1 / 42

การประชุมเชิงปฏิบัติการ

แนวทางการจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์. การประชุมเชิงปฏิบัติการ. วันที่ 29 มกราคม 2557 ณ แพน เธอร์ครีค รี สอร์ท อ. ปากช่อง จ. นครราชสีมา. โดย สำนักพัฒนาระบบบริหาร สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์. การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556.

Download Presentation

การประชุมเชิงปฏิบัติการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการจัดทำรายงานการควบคุมภายในของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แนวทางการจัดทำรายงานการควบคุมภายในของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การประชุมเชิงปฏิบัติการ วันที่ 29 มกราคม 2557 ณ แพนเธอร์ครีค รีสอร์ท อ. ปากช่อง จ. นครราชสีมา โดย สำนักพัฒนาระบบบริหาร สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

  2. การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 • หลักการดำเนินงาน ระบบการควบคุมภายในของ สตง. และ การสอบทานรายงานการควบคุมภายในของ สนง.ก.พ.ร. • แนวทางการดำเนินงาน ระบบการควบคุมภายในของ กษ. • แบบรายงานการควบคุมภายใน ของ สตง.

  3. หลักการดำเนินงาน ระบบการควบคุมภายในของ สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน การสอบทานรายงานการควบคุมภายใน ของ สำนักงาน ก.พ.ร.

  4. ความเป็นมา ปี พ.ศ. 2544 ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 ข้อ 6 กำหนดให้หน่วยงานจัดทำรายงานเกี่ยวกับการควบคุมภายในเสนอต่อ ค.ต.ง. อย่างน้อย 1 ครั้ง ภายใน 90 วัน นับจากวันสิ้นปีงบประมาณ หรือปีปฏิทิน ปี พ.ศ. 2552 สตง. จัดทำแนวทางการจัดทำรายงานโดยปรับลดแบบฟอร์มและรูปแบบการจัดทำรายงาน http://www.oag.go.th/internet/Download/DownloadControlServlet

  5. ความหมายและวัตถุประสงค์ความหมายและวัตถุประสงค์ ความหมาย กระบวนการในการปฏิบัติงานที่ผู้กำกับดูแล ฝ่ายบริหาร และบุคลากรของหน่วยงานจัดให้มีขึ้น เพื่อสร้างความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่า การดำเนินงานของหน่วยงานจะบรรลุ วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เกิดประสิทธิผลและประสิทธิภาพ (Operation Objectives) : O ของการดำเนินงาน 2. เพื่อให้เกิดความเชื่อถือได้ของรายงานทางการเงิน (Financial Objectives) : F 3. เพื่อให้เกิดการปฏิบัติตามกฎหมายและ (Compliance Objectives) : C ระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง

  6. องค์ประกอบการควบคุมภายในองค์ประกอบการควบคุมภายใน การติดตามประเมินผล สารสนเทศและการสื่อสาร กิจกรรมควบคุม การประเมินความเสี่ยง สภาพแวดล้อมการควบคุม

  7. สภาพแวดล้อมการควบคุม • สภาวการณ์หรือปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลให้เกิดระบบการควบคุมภายในหน่วยงาน • ความซื่อสัตย์และจริยธรรม • ปรัชญาและรูปแบบการบริหาร • โครงสร้างการจัดองค์กร • การมอบอำนาจและความรับผิดชอบ • นโยบายด้านทรัพยากรมนุษย์ • ความรู้ ทักษะ และความสามารถ • ผู้บริหารหรือคณะกรรมการตรวจสอบ

  8. การประเมินความเสี่ยง กระบวนการระบุปัจจัยเสี่ยง และวิเคราะห์ความเสี่ยงอย่างเป็นระบบในการตัดสินใจ รวมถึงการจัดลำดับความสำคัญว่าเหตุการณ์ใดหรือเงื่อนไขอย่างใดที่จะมีผลกระทบต่อการไม่บรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน ผลกระทบ โอกาสที่จะเกิด

