470 likes | 650 Views
แนวคิดและโครงสร้างระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ของสำนักงบประมาณ. โดย ผศ.ดร.วุฒิพงศ์ เมืองน้อย ผศ.ดร.สันติ เจริญพรพัฒนา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มจธ. การบรรยาย 3 ฟอรั่ม วันพฤหัสบดีที่ 17 ธันวาคม 2552 เวลา 12.00 – 13.30 น. เนื้อหา.
E N D
แนวคิดและโครงสร้างระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ของสำนักงบประมาณแนวคิดและโครงสร้างระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ของสำนักงบประมาณ โดย ผศ.ดร.วุฒิพงศ์ เมืองน้อย ผศ.ดร.สันติ เจริญพรพัฒนา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มจธ. การบรรยาย 3 ฟอรั่ม วันพฤหัสบดีที่ 17 ธันวาคม 2552 เวลา 12.00 – 13.30 น.
เนื้อหา • แนวคิดและภาพรวมโครงสร้างระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ • การวิเคราะห์ความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้จ่ายงบประมาณ (Performance Assessment Rating Tool : PART) • คู่มือการวางและบริหารโครงการ
บริบทการจัดสรรงบประมาณของระบบอุดมศึกษาในปัจจุบันบริบทการจัดสรรงบประมาณของระบบอุดมศึกษาในปัจจุบัน งบประมาณสนับสนุนการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา • กองทุนเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษา • ให้เงินกู้ยืมต่อนักศึกษา • สำนักงบประมาณ • พิจารณาจัดสรรงบประมาณแผ่นดิน ให้เงินกู้ยืมต่อนักศึกษา • กกอ./สกอ. • จัดทำข้อเสนอนโยบายและมาตรฐานการอุดมศึกษาและแผนพัฒนาการอุดมศึกษา • ติดตาม ตรวจสอบประเมินผลการจัดการอุดมศึกษา -ประเมินระบบ PART -จัดสรรงบประมาณ ก.พ.ร. ประเมินผลการปฏิบัติราชการระดับองค์การ (มีการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการและการประเมินผลประจำปีงบประมาณ) นโยบาย สถาบันอุดมศึกษา -ประกันคุณภาพภายใน -จัดสรรงบประมาณสนับสนุน -จัดตั้งกองทุนเพื่อการพัฒนา -ประเมินตามคำรับรอง -จัดสรรเงินรางวัลประจำปี ประเมินคุณภาพภายนอก สนับสนุนงบประมาณด้านการวิจัย หน่วยงานด้านการวิจัยอื่นๆ • สมศ. • พัฒนาเกณฑ์วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก • ประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาอย่างน้อย 1 ครั้งในทุก 5 ปี ปรับปรุงจาก: กพร. 2552
แนวคิดและภาพรวมโครงสร้างระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์แนวคิดและภาพรวมโครงสร้างระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ จัดสรรงบประมาณอย่างไร ให้สามารถขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ได้ ควรมีผลผลิต/โครงการอะไรบ้างเพื่อรองรับยุทธศาสตร์ ต้องใช้ งบประมาณ เท่าใดในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ผลผลิต/ โครงการสามารถ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ หรือไม่ ผลผลิต/ โครงการ งบประมาณ มีความคุ้มค่างบประมาณหรือไม่ ควรจัดสรร งปม. ให้กับผลผลิต/โครงการใดบ้าง
ความเชื่อมโยงองค์ประกอบสำคัญของความเชื่อมโยงองค์ประกอบสำคัญของ ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานทั้งระบบ (MTEF Top Down) งบยุทธศาสตร์ งบยุทธศาสตร์ 4# 4# 4# 3# 3# 3# 2# 2# 2# 1# 1# 1# งบยุทธศาสตร์ งบประจำ งบประจำ งบประจำ งบประจำ xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx 1# 1# 1# 1# 2# 2# 2# 2# 3# 3# 3# 3# 4# 4# 4# 4# 1# งบยุทธศาสตร์ รายได้ ประมาณการทางเศรษฐกิจ รายจ่าย PEM งบประมาณแผ่นดิน ทิศทางเชิงนโยบาย การวางแผนฯ ตามพรฎ. การวางแผนงบประมาณ MTEF ระดับชาติ ระดับชาติ ผลกระทบ แผนการบริหารราชการแผ่นดิน นโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ระดับชาติ แผนพัฒนาประเทศด้านต่าง ๆ เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ระดับชาติ ผลลัพธ์ ระดับกระทรวง (MTEF Bottom Up) นโยบายรัฐมนตรี แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี เป้าหมายการให้ บริการ 4 ปี (กระทรวง) ระดับกระทรวง แผนปฏิบัติราชการ 4 ปีหน่วยงาน เป้าหมายการให้ บริการ 4 ปี (หน่วยงาน) ระดับกรม/หน่วยงาน ระดับกรม ผลผลิต แผนปฏิบัติราชการ ประจำปีหน่วยงาน เป้าหมายการให้ บริการ (หน่วยงาน) ประจำ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์หน่วยงาน ตัวชี้วัด QQTC ผลผลิต โครงการ ตัวชี้วัด QQTC กิจกรรมหลัก กิจกรรมรอง กิจกรรมสนับสนุน Actual ติดตามประเมินผล งบรายจ่ายอื่น ๆ Variable Budget งบอุดหนุน งบเงินลงทุน งบดำเนินการ Fixed Budget ดำเนินการ งบบุคลากร งบผลผลิตตามพันธกิจ งบโครงการตามยุทธศาสตร์ ที่มา: โครงการศึกษาแนวทางการปรับปรุงระบบงบประมาณ, สำนักงบประมาณ ความต้องการงบประมาณ อนุมัติงบประมาณ เบิกจ่าย/ดำเนินการ
7 ขั้นตอนที่ 1 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ ส่วนราชการ ขั้นตอนที่ 2 การจัดทำแผนงบประมาณเชิงยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ ขั้นตอนที่ 3 การติดตามและประเมินผล กระบวนการพิจารณาพรบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี ทำความเข้าใจนโยบายรัฐบาลและแผนการบริหารราชการแผ่นดิน ทำความเข้าใจยุทธศาสตร์การจัดสรร /แนวทางการจัดสรร ตรวจสอบสภาวะแวดล้อมและกลุ่มเป้าหมาย ทำความเข้าใจกรอบภารกิจตามกฎหมาย ทำความเข้าใจนโยบาย รมต. จัดทำแผนปฏิบัติงาน/แผนการใช้จ่ายงบประมาณ และเบิกจ่ายงบประมาณ จัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (กำหนดเป้าหมาย/ตัวชี้วัด) จัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี (กำหนดเป้าหมาย/ตัวชี้วัด) ทบทวนผลการดำเนินงานที่ผ่านมา จัดทำความต้องการงบประมาณ 4 ปี กำหนดผลผลิต/กิจกรรม/ตัวชี้วัด จัดทำความต้องการงบประมาณประจำปี รายงานผลตามเป้าหมาย/ตัวชี้วัด(แผนปฏิบัติราชการประจำปี) กำหนดผลผลิต/ตัวชี้วัด บริหารและติดตามความก้าวหน้าผลผลิต/ วิเคราะห์ต้นทุนผลผลิตและจัดทำงบประมาณ ทบทวน/ตรวจสอบ/ ประเมินผลการดำเนินงานโครงการที่ผ่านมา ริเริ่มและวิเคราะห์โครงการเบื้องต้น วิเคราะห์และวางแผน รายละเอียดโครงการ จัดทำคำของบประมาณโครงการ บริหารและติดตามความก้าวหน้า ของการดำเนินโครงการ ประเมินผลการใช้งานและการติดตาม/ ปรับปรุง/ แก้ไข
การวิเคราะห์ความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้จ่ายงบประมาณ (Performance Assessment Rating Tool : PART)
ความเป็นมาของเครื่องมือ PART และการบริหารโครงการ มติค.ร.ม.18 มีนาคม 2551: ให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐ นำเครื่องมือการวิเคราะห์การจัดการงบประมาณตามมติคณะรัฐมนตรีมาพิจารณาประกอบการดำเนินงาน ดังนี้ • การวิเคราะห์ความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้จ่ายงบประมาณ (Performance Assessment Rating Tool : PART) ตามหนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ด่วนที่สุด ที่นร 0506/23450 ลงวันที่ 12 ธันวาคม 2550 • การวางแผนและบริหารโครงการ ตามหนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ด่วนที่สุด ที่ นร 0506/4680 ลงวันที่ 29 มีนาคม 2550 • ...
