เนื่องจาก • ถ้าตลาดแรงงานปรับตัวได้ดี + PN perfectly flexible • ระบบ ศก จะได้ดุล IB ตลอดเวลา หากเป็นเช่นนี้ เรา • สามารถให้ e คงที่ และให้ Auto. Adj. Mechanism (AAM) • ดูแล EB • แต่เพราะ PNไม่ flexible เราจึงพึ่ง AAM ไม่ได้ แสดงว่า • การลดค่าเงิน มีผลต่อ Real Economy คือ ไม่เกิด • Complete Pass Through ของการลดค่าเงิน
ตัวอย่างการปรับตัว 1 RER=e PT*/PN EB 2 1 IB m=M/PN o
เริ่มจากจุดที่ 1 ที่มี inflation + BOP deficit ตัวอย่างการปรับตัว 1 • AAM ทำให้เกิดการลดลงใน NFA และ M2 • ศก มุ่งสู่จุด 2 ที่มีการว่างงานมากมาย • ถ้า PNลดลง ศก จะเกิดแรงขับเคลื่อนสู่ดุลภาพ • ภายใน (IB) • ตามความเป็นจริง ศก จะมีระดับราคาที่อ่อนไหว • พอที่จะทำให้ศก เข้าสู่สุลยภาพบน EB ระหว่าง • จุด 2 และดุลยภาพคู่ • การลดค่าเงินยังคงจำเป็นที่จะนำ ศก สู่ดุลยภาพคู่
ตัวอย่างการปรับตัว 2 RER=e PT*/PN 2 EB PN เพิ่ม 1 IB Mo/PNo m=M/PN o Mo/PN2
ตัวอย่างการปรับตัว 2 • e เพิ่ม ที่จุด 0 เกิด BOP surplus • ถ้ารัฐ sterilize การเพิ่มใน NFA • NFA เพิ่ม แสดงว่า DC ต้องลด • นั่นหมายถึง ธ.กลาง ต้องขาย Domestic Assets เช่น • Gov’t Bond แต่จะทำได้ชั่วขณะ • ไม่นานนัก M2 จะเพิ่ม ทำให้PNเพิ่มในที่สุด