  9. กิจกรรมควบคุม สารสนเทศและการสื่อสาร นโยบาย มาตรการ และวิธีการต่างๆ ที่ฝ่ายบริหารกำหนดหรือนำมาใช้ เพื่อลดความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น และช่วยเพิ่มความมั่นใจในความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ ซึ่งต้องคำนึงถึงต้นทุนกับประโยชน์ที่ได้รับ สารสนเทศ : ข้อมูลข่าวสารที่ใช้ในการบริหารซึ่งเป็นข้อมูลเกี่ยวกับการเงินและไม่ใช่การเงิน รวมทั้งข้อมูลข่าวสารอื่น ๆ ทั้งจากแหล่งภายในและภายนอก การสื่อสาร : การรับและส่งข้อมูลระหว่างกันเพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างบุคคล ซึ่งมีหน้าที่ความรับผิดชอบในงานที่สัมพันธ์กัน การสื่อสารจะเกิดได้ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน

  10. การติดตามและประเมินผลการติดตามและประเมินผล การติดตามผล หมายถึง การสอดส่องดูแลกิจกรรมที่อยู่ระหว่างการดำเนินงาน เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าการดำเนินงานเป็นไปตามระบบการควบคุมภายในที่กำหนด การประเมินผล หมายถึง การเปรียบเทียบผล การปฏิบัติงานกับระบบการควบคุมภายในที่กำหนดไว้ว่ามีความสอดคล้องหรือไม่ เพียงใด และสอบทานระบบการควบคุมภายในที่กำหนดไว้ว่ายังเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในปัจจุบันหรือไม่

  11. การตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการด้านการควบคุมภายในการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการด้านการควบคุมภายใน ปี พ.ศ. 2548 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ พ.ศ. 2548ได้กำหนดให้มีคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจำกระทรวง ทำหน้าที่สอบทานรายงานผลการดำเนินงานของส่วนราชการ คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจำกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ค.ต.ป. ประจำกระทรวง) กำหนดแนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการโดยให้ส่วนราชการสังกัดส่งรายงานการควบคุมภายในให้หน่วยงานที่ได้รับมอบหมายจากปลัดกระทรวง เพื่อจัดทำรายงานการควบคุมภายในภาพรวมกระทรวง ภายในวันที่ 30 ธันวาคม ของทุกปี ปี พ.ศ. 2555 สำนักงาน ก.พ.ร. ปรับปรุงคู่มือการสอบทานรายงานด้านการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง และให้เริ่มดำเนินการในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2555

  12. การสอบทานรายงานการควบคุมภายในตามคู่มือแนวทางการสอบทานและประเมินผลด้านการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงการสอบทานรายงานการควบคุมภายในตามคู่มือแนวทางการสอบทานและประเมินผลด้านการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง • ขอบเขตการสอบทาน • รอบ 6เดือน : เป็นการติดตามความก้าวหน้าตามแผนปรับปรุงการควบคุมภายใน • รอบ 12 เดือน : สอบทานการดำเนินงานตามมาตรฐานการควบคุมภายใน ตาม ระเบียบ สตง. • รูปแบบรายงานการสอบทาน • รอบ 6เดือน : รายงานผลการสอบทานและประเมินผลการควบคุมภายในและ การบริหารความเสี่ยงของกระทรวง..... ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. ....... • รอบ 12 เดือน : รายงานผลการสอบทานและประเมินผลการควบคุมภายในและ การบริหารความเสี่ยงของกระทรวง..... ปีงบประมาณ พ.ศ. .......