เครื่องมือ PART คืออะไร • PART คือ เครื่องมืองบประมาณในการวิเคราะห์ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้งบประมาณ (Performance Assessment Rating Tool)โดยแต่ละหน่วยงานจะเป็นผู้ประเมินตัวเอง (Self Assessment) ซึ่งสำนักงบประมาณจะทำหน้าที่เป็นผู้วิเคราะห์ระดับความสำเร็จ (Assessor) • PARTเป็นการวัดความสำเร็จโดยวัดความสำเร็จใน 5 มิติ ได้แก่ • มิติ ก. จุดมุ่งหมายและรูปแบบ (Purpose and Design) • มิติ ข. การวางแผนกลยุทธ์ (Strategic Planning) • มิติ ค. ความเชื่อมโยงงบประมาณ (Performance Budget Cascade) • มิติ ง. การบริหารจัดการ (Management) • มิติ จ. การประเมินผลในระดับผลผลิต/ผลลัพธ์ (Result)
เครื่องมือวิเคราะห์ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้จ่ายงบประมาณ (PART) มิติ ก. จุดมุ่งหมายและรูปแบบ ตรวจสอบการกำหนดเป้าหมายขององค์กรว่า มีความสอดคล้องกับเป้าหมายระดับสูงอย่างถูกต้อง ตรงประเด็นหรือไม่ มิติ ข. การวางแผนกลยุทธ์ ตรวจสอบการแปลงเป้าหมายขององค์กรมาเป็นแผนกลยุทธ์ว่ามีความสอดคล้อง เหมาะสมและเป็นไปได้ในทางปฏิบัติหรือไม่ มิติ ค. ความเชื่อมโยงงบประมาณ ตรวจสอบการจัดสรรงบประมาณตามยุทธศาสตร์ในระดับต่าง ๆ ว่ามีความสัมพันธ์และเชื่อมโยงกันหรือไม่ มิติ ง. การบริหารจัดการ ตรวจสอบการนำแผนกลยุทธ์ที่กำหนดไปปฏิบัติงานจริงว่ามีการใช้แผนกลยุทธ์เป็นแนวทางการดำเนินงาน หรือไม่ มิติ จ. การประเมินผลในระดับผลผลิต/ผลลัพธ์ วัดความสำเร็จจากการดำเนินงานว่าเป็นไปตามเป้าหมายขององค์กรที่กำหนด หรือไม่ 11
มิติ ก. จุดมุ่งหมายและรูปแบบ ก-1 ความเข้าใจเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ เป้าหมายการให้บริการของกระทรวง และยุทธศาสตร์กระทรวง ที่หน่วยงานของท่านต้องรับผิดชอบดำเนินการให้บรรลุผลสำเร็จหรือไม่ อย่างไร ก-2 เป้าหมายการให้บริการของหน่วยงานที่ท่านกำหนดมีความสอดคล้องและเหมาะสมต่อการนำส่งเป้าหมายระดับสูงหรือไม่ อย่างไร ก-3 หน่วยงานของท่านกำหนดความต้องการ ปัญหาหรือเรื่องที่สนใจของกลุ่มเป้าหมายหรือไม่ อย่างไร ก-4 ผลผลิตที่กำหนดเป็นส่วนสำคัญที่ตอบสนองความต้องการ ปัญหาหรือเรื่องที่สนใจของกลุ่มเป้าหมาย และเป้าหมายระดับสูง หรือไม่ อย่างไร ก-5 การกำหนดผลผลิตของหน่วยงานมีการพิจารณาความซ้ำซ้อนของผลผลิตของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนหรือไม่ กรณีที่หน่วยงานมีความซ้ำซ้อนกับผลผลิตของหน่วยงานอื่นสามารถจำแนกลักษณะผลผลิตที่แตกต่างกันได้หรือไม่ อย่างไร ก-6 หน่วยงานได้คำนึงถึงอุปสรรคและข้อจำกัด (อาทิ ด้านกฎหมาย ระเบียบ โครงสร้างส่วนราชการ และปัจจัยในกระบวนการปฏิบัติงาน) ที่มีต่อการนำส่งผลผลิตหรือไม่ อย่างไร 12
มิติ ข. การวางแผนกลยุทธ์ ข-1 หน่วยงานจัดทำแผนกลยุทธ์ที่แสดงความเชื่อมโยงและถ่ายทอดภารกิจจากจุดมุ่งหมายของรัฐบาล (เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ชาติ) มายังผลลัพธ์ ผลผลิตและกิจกรรมตามลำดับหรือไม่ อย่างไร ข-2 แผนกลยุทธ์กำหนดเป้าหมายระดับผลผลิตระยะยาวหรือไม่ อย่างไร ข-3 แผนกลยุทธ์ของหน่วยงานกำหนดเป้าหมายระยะยาวที่ส่งผลต่อความสำเร็จของผลลัพธ์ (เป้าหมายการให้บริการของกระทรวง) ที่ท้าทาย (มีประสิทธิภาพสูงขึ้น) หรือไม่ อย่างไร ข-4 แผนกลยุทธ์ของหน่วยงานจำแนกเป้าหมายผลผลิตเป็นรายปี หรือไม่ อย่างไร ข-5 แผนกลยุทธ์ของหน่วยงานได้กำหนดวิธีการประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน หรือไม่ อย่างไร ข-6 แผนกลยุทธ์ของหน่วยงานกำหนดให้มีแผนการประเมินผลการปฏิบัติงาน ที่มีคุณภาพด้านขอบเขตของเนื้อหาที่จำเป็นเพื่อการปรับปรุงอย่างสม่ำเสมอ โดยประเมินตนเอง และโดยผู้ประเมินอิสระ หรือไม่ อย่างไร ข-7 หน่วยงานกำหนดให้มีกระบวนการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงด้านยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์กระทรวง และ/หรือ ข้อกฎหมายและระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาทบทวนกลยุทธ์ของหน่วยงาน หรือไม่ อย่างไร 13
มิติ ค. ความเชื่อมโยงงบประมาณ ค-1 หน่วยงานกำหนดเป้าหมายผลผลิตประจำปี ซึ่งแสดงให้เห็นความก้าวหน้าในการบรรลุเป้าหมายผลผลิตตามแผนงบประมาณในแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี หรือไม่ อย่างไร ค-2 หน่วยงานกำหนดกิจกรรมหลักที่มีความเชื่อมโยงกับทรัพยากรที่ต้องการ ซึ่งสนับสนุนให้บรรลุเป้าหมายผลผลิตประจำปี หรือไม่ อย่างไร ค-3 หน่วยงานกำหนดตัวชี้วัดความก้าวหน้า ตามระยะเวลาที่กำหนดทุกกิจกรรมหลัก หรือไม่ อย่างไร ค-4 หน่วยงานกำหนดให้มีกิจกรรมเพื่อคำนวณต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต หรือไม่ อย่างไร ค-5 หน่วยงานมีการพิจารณาผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมา เพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดเป้าหมายผลผลิตประจำปี หรือไม่ อย่างไร 14
