210 likes | 525 Views
KPI กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข. ภญ . นฤ มล ขันตีกุล วันที่ 8 พฤศจิกายน 2556. อย. ปชช . ได้บริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพและปลอดภัย. ร้อยละ 94 ของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด
E N D
KPIกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุขKPIกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข ภญ.นฤมล ขันตีกุล วันที่ 8 พฤศจิกายน 2556
อย. ปชช.ได้บริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพและปลอดภัย • ร้อยละ 94 ของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด • ร้อยละ 95 ของสถานประกอบการด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้รับมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด
สนับสนุนนโยบายอาหารปลอดภัยสนับสนุนนโยบายอาหารปลอดภัย 3. ร้อยละ 70 ของเกลือบริโภคเสริมไอโอดีน ณ สถานที่ผลิต ผ่านมาตรฐานตามประกาศฯ กำหนด (20-40 ppm) 4.นมโรงเรียน 4.1 ร้อยละ 100 ของสถานที่ผลิตนมโรงเรียนได้รับการตรวจสอบตามเกณฑ์ GMP 4.2 ร้อยละ 95 ของนมโรงเรียน ณ สถานที่ผลิตมีคุณภาพผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามประกาศ
สนับสนุนนโยบายอาหารปลอดภัยสนับสนุนนโยบายอาหารปลอดภัย 5.ก๋วยเตี๋ยว 5.1 ร้อยละ 100 ของสถานที่ผลิตเส้นก๋วยเตี๋ยว ได้รับการตรวจตามเกณฑ์ GMP 5.2 ร้อยละ 85 ของผลิตภัณฑ์เส้นก๋วยเตี๋ยว ณ สถานที่ผลิตมีปริมาณวัตถุกันเสีย เป็นไปตามประกาศกระทรวงฯ ฉบับที่ 281 เรื่องวัตถุเจือปนอาหาร
สนับสนุนนโยบายอาหารปลอดภัยสนับสนุนนโยบายอาหารปลอดภัย 6. Primary GMP 6.1 ร้อยละ 75 ของผู้ประกอบการอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่ายที่มายื่นได้รับอนุญาตตามเกณฑ์ Primary GMP 6.2 ร้อยละ 100 การเกิดทีม primary GMP ระดับอำเภอ ในอำเภอที่มีสถานประกอบการแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่ายของจังหวัด
สถานประกอบการด้านยา 7. ร้อยละ 80 ของร้านขายยาแผนปัจจุบันมีการจำหน่ายยากลุ่มเสี่ยงปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมาย • ยากลุ่มเสี่ยง มี 5 รายการ คือ สเตียรอยด์/ยาน้ำแก้ไอ/Sildennafil/Tramadol และSalbultsmol • การปฏิบัติถูกต้องตากฎหมาย หมายถึง 1) ไม่พบการจำหน่ายยาอันตราย/ยาควบคุมพิเศษในขณะที่เภสัชกรไม่อยู่ปฏิบัติหน้าที่ 2) ไม่พบข้อบกพร่องด้านการจำหน่ายยากลุ่มเสี่ยง ตามกฎหมายกระทรวงฉบับที่ 15
ความปลอดภัยเรื่องเครื่องสำอางความปลอดภัยเรื่องเครื่องสำอาง (Cosmetic safety) • 8.ร้อยละ 80 ของเครื่องสำอางที่วางจำหน่ายเป็นเครื่องสำอางที่ถูกต้อง • “เครื่องสำอางถูกต้อง” หมายถึง • ไม่เป็นเครื่องสำอางที่ผสมสารห้ามใช้ ตามที่สำนักงานคณะกรรม การอาหารและยาได้มีการประกาศผลการตรวจสอบ และจัดทำเอกสาร แผ่นพับ เผยแพร่แล้ว • ไม่เป็นเครื่องสำอางที่มีรายชื่อตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง กำหนดชื่อเครื่องสำอางที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือขาย ลงวันที่ 31 มีนาคม 2552 และ 16 ตุลาคม 2552 จำนวน 34 รายการ • เครื่องสำอางที่มีฉลากภาษาไทยครบถ้วนถูกต้อง
การควบคุมตัวยาและสารตั้งต้นการควบคุมตัวยาและสารตั้งต้น 9. ร้อยละ 97 ของสถานประกอบการเกี่ยวกับวัตถุเสพติดที่ใช้ในทางการแพทย์ดำเนินการถูกต้องตามกฎหมาย • ผู้รับอนุญาตวัตถุเสพติด หมายถึง สถานพยาบาล และร้านขายยา • สถานพยาบาล หมายถึง สถานพยาบาลตามคำนิยามของ พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ.2541 ทั้งภาครัฐและเอกชน • ร้านขายยา หมายถึง สถานที่ขายยาแผนปัจจุบัน(ชย.1), สถานที่ขายยาแผนปัจจุบันบรรจุเสร็จ (ขย.2) สถานที่ขายยาแผนปัจจุบันบรรจุเสร็จสำหรับสัตว์ (ขย.3) และสถานที่ขายยาแผนโบราณ (ขย.บ)
ยกระดับคุณภาพสถานที่ผลิตยกระดับคุณภาพสถานที่ผลิต และผลิตภัณฑ์สุขภาพชุมชนให้ได้มาตรฐาน 10. ผลิตภัณฑ์สุขภาพชุมชน 10.1 ร้อยละ 91 ผลิตภัณฑ์สุขภาพชุมชนมีคุณภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด 10.2 ร้อยละ 80 สถานที่ผลิตผลิตภัณฑ์สุขภาพชุมชนดำเนินการถูกต้อง ตามเกณฑ์ที่กำหนด
การจัดการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ผิดกฎหมายตามสื่อต่างๆ เช่น วิทยุชุมชน สื่อสิ่งพิมพ์ 11.จำนวนคลื่นวิทยุชุมชนกลุ่มเสี่ยงที่ผ่านการเฝ้าระวัง 1 อำเภอ 1 คลื่น (คลื่นวิทยุชุมชนสามารถซ้ำกันได้ในแต่ละอำเภอ)