  13. แนวทางการดำเนินงาน ระบบการควบคุมภายใน ของ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

  14. คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานฯ ของ กระทรวง องค์ประกอบคณะทำงาน ผอ. สำนักตรวจสอบภายใน สป.กษ. ที่ปรึกษา ผอ. สำนักพัฒนาระบบบริหาร สป.กษ. ประธานคณะทำงาน นางสาวมาลินี สุทธิรัตน์ รองประธานคณะทำงาน สำนักพัฒนาระบบบริหาร สป.กษ. ผู้แทน ส่วนราชการในสังกัด กษ. คณะทำงาน เจ้าหน้าที่สำนักพัฒนาระบบบริหาร สป.กษ. เลขานุการ อำนาจหน้าที่ * อำนวยการและประสานการประเมินผล ทบทวนและปรับปรุงระบบการควบคุมภายใน จัดทำแผนปฏิบัติงานและประสานงานเพื่อติดตามการประเมินผลและปรับปรุงแก้ไขวิธีการควบคุมความเสี่ยง * พิจารณาความเสี่ยงที่ส่วนงานย่อยไม่สามารถควบคุมได้หรือความเสี่ยงที่เกิดขึ้นในภาพรวมของกระทรวงและเลือก หรือค้นหาวิธีการควบคุมที่เหมาะสม เพื่อเสนอฝ่ายบริหารพิจารณาสั่งการ * รวบรวมและจัดทำรายงานสรุปผลการประเมินเสนอต่อปลัดฯ และ ค.ต.ป.ประจำกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

  15. คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานฯ ของ สป.กษ. องค์ประกอบคณะทำงาน อำนาจหน้าที่ ผอ.สำนักตรวจสอบภายใน ที่ปรึกษา ผอ.สำนักพัฒนาระบบบริหาร ประธานคณะทำงาน ผู้แทน สำนัก/กองใน สป.กษ. คณะทำงาน เจ้าหน้าที่สพบ. คณะทำงานและเลขานุการ * อำนวยการและประสานการประเมินผล ทบทวนและปรับปรุงระบบการควบคุมภายในของ สป.กษ. จัดทำแผนปฏิบัติงานประเมินผล และประสานงานส่วนงานย่อยเพื่อติดตามการประเมินผลและปรับปรุงแก้ไขวิธีการควบคุมความเสี่ยง * พิจารณาความเสี่ยงที่ส่วนงานย่อยไม่สามารถควบคุมได้หรือความเสี่ยงที่เกิดขึ้นในภาพรวมของหน่วยรับตรวจ และเลือก หรือค้นหาวิธีการควบคุมที่เหมาะสม เพื่อเสนอฝ่ายบริหารพิจารณาสั่งการ * รวบรวมและจัดทำรายงานสรุปผลการประเมินระดับหน่วยรับตรวจเสนอต่อคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ปลัดฯ และ ค.ต.ป.ประจำกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

  16. การจัดทำรายงานการควบคุมภายในการจัดทำรายงานการควบคุมภายใน 3 ระดับ รายงานระดับ กระทรวง 6 ด. - 25 เม.ย. 56 12 ด. - 30 พ.ย. 56 ส่ง สพบ. รายงานระดับ หน่วยรับตรวจ 6 ด. 12 ด. ส่ง ค.ต.ป.ประจำ กษ. 6 ด. - 7 พ.ค. 56 12 ด. - 10 ม.ค. 57 ทุกส่วนราชการ ใน กษ. รายงานระดับส่วนงานย่อย ส่ง ส.ต.ง. ธ.ค. ทุกสำนัก/กอง ของส่วนราชการ

  17. ผังขั้นตอนการจัดทำรายงานการควบคุมภายในระดับส่วนงานย่อยผังขั้นตอนการจัดทำรายงานการควบคุมภายในระดับส่วนงานย่อย ติดตาม ปย. 2 ภาคผนวก ข ภาคผนวก ก รายงานผลการติดตามการปฏิบัติงาน ตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ของงวดก่อน การสัมภาษณ์/ สังเกตการณ์/ เอกสารหลักฐาน แบบสอบถาม การควบคุมภายใน แบบประเมินองค์ประกอบการควบคุมภายใน (ภาคผนวก ก) ผอ.ลงนาม ผอ.ลงนาม ผอ.ลงนาม ปย. 1 ปย. 2 รายงานผลการประเมินองค์ประกอบการควบคุมภายใน รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน ผอ.ลงนาม ผอ.ลงนาม รายงานการควบคุมภายในของส่วนงานย่อย (แบบปย.1 /ปย.2 /แบบติดตาม ปย.2 /แบบภาคผนวก ก/แบบภาคผนวก ข) สำนัก/กอง/ศูนย์ ของส่วนราชการ

