1 / 27

Book Hunter แอพพลิเคชั่นชี้ตำแหน่งจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศใน ห้องสมุด

Book Hunter แอพพลิเคชั่นชี้ตำแหน่งจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศใน ห้องสมุด. กิตติ ศักดิ์ แก้วเนียม หอสมุดจอห์น เอฟ เคน เนดี้ สำนัก วิทย บริการ ม . อ . ปัตตานี PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4.

lynne
Download Presentation

Book Hunter แอพพลิเคชั่นชี้ตำแหน่งจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศใน ห้องสมุด

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Book Hunterแอพพลิเคชั่นชี้ตำแหน่งจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด กิตติศักดิ์ แก้วเนียม หอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ สำนักวิทยบริการ ม.อ.ปัตตานี PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4

  2. “Book Hunter นวัตกรรมบริการในลักษณะ โมบายส์แอพพลิเคชั่นที่อำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้บริการในการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศภายในห้องสมุดอย่างรวดเร็ว โดยการชี้ตำแหน่งจัดเก็บให้ทราบ รองรับการทำงานผ่านสมาร์ทโฟนแท็บเล็ต และอุปกรณ์สื่อสารไร้สายที่ขับเคลื่อนด้วยระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android)”

  3. หัวข้อการนำเสนอ • บทนำ • วัตถุประสงค์ • ขั้นตอนและวิธีดำเนินการ • ผลการศึกษา ปัญหาและข้อเสนอแนะ • ถาม-ตอบ

  4. ปัญหาการเข้าถึงตัวเล่มบนชั้นปัญหาการเข้าถึงตัวเล่มบนชั้น บทนำ • ขาดทักษะด้านการสืบค้นสารสนเทศ • ไม่รู้ตำแหน่งสถานที่จัดเก็บทรัพยากรแต่ละประเภท • ยังไม่คุ้นชินกับหมวดหมู่ระบบทศนิยม Dewey และการจัดเรียงทรัพยากรบนชั้น • อื่น ๆ

  5. การแก้ไขปัญหา บทนำ • จัด อบรมทักษะการสืบค้นสารสนเทศ • เปิด บริการช่วยค้นหาตัวเล่มหนังสือจากชั้น มีผู้ใช้บริการเฉลี่ยประมาณ 20-30 ราย/วัน • PR Services สำรวจ/สังเกตการณ์ พฤติกรรมการใช้สารสนเทศของผู้ใช้บริการ เข้าช่วยเหลือให้คำแนะนำ

  6. -บริการช่วยค้นหาตัวเล่มหนังสือจากชั้น--บริการช่วยค้นหาตัวเล่มหนังสือจากชั้น-

  7. วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ • เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยเหลือผู้ใช้ในการค้นหาทรัพยากรสารสนเทศบนชั้นของหอสมุดฯ ได้อย่างสะดวกรวดเร็ว • อำนวยความสะดวกแก่บุคลากรในการแนะนำการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศบนชั้นได้อย่างเห็นภาพ โดยไม่ต้องไปยังตำแหน่งจัดเก็บ • พัฒนารูปแบบ e-Services ของห้องสมุดที่ให้บริการผ่านอุปกรณ์ Smart Devices • เป็นหนึ่งในวิธีการให้การศึกษาแก่ผู้ใช้บริการ

  8. กระบวนการพัฒนา Book Hunter • 1. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างเลขเรียกหนังสือ ประเภททรัพยากรสารสนเทศ และการจัดเรียงทรัพยากร บนชั้น – บรรณารักษ์และ จนท. จัดชั้น • 2. การออกแบบแผนผังแสดงตำแหน่งจัดเก็บทรัพยากร สารสนเทศ – นายช่างหัวหน้าอาคาร • 3. การพัฒนาแอพพลิเคชั่น – นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ขั้นตอนและวิธีดำเนินการ