มิติ ง. การบริหารจัดการ ง-1 หน่วยปฏิบัตินำส่งผลผลิตของหน่วยงานมีการจัดทำและบริหารแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปีซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนและระยะเวลา ให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดของแต่ละผลผลิต หรือไม่ อย่างไร ง-2 หน่วยปฏิบัตินำส่งผลผลิตของหน่วยงานมีการจัดทำระบบรายงานข้อมูลย้อนกลับของแต่ละผลผลิต ที่เชื่อถือได้ และตรงตามกำหนดเวลา หรือไม่ อย่างไร ง-3 หน่วยปฏิบัตินำส่งผลผลิตของหน่วยงานมีการนำข้อมูลดังกล่าวมาใช้ในการบริหารจัดการ และปรับปรุงการดำเนินงานให้ดีขึ้น หรือไม่ อย่างไร ง-4 หน่วยปฏิบัตินำส่งผลผลิตของหน่วยงานมีการนำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต ไปใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการ หรือไม่ อย่างไร ง-5 หน่วยปฏิบัตินำส่งผลผลิตของหน่วยงานมีกระบวนการจัดการที่ช่วยวัดผลการดำเนินงาน และ/หรือ ปรับปรุงการดำเนินงาน ให้มีประสิทธิภาพและความคุ้มค่าหรือไม่ อย่างไร ง-6 หน่วยปฏิบัตินำส่งผลผลิตของหน่วยงานมีรายงานผลการตรวจสอบทางการเงิน ที่แสดงถึงประสิทธิภาพการจัดการทางการเงิน และเป็นไปตามกฎข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง หรือไม่ อย่างไร ง-7 หน่วยปฏิบัตินำส่งผลผลิตของหน่วยงานมีการประเมินบุคคลผู้รับผิดชอบผลผลิตในการนำส่งผลผลิตว่ามีประสิทธิภาพ หรือไม่ อย่างไร 15
มิติ จ. การประเมินผลในระดับผลผลิต/ผลลัพธ์ จ-1 โปรดแสดงความก้าวหน้าโดยการเปรียบเทียบผลลัพธ์ที่ได้ กับเป้าหมายผลลัพธ์ระยะยาวตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ จ-2 โปรดแสดงความก้าวหน้าโดยการเปรียบเทียบผลผลิตที่ได้ กับเป้าหมายผลผลิตประจำปีตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ จ-3 ผลการดำเนินงานของหน่วยงานมีประสิทธิภาพสูงขึ้น และมีความคุ้มค่าเชิงเศรษฐกิจและ/หรือสังคม หรือไม่ อย่างไร จ-4 หน่วยงานมีการเปรียบเทียบผลผลิตและเป้าหมายผลผลิตกับส่วนราชการฯ และหน่วยงานเอกชนอื่นที่มีลักษณะเหมือน/คล้ายคลึงกัน หรือไม่ อย่างไร จ-5 ผลการประเมินจากผู้ประเมินอิสระ แสดงให้เห็นว่าหน่วยงานบรรลุผลสำเร็จในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ หรือไม่ อย่างไร 16
17 ขั้นตอนที่ 1 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ ส่วนราชการ ขั้นตอนที่ 2 การจัดทำแผนงบประมาณเชิงยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ ขั้นตอนที่ 3 การติดตามและประเมินผล กระบวนการพิจารณาพรบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี ทำความเข้าใจนโยบายรัฐบาลและแผนการบริหารราชการแผ่นดิน ทำความเข้าใจยุทธศาสตร์การจัดสรร /แนวทางการจัดสรร มิติ ค. ความเชื่อมโยงงบประมาณ (Performance Budget Cascade) มิติ ก. จุดมุ่งหมายและรูปแบบ (Purpose and Design) ตรวจสอบสภาวะแวดล้อมและกลุ่มเป้าหมาย ทำความเข้าใจกรอบภารกิจตามกฎหมาย ทำความเข้าใจนโยบาย รมต. มิติ ง. การบริหารจัดการ (Management) มิติ จ. การประเมินผลในระดับผลผลิต/ผลลัพธ์ (Result) จัดทำแผนปฏิบัติงาน/แผนการใช้จ่ายงบประมาณ และเบิกจ่ายงบประมาณ จัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (กำหนดเป้าหมาย/ตัวชี้วัด) จัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี (กำหนดเป้าหมาย/ตัวชี้วัด) มิติ ข. การวางแผนกลยุทธ์ (Strategic Planning) ทบทวนผลการดำเนินงานที่ผ่านมา จัดทำความต้องการงบประมาณ 4 ปี กำหนดผลผลิต/กิจกรรม/ตัวชี้วัด จัดทำความต้องการงบประมาณประจำปี รายงานผลตามเป้าหมาย/ตัวชี้วัด(แผนปฏิบัติราชการประจำปี) กำหนดผลผลิต/ตัวชี้วัด บริหารและติดตามความก้าวหน้าผลผลิต/ วิเคราะห์ต้นทุนผลผลิตและจัดทำงบประมาณ ทบทวน/ตรวจสอบ/ ประเมินผลการดำเนินงานโครงการที่ผ่านมา ริเริ่มและวิเคราะห์โครงการเบื้องต้น วิเคราะห์และวางแผน รายละเอียดโครงการ จัดทำคำของบประมาณโครงการ บริหารและติดตามความก้าวหน้า ของการดำเนินโครงการ ประเมินผลการใช้งานและการติดตาม/ ปรับปรุง/ แก้ไข
18 ขั้นตอนที่ 1 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ ส่วนราชการ ขั้นตอนที่ 2 การจัดทำแผนงบประมาณเชิงยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ ขั้นตอนที่ 3 การติดตามและประเมินผล กระบวนการพิจารณาพรบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี ทำความเข้าใจนโยบายรัฐบาลและแผนการบริหารราชการแผ่นดิน ทำความเข้าใจยุทธศาสตร์การจัดสรร /แนวทางการจัดสรร ก1 ก3 ตรวจสอบสภาวะแวดล้อมและกลุ่มเป้าหมาย ทำความเข้าใจกรอบภารกิจตามกฎหมาย ทำความเข้าใจนโยบาย รมต. ก6 ก4 จัดทำแผนปฏิบัติงาน/แผนการใช้จ่ายงบประมาณ และเบิกจ่ายงบประมาณ ก2 จัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (กำหนดเป้าหมาย/ตัวชี้วัด) จัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี (กำหนดเป้าหมาย/ตัวชี้วัด) จ4 จ5 ข1 ข5 ข6 ข7 จ1 จ2 จ3 ค1 ทบทวนผลการดำเนินงานที่ผ่านมา จัดทำความต้องการงบประมาณ 4 ปี กำหนดผลผลิต/กิจกรรม/ตัวชี้วัด จัดทำความต้องการงบประมาณประจำปี รายงานผลตามเป้าหมาย/ตัวชี้วัด(แผนปฏิบัติราชการประจำปี) ค2 ก5 ข2 ข3 ค3 กำหนดผลผลิต/ตัวชี้วัด บริหารและติดตามความก้าวหน้าผลผลิต/ วิเคราะห์ต้นทุนผลผลิตและจัดทำงบประมาณ ข4 ค4 ค5 ง1 ง2 ง5 ง7 ง3 ง4 ง6 ทบทวน/ตรวจสอบ/ ประเมินผลการดำเนินงานโครงการที่ผ่านมา ริเริ่มและวิเคราะห์โครงการเบื้องต้น วิเคราะห์และวางแผน รายละเอียดโครงการ จัดทำคำของบประมาณโครงการ บริหารและติดตามความก้าวหน้า ของการดำเนินโครงการ ประเมินผลการใช้งานและการติดตาม/ ปรับปรุง/ แก้ไข