  18. ผังขั้นตอนการจัดทำรายงานการควบคุมภายในระดับหน่วยรับตรวจผังขั้นตอนการจัดทำรายงานการควบคุมภายในระดับหน่วยรับตรวจ แบบติดตาม ปอ. 3 (ติดตามจาก ปอ.3 ของงวดก่อน) แบบสอบถาม การควบคุมภายใน (ภาคผนวก ข) แบบประเมินองค์ประกอบการควบคุมภายใน (แบบภาคผนวก ก)(หน่วยรับตรวจ) แบบ ปย.1 (ส่วนงานย่อย) แบบ ปย.2 (ส่วนงานย่อย) การสัมภาษณ์/สังเกตการณ์ /เอกสารหลักฐาน หน.ส่วนราชการลงนาม หน.ส่วนราชการลงนาม หน.ส่วนราชการลงนาม ผู้ตรวจสอบภายในลงนาม รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน (แบบ ปอ.2) รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน (แบบ ปอ.3) หน.ส่วนราชการลงนาม หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน (แบบ ปอ.1) รายงานผลการสอบทานการประเมินผลการควบคุมภายในของผู้ตรวจสอบภายใน (แบบ ปส.) ส่ง สตง. และ คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจำกระทรวง

  19. ผังขั้นตอนการจัดทำรายงานการควบคุมภายในระดับกระทรวงผังขั้นตอนการจัดทำรายงานการควบคุมภายในระดับกระทรวง รายงานการควบคุมภายใน ของหน่วยรับตรวจ รายงานการควบคุมภายใน ของหน่วยรับตรวจ ส่วนราชการในสังกัด กษ. ส่วนราชการในสังกัด กษ. รอบ 12 เดือน รอบ 6/12 เดือน ผู้ตรวจสอบภายในลงนาม หน.ส่วนราชการลงนาม หน.ส่วนราชการลงนาม หน.ส่วนราชการลงนาม หน.ส่วนราชการลงนาม (แบบติดตาม ปอ. 3) หน.ส่วนราชการลงนาม แบบภาคผนวก ก (แบบ ปอ.3) (แบบ ปอ.2) แบบ ปอ.1 แบบ ปส. ส่ง คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจำกระทรวง

  20. ผังการเชื่อมโยงการจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ระดับส่วนงานย่อย ระดับหน่วยรับตรวจ และระดับกระทรวง รอบ 6 เดือน ระดับส่วนงานย่อย ระดับหน่วยรับตรวจ ระดับกระทรวง รายงานผลการติดตามการปฏิบัติงาน ตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ของงวดก่อน (แบบติดตาม ปย.2) รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน (แบบ ปอ.3) รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน (แบบ ปอ.3) ภายในวันที่ ......... ภายในวันที่ 25 เม.ย. ภายในวันที่ 7 พ.ค. รอบ 12 เดือน หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน (แบบ ปอ.1) หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน (แบบ ปอ.1) รายงานผลการประเมินองค์ประกอบการควบคุมภายใน (แบบ ปย.1) รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน (แบบ ปอ.2) รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน (แบบ ปอ.2) รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน (แบบ ปย.2) รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน (แบบ ปอ.3) รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน (แบบ ปอ.3) รายงานผลการติดตามการปฏิบัติงาน ตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ของงวดก่อน (แบบติดตาม ปย.2) รายงานผลการติดตามการปฏิบัติงาน ตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ของงวดก่อน (แบบติดตาม ปอ.3) รายงานผลการติดตามการปฏิบัติงาน ตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ของงวดก่อน (แบบติดตาม ปอ.3) แบบประเมินองค์ประกอบการควบคุมภายใน (ภาคผนวก ก) แบบประเมินองค์ประกอบการควบคุมภายใน (ภาคผนวก ก) แบบประเมินองค์ประกอบการควบคุมภายใน (ภาคผนวก ก) ภายในวันที่ ......... รายงานผลการสอบทานการประเมินการควบคุมภายใน โดยผู้ตรวจสอบภายใน(แบบ ปส.) รายงานผลการสอบทานการประเมินการควบคุมภายใน โดยผู้ตรวจสอบภายใน(แบบ ปส.) ภายในวันที่ 30 พ.ย. ภายในวันที่ 10 ม.ค.