การจัดการเรื่องร้องเรียน******การจัดการเรื่องร้องเรียน****** 12.ร้อยละ 98 ของจำนวนข้อร้องเรียนของผู้บริโภคได้รับการแก้ไขภายในระยะเวลาที่กำหนด
ผู้บริโภคได้รับความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้องผู้บริโภคได้รับความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้อง 13. อย.น้อย 13.1 ร้อยละสถานศึกษาในจังหวัดที่ดำเนินกิจกรรม อย.น้อย - โรงเรียนมัธยมศึกษาร้อยละ70 - โรงเรียนประถมศึกษาขยายโอกาสร้อยละ 50 - โรงเรียนประถมศึกษาร้อยละ 15 13.2 ร้อยละ 30 สถานศึกษาในจังหวัดที่ดำเนินกิจกรรม อย.น้อย ที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียน อย.น้อย ในระดับดีขึ้นไป
การขับเคลื่อนงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพหรืออาหารปลอดภัย ลงสู่ รพ.สต. 14. ร้อยละ 60 ของ รพ.สต. ที่ดำเนินงาน คบส. ตามเกณฑ์ที่กำหนด รพ.สต.ที่ดำเนินงาน คบส. ตามเกณฑ์ที่กำหนด หมายถึง รพ.สต.ที่มีการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพตามเกณฑ์อย่างน้อย 2 ใน 4 เกณฑ์ตามที่ อย. กำหนด
การขับเคลื่อนงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพหรืออาหารปลอดภัย ลงสู่ รพ.สต. เกณฑ์การดำเนินงาน คบส. ของ รพ.สต.4 เกณฑ์ 1. รวบรวม และจัดทำฐานข้อมูลที่สำคัญในพื้นที่ชุมชน เช่น สถานที่จำหน่าย สถานที่ผลิต ร้านค้า รถเร่ ตลาดนัด เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการตรวจสอบ และเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน 2. ตรวจสอบฉลาก การแสดงสรรพคุณบนฉลาก ลักษณะทางกายภาพของผลิตภัณฑ์ (สี และกลิ่น) ตลอดจนความเหมาะสมของบรรจุภัณฑ์และการเก็บรักษา 3. เฝ้าระวังการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีข้อความบ่งบอกถึงความ โอ้อวดเกินจริงและอาจเกิดอันตราย ตามเคเบิ้ลทีวี วิทยุชุมชน หนังสือพิมพ์ วารสาร แผ่นพับ และโบว์ชัว 4. เพิ่มองค์ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่มีผลต่อสุขภาพในเรื่องการเลือกซื้อเลือกบริโภคที่ถูกต้อง และขั้นตอนการติดตาม ตรวจสอบเฝ้าระวัง ตลอดจนการจัดการกับผลิตภัณฑ์ต่างๆ ให้แก่ กลุ่ม อสม. ครู/นักเรียน อย. น้อย กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มเยาวชน และผู้นำชุมชน เป็นต้น
การถ่ายโอนภารกิจงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพให้แก่ อปท.(เทศบาล) 15.ร้อยละ 40 ของเทศบาลที่มีการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด
การถ่ายโอนภารกิจงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพให้แก่ อปท.(เทศบาล) เทศบาลที่ดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ หมายถึง เทศบาลที่มีการจัดทำแผนการปฏิบัติงาน/ โครงการ/ กิจกรรม หรือดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ตามภารกิจที่ระบุไว้ในแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ อย่างน้อย 1 ใน 4 ภารกิจ ดังต่อไปนี้ 1) ผลิตสื่อและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ 2) เสริมสร้างศักยภาพผู้บริโภคทั้งด้านความรู้ในการบริโภคและเรียกร้องสิทธิอันชอบธรรม 3) สร้างและขยายเครือข่ายการมีส่วนร่วมในงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ของผู้บริโภคในท้องถิ่น 4) ดำเนินการ หรือร่วมดำเนินการ ตรวจสอบ ควบคุม กำกับ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ณ สถานที่จำหน่าย
กรมสนับสนุนบริการ 16.ร้อยละ 100 ของสถานพยาบาลเอกชน/สถานประกอบการเพื่อสุขภาพ ได้คุณภาพมาตรฐานตามกฎหมาย สถานพยาบาลเอกชน : คลินิกและ รพ.เอกชน ได้คุณภาพมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนด มาตรฐานตามกฎหมายของกระทรวงสาธารณสุข + มาตรฐานHA (Hospital Accreditation) จากสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล หรือมาตรฐาน JCI (Joint commission International Accredited)
การพัฒนาระบบบริหารจัดการ******การพัฒนาระบบบริหารจัดการ****** 17.ต้นทุนค่ายา ค่าวัสดุนั้นๆที่มีการจัดซื้อเมื่อเปรียบเทียบกับมูลค่าการจัดซื้อปีก่อนลดลงอย่างน้อยร้อยละ 10 - ค่ายา - ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์(Lab) - วัสดุทันตกรรม - เวชภัณฑ์มิใช่ยา - ค่าวัสดุเอกซ์เรย์