คู่มือการวางแผนและบริหารโครงการคู่มือการวางแผนและบริหารโครงการ สำหรับส่วนราชการ (Project management manual for Government Agency)
ความเป็นมาของเครื่องมือ PART และการบริหารโครงการ มติค.ร.ม.18 มีนาคม 2551: ให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐ นำเครื่องมือการวิเคราะห์การจัดการงบประมาณตามมติคณะรัฐมนตรีมาพิจารณาประกอบการดำเนินงาน ดังนี้ • การวิเคราะห์ความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้จ่ายงบประมาณ (Performance Assessment Rating Tool : PART) ตามหนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ด่วนที่สุด ที่นร 0506/23450 ลงวันที่ 12 ธันวาคม 2550 • การวางแผนและบริหารโครงการ ตามหนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ด่วนที่สุด ที่ นร 0506/4680 ลงวันที่ 29 มีนาคม 2550 • ...
โครงสร้างหลักของการวางแผนและบริหารโครงการโครงสร้างหลักของการวางแผนและบริหารโครงการ • ทบทวน/ตรวจสอบสถานภาพของโครงการ • ทบทวน/ตรวจสอบผลผลิต/ ผลลัพธ์/ ผลกระทบที่เกิดขึ้น 1. ทบทวน/ตรวจสอบ/ ประเมินผล การดำเนินงานโครงการที่ผ่านมา • พิจารณาที่มาโครงการกลุ่มเป้าหมายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • วิเคราะห์ความสอดคล้องเชิงยุทธศาสตร์ และความเหมาะสมเชิงเศรษฐกิจและสังคม • พิจารณาศักยภาพและความพร้อมของในการโครงการ 2. ริเริ่มโครงการใหม่ และการวิเคราะห์เบื้องต้น • พิจารณาขอบเขตและวัตถุประสงค์ของโครงการ • วิเคราะห์ผลผลิต/ผลลัพธ์/และหรือผลกระทบ • วิเคราะห์กระบวนการนำส่งผลผลิต และทรัพยากรที่ต้องใช้ในการดำเนินโครงการ • วิเคราะห์ความคุ้มค่าและผลประโยชน์ของโครงการ 3. วิเคราะห์และวางแผน รายละเอียดโครงการ • จัดลำดับความสำคัญของโครงการ • วิเคราะห์ต้นทุนและทบทวน/เปรียบเทียบกับโครงการอื่น • ประเมินความคุ้มค่า ผลประโยชน์ ผลกระทบที่จะได้รับ 4. การวิเคราะห์ และจัดสรรงบประมาณ • พิจารณาความคืบหน้าตามแผนปฏิบัติการและแผนงบประมาณ • ทบทวน/การปรับเปลี่ยนแผน (งาน งบประมาณ และระยะเวลา) • สรุปปัญหา อุปสรรค วิธีการแก้ไข และบทเรียน จากการดำเนินโครงการ 5. ติดตามความก้าวหน้า ของการดำเนินโครงการ • ประเมินผลผลิตและกระบวนการบริหารจัดการผลผลิต • ประเมินผลลัพธ์และติดตามผลกระทบที่เกิดขึ้น • สรุปปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้งาน แนวทางการแก้ไข และบทเรียนจากการใช้ประโยชน์โครงการ 6. ประเมินผลการใช้งาน และการติดตาม/ ปรับปรุง/ แก้ไข ที่มา: คู่มือการวางแผนและบริหารโครงการ สำนักงบประมาณ
กระบวนการปฏิบัติงาน “การวิเคราะห์โครงการ” ครม. /ครม.พิจารณาและขอความคิดเห็น สงป. ครม.ให้ความเห็นชอบในหลักการ ครม.พิจารณา คณก.ฯ คณก.พิเศษฯ พิจารณาและเสนอ ครม. คณก.พิเศษฯ แจ้งส่วนราชการดำเนินโครงการ ส่วนราชการ ส่วนราชการริเริ่ม ขออนุมัติหลักการ โครงการพิเศษ/ขนาดใหญ่ ส่วนราชการจัดทำโครงการพิเศษ/ขนาดใหญ่และงบประมาณ โครงการพิเศษ/ขนาดใหญ่ ส่วนราชการจัดทำโครงการและงบประมาณ โครงการลงทุนปกติ สำนักงบประมาณ 1. สงป.ติดตามและประเมินผลโครงการ/ โครงการพิเศษฯ 2. สงป.พิจารณาและจัดทำข้อคิดเห็นโครงการลงทุนพิเศษเสนอ ครม. 3. สงป.วิเคราะห์ความต้องการงบประมาณโครงการของส่วนราชการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
24 ขั้นตอนที่ 1 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ ส่วนราชการ ขั้นตอนที่ 2 การจัดทำแผนงบประมาณเชิงยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ ขั้นตอนที่ 3 การติดตามและประเมินผล กระบวนการพิจารณาพรบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี ทำความเข้าใจนโยบายรัฐบาลและแผนการบริหารราชการแผ่นดิน ทำความเข้าใจยุทธศาสตร์การจัดสรร /แนวทางการจัดสรร ตรวจสอบสภาวะแวดล้อมและกลุ่มเป้าหมาย ทำความเข้าใจกรอบภารกิจตามกฎหมาย ทำความเข้าใจนโยบาย รมต. จัดทำแผนปฏิบัติงาน/แผนการใช้จ่ายงบประมาณ และเบิกจ่ายงบประมาณ จัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (กำหนดเป้าหมาย/ตัวชี้วัด) จัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี (กำหนดเป้าหมาย/ตัวชี้วัด) ทบทวนผลการดำเนินงานที่ผ่านมา จัดทำความต้องการงบประมาณ 4 ปี กำหนดผลผลิต/กิจกรรม/ตัวชี้วัด จัดทำความต้องการงบประมาณประจำปี รายงานผลตามเป้าหมาย/ตัวชี้วัด(แผนปฏิบัติราชการประจำปี) กำหนดผลผลิต/ตัวชี้วัด บริหารและติดตามความก้าวหน้าผลผลิต/ วิเคราะห์ต้นทุนผลผลิตและจัดทำงบประมาณ ทบทวน/ตรวจสอบ/ ประเมินผลการดำเนินงานโครงการที่ผ่านมา ริเริ่มและวิเคราะห์โครงการเบื้องต้น วิเคราะห์และวางแผน รายละเอียดโครงการ จัดทำคำของบประมาณโครงการ บริหารและติดตามความก้าวหน้า ของการดำเนินโครงการ ประเมินผลการใช้งานและการติดตาม/ ปรับปรุง/ แก้ไข