  21. ผังการเชื่อมโยงการจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ระดับส่วนงานย่อย ระดับหน่วยรับตรวจ และระดับกระทรวง รอบ 6 เดือน ระดับส่วนงานย่อย ระดับหน่วยรับตรวจ ระดับกระทรวง รายงานผลการติดตามการปฏิบัติงาน ตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ของงวดก่อน (แบบติดตาม ปย.2) รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน (แบบ ปอ.3) รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน (แบบ ปอ.3) ภายในวันที่ ......... ภายในวันที่ 25 เม.ย. ภายในวันที่ 7 พ.ค. รอบ 12 เดือน หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน (แบบ ปอ.1) หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน (แบบ ปอ.1) รายงานผลการประเมินองค์ประกอบการควบคุมภายใน (แบบ ปย.1) รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน (แบบ ปอ.2) รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน (แบบ ปอ.2) รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน (แบบ ปย.2) รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน (แบบ ปอ.3) รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน (แบบ ปอ.3) รายงานผลการติดตามการปฏิบัติงาน ตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ของงวดก่อน (แบบติดตาม ปย.2) รายงานผลการติดตามการปฏิบัติงาน ตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ของงวดก่อน (แบบติดตาม ปอ.3) รายงานผลการติดตามการปฏิบัติงาน ตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ของงวดก่อน (แบบติดตาม ปอ.3) แบบประเมินองค์ประกอบการควบคุมภายใน (ภาคผนวก ก) แบบประเมินองค์ประกอบการควบคุมภายใน (ภาคผนวก ก) แบบประเมินองค์ประกอบการควบคุมภายใน (ภาคผนวก ก) ภายในวันที่ ......... รายงานผลการสอบทานการประเมินการควบคุมภายใน โดยผู้ตรวจสอบภายใน(แบบ ปส.) รายงานผลการสอบทานการประเมินการควบคุมภายใน โดยผู้ตรวจสอบภายใน(แบบ ปส.) ภายในวันที่ 30 พ.ย. ภายในวันที่ 10 ม.ค.

  22. ขอบเขตการประเมินการควบคุมภายในขอบเขตการประเมินการควบคุมภายใน แบ่งเป็น 6 ด้าน ตามความเสี่ยงที่ประเมินได้ ดังนี้ … • งานตามภารกิจหน้าที่หลักของส่วนราชการ • การวางแผน และการดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการ • การจัดองค์กร เพื่อรองรับภารกิจ • การกำกับ และควบคุมงานกระบวนการสำคัญ เพื่อตอบสนองภารกิจของกระทรวง 1. ด้านการจัดการ

  23. 2. ด้านงบประมาณ เป็นการดำเนินการเกี่ยวกับ • การตั้งงบประมาณ (จัดทำคำของบประมาณ) • การบริหารและควบคุมงบประมาณ (การใช้จ่ายงบประมาณ) เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน

  24. 3. ด้านบริหารทรัพยากรบุคคล เป็นการดำเนินการเกี่ยวกับ • การวางแผนอัตรากำลังคน • การสรรหาบรรจุและแต่งตั้ง • การพัฒนาทรัพยากรบุคคล • การมอบหมายงาน และกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบ • การประเมินผลการปฏิบัติงาน • การพิจารณาค่าตอบแทนสวัสดิการ และธำรงรักษาบุคลากร

  25. 4. ด้านการเงินและทรัพย์สิน เป็นการดำเนินการเกี่ยวกับ • การวางระบบการควบคุมการรับ - จ่ายเงินทุกขั้นตอน ตั้งแต่การรับเงิน การจ่ายเงิน การบันทึกบัญชี และการรายงานข้อมูลทางการเงิน เพื่อให้การรับ - จ่ายเงิน เป็นไปตามแผน และวงเงินที่ได้รับอนุมัติ • การควบคุมทรัพย์สิน

  26. 5. ด้านการปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับ • เป็นการควบคุมการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบและข้อบังคับที่ทางราชการ กำหนด • การกำหนดกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ เพื่อกำกับดูแล และป้องกันการเสียหาย

  27. 6. ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ • เป็นการบริหารจัดการข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านอุปกรณ์ Hardware, Application Software ระบบเครือข่ายและความปลอดภัยด้านระบบงาน

  28. แบบฟอร์มรายงานการควบคุมภายในแบบฟอร์มรายงานการควบคุมภายใน ระดับส่วนงานย่อย รายงานผลการประเมินองค์ประกอบการควบคุมภายใน 12 ด. ปย. 1 รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน 12 ด. ปย. 2 รายงานผลการติดตามการปฏิบัติงานตามแผนการปรับปรุง การควบคุมภายในของงวดก่อน ติดตาม ปย. 2 6 ด./12 ด. แบบประเมินองค์ประกอบการควบคุมภายใน ภาคผนวก ก 12 ด. ภาคผนวก ข 12 ด. แบบสอบถามการควบคุมภายใน

  29. แบบฟอร์มรายงานการควบคุมภายในแบบฟอร์มรายงานการควบคุมภายใน ระดับหน่วยรับตรวจ หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน 12 ด. ปอ. 1 รายงานผลการประเมินองค์ประกอบการควบคุมภายใน 12 ด. ปอ. 2 รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ปอ. 3 12 ด. รายงานผลการติดตามการปฏิบัติงานตามแผนการปรับปรุง การควบคุมภายในของงวดก่อน 6 /12 ด. ติดตาม ปอ.3 แบบประเมินองค์ประกอบการควบคุมภายใน ภาคผนวก ก 12 ด. รายงานผลการสอบทานการประเมินผลการควบคุมภายในของผู้ตรวจสอบภายใน (แบบ ปส.) ปส. 12 ด.

  30. แบบฟอร์มรายงานการควบคุมภายในแบบฟอร์มรายงานการควบคุมภายใน ระดับ กระทรวง หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน 12 ด. ปอ. 1 รายงานผลการประเมินองค์ประกอบการควบคุมภายใน 12 ด. ปอ. 2 รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ปอ. 3 12 ด. รายงานผลการติดตามการปฏิบัติงานตามแผนการปรับปรุง การควบคุมภายในของงวดก่อน ติดตาม ปอ.3 6 /12 ด. แบบประเมินองค์ประกอบการควบคุมภายใน ภาคผนวก ก 12 ด. รายงานผลการสอบทานการประเมินผลการควบคุมภายในของผู้ตรวจสอบภายใน (แบบ ปส.) ปส. 12 ด.