  9. ความสัมพันธ์ระหว่างเลขเรียก ประเภททรัพยากร และการขึ้นชั้น • การจัดเรียงทรัพยากรสารสนเทศบนชั้นจะเรียงลำดับตามเลขเรียกหนังสือ (เลขหมู่+เลขผู้แต่ง) จากน้อยไปหามาก • ทรัพยากรสารสนเทศแต่ละประเภทจะมีสถานที่จัดเก็บ (Location) แยกกันอย่างชัดเจน • ปัจจัยในการเข้าถึงตัวเล่มได้แก่ ประเภททรัพยากรสารสนเทศ, เลขหมู่, เลขผู้แต่ง -->> Input ขั้นตอนและวิธีดำเนินการ

  10. - การตรวจสอบเลขเรียกบนชั้นหนังสือ -

  11. ออกแบบแผนผังแสดงตำแหน่งจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ • แผนผังต้องมีความละเอียดและใกล้เคียงกับความเป็นจริง • ชั้นหนังสือ 1 แถว มีหลายบล็อก แต่ละบล็อกมีหลายชั้น ขั้นตอนและวิธีดำเนินการ บล็อก5 - Top View - 1 2 3 4 5 6 แถว 1 ตัวอย่าง ทรัพยากรถูกจัดเก็บที่ แถว 1 บล็อก 5 ชั้น 3 - Front View -

  12. ออกแบบแผนผัง (ต่อ) • แม้การแสดงมุมมอง Top View ควบคู่ Front View จะสามารถระบุตำแหน่งจัดเก็บได้อย่างชัดเจน แต่- ฐานข้อมูลจะมีขนาดโตขึ้นและทำงานหนักขึ้น - จำนวนแผนที่มากขึ้น- แอพพลิเคชั่นมีขนาดใหญ่ขึ้น • แสดงแผนที่ในมุมมอง Top View อย่างเดียว โดยใช้ แถบสีแดงเป็นสัญลักษณ์บ่งบอก “บล็อก” หรือ “ช่วงเลขเรียก” ที่ทรัพยากรสารสนเทศจัดเก็บอยู่เมื่อถูกนำขึ้นชั้นบริการ ขั้นตอนและวิธีดำเนินการ

  13. ออกแบบแผนผัง (ต่อ) ขั้นตอนและวิธีดำเนินการ - ตัวอย่างแผนผังที่ใช้งานในแอพพลิเคชั่น -

  14. - ภาพชั้นหนังสือจริงที่ปรับให้สอดคล้องกับแอพพลิเคชั่น -

  15. การพัฒนาแอพพลิเคชั่น • พัฒนาด้วย Eclipse • “ค้นหา-ตรวจสอบ-แสดงผล” โดยรับ Input ประเภททรัพยากรสารสนเทศ, เลขหมู่, เลขผู้แต่ง • มีฐานข้อมูลจัดเก็บ - ลำดับแถว, ลำดับบล็อก- ช่วงเลขเรียกหนังสือเริ่มต้น/สิ้นสุดประจำบล็อก • ส่งค่าลำดับแถวและลำดับบล็อกกลับมาเลือกแผนผังที่สอดคล้อง และแสดงผลให้ผู้ใช้ทราบ ขั้นตอนและวิธีดำเนินการ

  16. ตัวอย่างข้อมูลที่จัดเก็บตัวอย่างข้อมูลที่จัดเก็บ ขั้นตอนและวิธีดำเนินการ

  17. Version 1.0.0 • ทำงานบนอุปกรณ์ Android 3.0 (API 11) ขึ้นไป • ไม่ต้องการการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต (Standalone) • ขอบเขตความสามารถ- รองรับการชี้ตำแหน่งหนังสือทั่วไปภาษาไทย (General Collection) หมวด 000-999 ปีพิมพ์ 2536 – ปัจจุบัน- แสดงแผนผังแบบ 2 มิติ ผลการศึกษา ปัญหาและข้อเสนอแนะ

  18. ตัวอย่างหน้าจอ Book Hunter v.1.0.0 ผลการศึกษา ปัญหาและข้อเสนอแนะ (1) หน้าจอการติดตั้งแอพพลิเคชั่น (2) ผลการติดตั้ง

  19. ตัวอย่างหน้าจอ (ต่อ) ผลการศึกษา ปัญหาและข้อเสนอแนะ (3)หน้าแรกของแอพพลิเคชั่น (4) การระบุประเภททรัพยากร

  20. ตัวอย่างหน้าจอ (ต่อ) ผลการศึกษา ปัญหาและข้อเสนอแนะ (5) การป้อนเลขหมู่ (6)การป้อนเลขผู้แต่ง

  21. ตัวอย่างหน้าจอ (ต่อ) ผลการศึกษา ปัญหาและข้อเสนอแนะ (7) หน้าแสดงแผนผังตำแหน่งจัดเก็บ (8)การขยายแผนผัง

  22. Try-out • ทดลองกับกลุ่มตัวอย่างที่กำลังค้นหาหนังสือจากชั้น จำนวน 15 คน (ชาย 2 หญิง 13 ) พร้อมจับเวลา พบว่า- มีจำนวน 3 คน ใช้เวลา 1 นาที พบหนังสือที่ชั้น- มีจำนวน 5คน ใช้เวลา 2 นาที พบหนังสือที่ชั้น- มีจำนวน 3คน ใช้เวลา 3 นาที พบหนังสือที่ชั้น- มีจำนวน 4 คน ใช้เวลา 4 นาที ไม่พบหนังสือที่ชั้น ผลการศึกษา ปัญหาและข้อเสนอแนะ

  23. ความคิดเห็นที่มีต่อการใช้แอพพลิเคชั่นความคิดเห็นที่มีต่อการใช้แอพพลิเคชั่น ผลการศึกษา ปัญหาและข้อเสนอแนะ

  24. ปัญหาและข้อเสนอแนะจากผู้ใช้ปัญหาและข้อเสนอแนะจากผู้ใช้ • ชื่อแอพพลิเคชั่นควรมีความจำเพาะเจาะจงมากกว่านี้ เช่น “JFK Book Hunter” หรือ “Media Hunter” • ควรมีการติดสัญลักษณ์ Visual Control เพื่อให้ผู้ใช้ได้สังเกตเปรียบเทียบกับแผนผังที่แสดงในแอพพลิเคชั่น เช่น ป้ายบอกทิศในห้องสมุด • ในแถวชั้นหนังสือ ผู้ใช้บริการไม่แน่ใจว่าจะเริ่มต้นหาหนังสือจากบล็อกด้านไหนก่อน • แอพพลิเคชั่นช่วยให้หาหนังสือได้รวดเร็ว อยากให้ขยายการใช้แอพพลิเคชั่นนี้กับทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภท ทุก Location เนื่องจากมีประโยชน์ต่อผู้ใช้มาก ผลการศึกษา ปัญหาและข้อเสนอแนะ

  25. บทสรุปและทิศทางในอนาคตบทสรุปและทิศทางในอนาคต • Book Hunter มีประโยชน์ในลักษณะบอกตำแหน่งจัดเก็บของทรัพยากรสารสนเทศ แต่มิได้บอกว่าทรัพยากรสารสนเทศอยู่จุดไหนในเวลานั้น • ช่วยพัฒนาทักษะการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศบนชั้น ใน Location ต่าง ๆ แก่ผู้ใช้จนเกิดความชำนาญ • ขยายความสามารถให้รองรับการชี้ตำแหน่งของทรัพยากรประเภทอื่น ๆ เพิ่มมากขึ้น • การจัดการปริมาณภาพแผนผังที่เพิ่มขึ้น, ความคมชัด • ทำงานได้หลายแพลตฟอร์ม (iOS, Windows Phone) ผลการศึกษา ปัญหาและข้อเสนอแนะ

  26. บทสรุปและทิศทางในอนาคต (ต่อ) • การขยายหรือลดชั้นหนังสือ มีผลโดยตรงต่อฐานข้อมูลและแผนผังตำแหน่งจัดเก็บ • การเข้ามาของ RFID จะเพิ่มความสามารถให้แอพพลิ-เคชั่นตรวจจับตำแหน่งที่อยู่ของหนังสือแบบ RealTime ได้หรือไม่ (แก้ปัญหาหนังสือไม่อยู่ที่ชั้น, การซ่อนหนังสือของผู้ใช้บริการ) ผลการศึกษา ปัญหาและข้อเสนอแนะ

  27. ถาม-ตอบ • ซักถาม ข้อเสนอแนะ • แลกเปลี่ยนความรู้ ถาม-ตอบ

More Related