แนวคิดและโครงสร้างระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ของสำนักงบประมาณแนวคิดและโครงสร้างระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ของสำนักงบประมาณ โดย ผศ.ดร.วุฒิพงศ์ เมืองน้อย ผศ.ดร.สันติ เจริญพรพัฒนา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มจธ. การบรรยาย 3 ฟอรั่ม วันพฤหัสบดีที่ 17 ธันวาคม 2552 เวลา 12.00 – 13.30 น.
ปัญหาที่พบในระบบงบประมาณปัญหาที่พบในระบบงบประมาณ
27 ปัญหาภาพรวมระบบงบประมาณ ด้านระบบ • ความคุ้นเคยกับระบบงบประมาณแบบเดิม (line item) ดังนั้น กระบวนการ/ขั้นตอน/เครื่องมือใหม่ๆของระบบงบประมาณ ก็ใช้เป็นเพียงกลไกเสริมไม่ใช่กลไกหลัก ทำให้ไม่สามารถจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ได้ • ขาดแผนและการปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติงาน เพื่อรองรับระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ • ระบบการให้ความช่วยเหลือทั้งภายในส่วนราชการและจากสำนักงบประมาณยังไม่สมบูรณ์ทำให้หน่วยงานต่างๆ เมื่อได้รับเอกสาร/คู่มือที่เกี่ยวข้องกับวิธีการงบประมาณ และขาดความเข้าใจ ไม่สามารถปรึกษาใครได้ ทำให้ทำงานแบบเดิม ๆ โดยให้สำนักงบประมาณเป็นผู้ตัดสินใจ • ข้อมูลประกอบการจัดการงบประมาณ (วางแผน จัดทำ ติดตามและประเมินผล) กระจัดกระจายอยู่ตามแหล่งต่างๆ ทำให้ยากต่อการใช้งาน เช่น MTEF top-down อยู่กับฝ่ายแผน ส่วน bottom-up จะอยู่กับกองคลังของส่วนราชการ ที่มา: โครงการศึกษาแนวทางการปรับปรุงระบบงบประมาณ, สำนักงบประมาณ
28 ปัญหาภาพรวมระบบงบประมาณ ด้านบุคลากร • ผู้บริหารระดับนโยบาย มุ่งหวังผลักดันสิ่งที่ตนประสงค์ให้บรรลุผลสำเร็จ ขาดการวิเคราะห์ความเหมาะสมตามกระบวนการจัดทำงบประมาณรายจ่าย ทำให้ไม่ให้ความสำคัญต่อข้อมูลและวิธีการงบประมาณแบบใหม่ ดังนั้น ผู้รับผิดชอบระดับปฏิบัติการของส่วนราชการ จึงไม่สามารถแปลงยุทธศาสตร์สู่ผลผลิต/โครงการได้ • ผู้ปฏิบัติให้ความสำคัญกับการได้งบประมาณเพื่อปฏิบัติตามภารกิจและกิจกรรม แต่ไม่ค่อยให้ความสำคัญกับการติดตามและประเมินผลการทำงาน ทำให้การติดตามการทำงานเน้นไปที่ความรวดเร็วในการเบิกจ่ายงบประมาณ และความสำเร็จของกิจกรรม ขาดการติดตามและประเมินผลผลิตและผลลัพธ์ ที่จะปรับปรุงการทำงานให้ดีขึ้น อันเป็นหัวใจสำคัญของระบบงบประมาณใหม่ • ระดับการประสานความรู้ความเข้าใจ ระหว่างบุคลากรของสำนักงบประมาณและส่วนราชการ มีความสำคัญอย่างยิ่ง ในการสื่อสารสร้างความเข้าใจและให้คำแนะนำเชิงระบบ • ผู้ปฏิบัติส่วนใหญ่ใช้ภารกิจประจำและงบประมาณ เป็นตัวตั้งในการเริ่มคิดเพื่อวางแผนและจัดทำงบประมาณ มากกว่าการแปลงเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด สู่ผลผลิต/โครงการและกิจกรรม ที่มา: โครงการศึกษาแนวทางการปรับปรุงระบบงบประมาณ, สำนักงบประมาณ
29 ปัญหาภาพรวมระบบงบประมาณ ด้านการบริหารจัดการ • การจัดการงบประมาณ (วางแผน จัดทำ ติดตามและประเมินผล) ยังคงเป็นแบบต่างคนต่างทำ ทำให้ไม่สามารถแปลงเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด สู่ผลผลิต/โครงการและกิจกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ • ผู้บริหารระดับสูง ไม่ได้ให้ความสำคัญกับการปรับปรุงระบบงบประมาณ ปล่อยให้เป็นหน้าที่ของภารกิจประจำ • ราชการส่วนภูมิภาคยังคงจัดการงบประมาณแบบเดิม เพราะขาดความรู้และทักษะในการจัดการงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ • ขาดการบูรณาการข้อมูลระหว่างราชการส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ส่งผลให้ขาดข้อมูลประกอบการจัดทำคำขอและวิเคราะห์งบประมาณที่มีประสิทธิภาพ ที่มา: โครงการศึกษาแนวทางการปรับปรุงระบบงบประมาณ, สำนักงบประมาณ