  31. แนวทางการดำเนินงาน แบบรายงานการควบคุมภายใน ของ สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน

  32. รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน (แบบ ปย.1/ปอ.2) แบบประเมินองค์ประกอบการควบคุมภายใน (แบบภาคผนวก ก)

  33. ประเมินแต่ละองค์ประกอบว่า ดีเพียงพอและเหมาะสมเพียงใด และมีประเด็นใดที่ยังไม่มีหรือไม่ได้ดำเนินการ สรุปโดยย่อจากข้อมูลของแบบ ภาคผนวก ก อธิบายสิ่งที่ดำเนินการหรือที่มีอยู่ของสำนักในแต่ละหัวข้อย่อย

  34. รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน (แบบ ปย.2) มีวิธีดำเนินงานขั้นตอนนี้อย่างไรให้บรรลุเป้าหมาย ประเมินว่า วิธีดังกล่าว ดีเพียงพอและเหมาะสมหรือไม่เพียงใด ถ้ายังไม่ดีเพียงพอและเหมาะสมยังมีความเสี่ยงอะไรอยู่บ้าง จะมีวิธีดำเนินงานอะไรที่ใช้ควบคุมความเสี่ยงที่เกิดขึ้นในคอลัมน์ 4 ระบุระยะเวลาแล้วเสร็จและผู้รับผิดชอบของวิธีการในคอลัมน์ 5

  35. เกณฑ์การประเมินความเสี่ยงเกณฑ์การประเมินความเสี่ยง • ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณ์ต่างๆ(Likelihood) • ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเสี่ยง(Impact)

  36. การประเมินการควบคุมใน” แบบ ปย.2(คอลัมน์ที่ 3) • ความเพียงพอของกิจกรรมควบคุมที่มีอยู่ • ความเป็นทางการของกิจกรรมควบคุมที่มีอยู่ • การปฏิบัติตามกิจกรรมการควบคุม • การบรรลุวัตถุประสงค์ของกิจกรรมควบคุมที่มีอยู่ ตัวอย่างข้อความ กรณี การควบคุมที่มีอยู่เป็นไปตามเกณฑ์ทั้ง 4 ข้อ การควบคุมที่มีอยู่มีความเหมาะสมเพียงพอ และเป็นทางการ รวมทั้งผู้รับผิดชอบมีการปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด และสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของขั้นตอนได้ กรณี การควบคุมที่มีอยู่ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ทั้ง 4 ข้อ เช่น ขาดความเพียงพอ (การควบคุมที่มีอยู่มีความเป็นทางการ และผู้รับผิดชอบมีการปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด รวมทั้งสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของขั้นตอนได้ แต่อย่างไรก็ตาม การควบคุมที่มีอยู่ยังไม่เพียงพอ ทำให้อาจมีความเสี่ยงในเรื่อง..............)

  37. รายงานผลการปฏิบัติงานตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในของงวดก่อน (แบบติดตาม ปย.2/แบบติดตาม ปอ.3) ใส่สัญลักษณ์สถานะการดำเนินการในคอลัมน์ 6 และประเมินผลในคอลัมน์ 7 ว่าสามารถดำเนินกิจกรรมตามคอลัมน์ 4 ได้เป็นอย่างไรบ้าง คอลัมน์ 1 - 5 ให้ยกข้อมูลมาจาก แบบ ปย.2 ของปีที่ผ่านมา

  38. รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน (แบบ ปอ.3) ประมวลกิจกรรมตามแบบ ปย.2 ประมวลความเสี่ยงมาจากแบบ ปย.2 ข้อมูลจาก แบบปย.2 30 ก.ย. พิจารณาโดย คกก./คทง. ระดับหน่วยรับตรวจ(ส่วนราชการ) กำหนดหัวข้อด้านตามลักษณะงานตามภารกิจหลักและภารกิจสนับสนุนของส่วนราชการ

  39. หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน (แบบ ปอ.1)

  40. รายงานผลการสอบทานการประเมินผลการควบคุมภายในของผู้ตรวจสอบภายใน (แบบ ปส.)

  41. Q&A 1ความคิด อาจสร้าง 100 ความเห็น ขอเพียงแค่ แปลง ความคิด เป็น ความเห็น และแสดงออกมาเท่านั้น

More Related