30 ประเด็นปัญหาสำคัญของเครื่องมืองบประมาณ ก. ความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ เป้าหมาย กลยุทธ์และผลผลิตกับงบประมาณ • ตัวชี้วัดความสำเร็จในระดับต่างๆ ไม่สะท้อน/สื่อถึงความสำเร็จตามเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ อย่างแท้จริง โดยทั่วไปจะใช้ตัวชี้วัดตามวิธีการเดิมๆ ที่ตนคุ้นเคย ที่ง่ายต่อการบรรลุผลสำเร็จ แต่ไม่สามารถบรรลุเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ได้ • การจัดสรรงบประมาณประจำปี สามารถระบุได้เพียงปริมาณเงินในแต่ละยุทธศาสตร์/กลยุทธ์ แต่ยังขาดความเชื่อมโยงระหว่างงบประมาณกับเป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จ • ขาดระบบติดตามและประเมินผลความสำเร็จ ตามเป้าหมาย/ยุทธศาสตร์และตัวชี้วัด ทำให้ขาดข้อมูล เพื่อใช้ในการปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์/กลยุทธ์ ทำให้ยากต่อการ redeploy การวางแผนฯ ตามพรฎ. การวางแผนงบประมาณ ผลกระทบ แผนการบริหารราชการแผ่นดิน ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ระดับชาติ ผลลัพธ์ แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี เป้าหมายการให้ บริการ 4 ปี (กระทรวง) แผนปฏิบัติราชการ 4 ปีหน่วยงาน เป้าหมายการให้ บริการ 4 ปี (หน่วยงาน) ผลผลิต แผนปฏิบัติราชการ ประจำปีหน่วยงาน เป้าหมายการให้ บริการ (หน่วยงาน) ประจำ ยุทธศาสตร์ ผลผลิต กลยุทธ์หน่วยงาน ตัวชี้วัด QQTC ที่มา: โครงการศึกษาแนวทางการปรับปรุงระบบงบประมาณ, สำนักงบประมาณ
31 ประเด็นปัญหาสำคัญของเครื่องมืองบประมาณ ข. โครงสร้างผลผลิต (Output Structure) • ขนาดของผลผลิตมีความแตกต่างกัน ทำให้เกิดความไม่สอดคล้องกับขนาดของงบประมาณ บางหน่วยงานจะกำหนดผลผลิตให้มีขนาดใหญ่ (มีทั้งเนื้องานเหมือนกันและต่างกัน) เพื่อความสะดวกในการโอนงบประมาณภายในผลผลิต บางหน่วยงานจะกำหนดผลผลิตให้มีขนาดเล็ก ระดับสำนัก/กอง เพื่อความสะดวกในการจัดทำงบประมาณ • ผลผลิตได้รับการทบทวน เพื่อประโยชน์ในการใช้จ่ายงบประมาณ มากกว่าการบรรลุผลสำเร็จตามนโยบาย/พันธกิจของกระทรวง • ส่วนราชการให้ความสำคัญกับการกำหนดตัวชี้วัดผลผลิตน้อยโดยส่วนใหญ่จะให้ความสำคัญกับตัวชี้วัดระดับกิจกรรม เพราะมี ก.พ.ร. เข้ามากำกับดูแลอย่างใกล้ชิดและผูกกับ Bonus ของส่วนราชการ ที่มา: โครงการศึกษาแนวทางการปรับปรุงระบบงบประมาณ, สำนักงบประมาณ
32 ประเด็นปัญหาสำคัญของเครื่องมืองบประมาณ ตัวชี้วัด QQTC ค. ต้นทุนผลผลิต (Output Costing) • ขาดการแยกกิจกรรมหลัก กิจกรรมรองและกิจกรรมสนับสนุน เพราะบุคลากรและครุภัณฑ์ถูกนำไปใช้ในหลายกิจกรรม ทำให้ยากต่อการบันทึกค่าใช้จ่าย • ระบบบัญชีของส่วนราชการและกองคลัง ไม่เป็นระบบบัญชีแบบแยกกิจกรรม ทำให้การบันทึกและจัดทำต้นทุนผลผลิตเป็นไปได้ยาก ผลผลิต กิจกรรมหลัก กิจกรรมรอง กิจกรรมสนับสนุน งบรายจ่ายอื่น ๆ Variable Budget งบอุดหนุน งบเงินลงทุน งบดำเนินการ Fixed Budget งบบุคลากร งบผลผลิต • ส่วนราชการมักจะรักษาฐานกิจกรรม/งบประมาณเดิม ทำให้ยากต่อการปรับปรุงกระบวนการนำส่งผลผลิต และจัดทำเป้าหมายต้นทุนผลผลิต (cost targeting) ที่มา: โครงการศึกษาแนวทางการปรับปรุงระบบงบประมาณ, สำนักงบประมาณ
33 ประเด็นปัญหาสำคัญของเครื่องมืองบประมาณ ง. การวางแผนและบริการโครงการ (Project Management) • การใช้วิธีการดำเนินงานแบบงานประจำในการออกแบบและดำเนินโครงการ ทำให้ไม่เห็นความสำคัญของการทบทวนโครงการ รวมทั้งขาดแนวคิดที่จะสร้าง/นวัตกรรมวิธีการทำงานใหม่ๆ เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของโครงการ • การเขียนโครงการขาดการระดมข้อมูลและความคิดจากผู้ปฏิบัติ ทำให้เป้าหมายการบริหารและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของโครงการไม่ชัดเจน • สำหรับงานส่วนใหญ่ส่วนราชการจะจ้างที่ปรึกษามาจัดทำข้อมูลและวิเคราะห์ความคุ้มค่าโครงการ เพื่อผลักดันโครงการมากกว่าการทำให้โครงการเกิดประโยชน์และความคุ้มค่า • โครงการส่วนใหญ่ ถูกจัดลำดับความสำคัญจากนโยบายและการสั่งการ มากกว่าความพร้อมในการดำเนินโครงการ ความคุ้มค่าและประโยชน์ของโครงการ ทำให้หลายโครงการไม่สามารถดำเนินการได้ตามแผน หรือไม่เกิดการใช้ประโยชน์ตามเป้าหมายโครงการ • การจัดสรรงบประมาณให้แก่โครงการที่ขาดความพร้อม ทำให้โครงการไม่สามารถดำเนินงานได้ตามแผน • การขยายผลโครงการ เกิดจากการเยี่ยมชมจากผู้บริหารระดับสูง มากกว่าการประเมินผลสำเร็จของโครงการ ที่มา: โครงการศึกษาแนวทางการปรับปรุงระบบงบประมาณ, สำนักงบประมาณ
34 (MTEF Top Down) รายได้ ประมาณการทางเศรษฐกิจ รายจ่าย งบยุทธศาสตร์ งบยุทธศาสตร์ งบประมาณแผ่นดิน MTEF ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ระดับชาติ งบยุทธศาสตร์ (MTEF Bottom Up) เป้าหมายการให้ บริการ 4 ปี (กระทรวง) งบประจำ งบประจำ งบประจำ งบประจำ xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx เป้าหมายการให้ บริการ 4 ปี (หน่วยงาน) 1# 1# 1# 1# 2# 2# 2# 2# 3# 3# 3# 3# 4# 4# 4# 4# งบยุทธศาสตร์ เป้าหมายการให้ บริการ (หน่วยงาน) ผลผลิต โครงการ ตัวชี้วัด QQTC ตัวชี้วัด QQTC ประเด็นปัญหาสำคัญของเครื่องมืองบประมาณ จ. การจัดทำงบประมาณระยะปานกลาง (MTEF) • ขาดการให้ความสำคัญกับการจัดทำกรอบวงเงินงบประมาณระยะปานกลาง (MTEF) เพราะ MTEF ไม่ใช่ปัจจัยสำคัญในการกำหนดวงเงินงบประมาณประจำปี การจัดทำ MTEF ของส่วนราชการจะใช้วิธีเพิ่มสัดส่วนรายปี (%ที่เพิ่มขึ้น) • การขาดการจัดเก็บและบูรณาการข้อมูลงบประมาณ เพื่อจัดทำ MTEF อย่างเป็นระบบ ทั้งในระดับ top-down เช่น โครงการตามนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนแม่บทต่างๆ และ bottom-up เช่น กิจกรรมและผลผลิตตามภารกิจของส่วนราชการ ทำให้ยากต่อการจัดทำ MTEF ที่เหมาะสม • วิธีการจัดทำ MTEF ในส่วนราชการ มีความแตกต่างกัน ขาดมาตรฐาน/คู่มือการดำเนินงานที่ระบุช่วงเวลา ขั้นตอนและวิธีการ ทำให้หลายส่วนราชการจะรวมทุกโครงการ/กิจกรรมที่ต้องการ ส่งผลให้กรอบวงเงินงบประมาณสูงเกินความเป็นจริงมาก • การจัดทำกรอบวงเงิน MTEF ขาดการประเมินผลความสำเร็จของโครงการขนาดใหญ่ตามนโยบาย/ยุทธศาสตร์ (คงสภาพ เพิ่มขนาด ลดขนาด หรือ ยกเลิก) ส่งผลต่อความสมเหตุสมผลในการจัดทำกรอบวงเงิน MTEF (ผลงานไม่ประสบความสำเร็จ ยังคงขอวงเงินเพิ่ม) ที่มา: โครงการศึกษาแนวทางการปรับปรุงระบบงบประมาณ, สำนักงบประมาณ
35 ประเด็นปัญหาสำคัญของเครื่องมืองบประมาณ ฉ. การวิเคราะห์ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้งบประมาณ (Performance Assessment Rating Tool: PART) • ส่วนราชการไม่ให้ความสำคัญกับการประเมินตามระบบ PART เพราะไม่ทราบว่าผลการประเมินจาก PART จะส่งผลอย่างไรต่อการจัดสรรงบประมาณ ทำให้ส่วนใหญ่เห็นเป็นภาระในการจัดเก็บข้อมูลและเอกสารในขณะที่ก.พ.ร.ประยุกต์ใช้ Balanced Scorecardประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อประกอบการตัดสินใจการให้เงินรางวัลส่วนราชการ (Bonus) • การแยกระบบ PART ออกจากขั้นตอนการวางแผน การจัดทำ การติดตามและประเมินผลงบประมาณ ทำให้ยากต่อการปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดการงบประมาณ ควรใช้การประเมินตามระบบ PART ควบคู่ไปกับขั้นตอนการวางแผนและการจัดทำงบประมาณ • การประเมินตามระบบ PART ยังคงผูกติดกับหน่วยงานประเมินผลหรืองบประมาณ ทำให้ PART ไม่สามารถเข้าไปช่วยปรับปรุงขั้นตอน/วิธีการทำงานของหน่วยปฏิบัติตลอดทาง ตั้งแต่การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ การจัดการงบประมาณ และการประเมินผลผลิต/ผลลัพธ์ • ขาดการมีส่วนร่วมของผู้บริหารระดับสูง ในการตัดสินใจปรับปรุงวิธีการดำเนินงาน ตามข้อเสนอแนะจากผลการประเมินของ PART เนื่องจากข้อเสนอแนะส่วนใหญ่ เป็นข้อเสนอแนะที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนระบบการดำเนินงานและการบริหารจัดการ เช่น การรวมผลผลิตเข้าด้วยกัน ที่มา: โครงการศึกษาแนวทางการปรับปรุงระบบงบประมาณ, สำนักงบประมาณ
36 ความสำเร็จในการจัดการงบประมาณ แบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ • ความเข้าใจพื้นฐานขององค์ประกอบ เครื่องมืองบประมาณ และความเชื่อมโยงโดยรวมของระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ • ความเข้าใจในขั้นตอนการปฏิบัติงานและปฏิสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานตามระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ • ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ที่ชัดเจนในแต่ละขั้นตอนของแต่ละส่วนราชการและสำนักงบประมาณ เพื่อใช้ระบบงบประมาณเป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนภารกิจของส่วนราชการอย่างมีประสิทธิภาพ • ความพร้อมของข้อมูลสำคัญที่จำเป็นต้องใช้ในแต่ละขั้นตอนงบประมาณ ที่มา: โครงการศึกษาแนวทางการปรับปรุงระบบงบประมาณ, สำนักงบประมาณ
การปฏิบัติงานที่ครบวงจรงบประมาณตามระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานการปฏิบัติงานที่ครบวงจรงบประมาณตามระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน 1. การจัดทำนโยบายรัฐบาล 4. การกำหนดกรอบวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปี 3. การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ ส่วนราชการ (แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี) 2. การจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน (4 ปี) 1 2 3 ครม.กำหนด นโยบายรัฐบาล และแถลงต่อสภาฯ 4 รัฐบาล ครม.ให้ ความเห็นชอบ แผนการบริหาร ราชการแผ่นดิน ครม.ให้ ความเห็นชอบ กรอบวงเงินงบประมาณ สรุปสภาวะประเทศ คณก.สรุปสภาวะประเทศฯ คณก.รวบรวม ข้อมูลฯ รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับแผนการบริหารราชการแผ่นดิน คณก.จัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน จัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน กำหนดกรอบวงเงินงบ ประมาณ สงป. วิเคราะห์ MTEFTop-down ตาม แผนการบริหารราชการแผ่นดิน พิจารณาMTEF - Top-down - Bottom-up วิเคราะห์ MTEFBottom-up ของส่วนราชการ กค. ธปท. ขั้นตอนที่ 6จัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี ส่วนราชการ ร่วมจัดทำ/ ให้ข้อมูล รมต.ให้นโยบาย รมต.อนุมัติแผน 4 ปี ข้อมูลย้อนกลับ จากขั้นตอนที่ 8 การติดตามและประเมินผล จัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี 37
วิเคราะห์ คำของบ ประมาณ การ พิจารณา ของสภาฯ แผนปฏิบัติราชการประจำปี 4 ปี จากขั้นตอนที่ 3 ส่วนราชการชี้แจง การปฏิบัติงานที่ครบวงจรงบประมาณตามระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน 5. การกำหนดทิศทางการจัดสรรงบประมาณเชิงยุทธศาสตร์ (ยุทธศาสตร์การจัดสรรฯ) 6. การจัดทำแผนงบประมาณเชิงยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ (คำของบประมาณ) 7. การจัดสรรงบประมาณ เชิงยุทธศาสตร์ 8. การติดตามและประเมินผล สภาให้ความเห็นชอบ 5 6 7 8 รัฐบาล ครม.ให้ ความเห็นชอบ ยุทธศาสตร์จัดสรร ครม.ปรับปรุง/เห็นชอบเสนอสภาฯ คณก.สรุปสภาวะประเทศฯ คณก.รวบรวม ข้อมูลฯ คณก.จัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน สงป. กำหนดยุทธศาสตร์จัดสรร/ปฏิทินงบประมาณ แจ้งส่วนราชการ ติดตามประเมินผล กค. ธปท. ส่วนราชการ จัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี รมต.ให้ความเห็นชอบ เบิกจ่ายงบประมาณดำเนินการและติดตามประเมินผล • ข้อมูลย้อนกลับไป • ขั้นตอนที่ 1 การจัดทำนโยบายรัฐบาล • ขั้นตอนที่ 3 จัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี จัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี 38
ความเชื่อมโยงองค์ประกอบสำคัญของความเชื่อมโยงองค์ประกอบสำคัญของ ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานทั้งระบบ (MTEF Top Down) งบยุทธศาสตร์ งบยุทธศาสตร์ 4# 4# 4# 3# 3# 3# 2# 2# 2# 1# 1# 1# งบยุทธศาสตร์ งบประจำ งบประจำ งบประจำ งบประจำ xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx 1# 1# 1# 1# 2# 2# 2# 2# 3# 3# 3# 3# 4# 4# 4# 4# 1# งบยุทธศาสตร์ 4. การกำหนดกรอบวงเงิน งบประมาณรายจ่ายประจำปี (Budget Ceiling Establishment) รายได้ ประมาณการทางเศรษฐกิจ รายจ่าย 1 PEM 1. การจัดทำ นโยบายรัฐบาล (National Policy Formulation) 2. การจัดทำแผน การบริหารราชการแผ่นดิน (National Administrative Plan Formulation) 5 2 4 งบประมาณแผ่นดิน 5. การกำหนดทิศทาง การจัดสรรงบประมาณ เชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Budget Direction) ทิศทางเชิงนโยบาย การวางแผนฯ ตามพรฎ. การวางแผนงบประมาณ MTEF ระดับชาติ ระดับชาติ ผลกระทบ แผนการบริหารราชการแผ่นดิน นโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ระดับชาติ แผนพัฒนาประเทศด้านต่าง ๆ เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ระดับชาติ ผลลัพธ์ 3 3. การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ส่วนราชการ (Strategic Planning) ระดับกระทรวง (MTEF Bottom Up) นโยบายรัฐมนตรี แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี เป้าหมายการให้ บริการ 4 ปี (กระทรวง) ระดับกระทรวง แผนปฏิบัติราชการ 4 ปีหน่วยงาน เป้าหมายการให้ บริการ 4 ปี (หน่วยงาน) ระดับกรม/หน่วยงาน ระดับกรม ผลผลิต แผนปฏิบัติราชการ ประจำปีหน่วยงาน เป้าหมายการให้ บริการ (หน่วยงาน) 6. การจัดทำแผนงบประมาณเชิงยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ (Strategic Budget Planning) 6 ประจำ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์หน่วยงาน ตัวชี้วัด QQTC ผลผลิต โครงการ 8 ตัวชี้วัด QQTC 8. การติดตาม และ ประเมินผล (Monitoring & Evaluation) กิจกรรมหลัก กิจกรรมรอง กิจกรรมสนับสนุน Actual ติดตามประเมินผล งบรายจ่ายอื่น ๆ Variable Budget งบอุดหนุน งบเงินลงทุน งบดำเนินการ Fixed Budget ดำเนินการ งบบุคลากร 7. การจัดสรรงบประมาณเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Budget Allocation) 7 งบผลผลิตตามพันธกิจ งบโครงการตามยุทธศาสตร์ ความต้องการงบประมาณ อนุมัติงบประมาณ เบิกจ่าย/ดำเนินการ
มิติ ก. จุดมุ่งหมายและรูปแบบ เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ (ระดับชาติ) ตัวชี้วัด มิติ จ. การประเมินผล ในระดับผลผลิต/ผลลัพธ์ เป้าหมายการให้บริการ (ระดับกระทรวง) ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด เป้าหมายการให้บริการ (ระดับกรม/หน่วยงาน) มิติ ข. การวางแผนกลยุทธ์ กลยุทธ์ กลยุทธ์ ผลผลิต ผลผลิต โครงการ (ระดับผลผลิต) ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด มิติ ค. ความเชื่อมโยงงบประมาณ กิจกรรม กิจกรรม โครงการย่อย โครงการย่อย ต้นทุนกิจกรรม ต้นทุนกิจกรรม ต้นทุนผลผลิต ต้นทุนผลผลิต ต้นทุนโครงการ มิติ ง. การบริหารจัดการ การดำเนินงาน/การใช้งบประมาณ
41 เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ (ระดับชาติ) ตัวชี้วัด มิติ ก. จุดมุ่งหมายและรูปแบบ ก2 เป้าหมายการให้บริการ (ระดับกระทรวง) ตัวชี้วัด ความเข้าใจในเป้าหมายระดับชาติ/ระดับกระทรวงที่ ส่วนราชการรับผิดชอบ ตัวชี้วัดเป้าหมาย การให้บริการต้องสอดคล้องกับตัวชี้วัดเป้าหมายระดับสูง ก1 ตัวชี้วัด เป้าหมายการให้บริการ (ระดับกรม /หน่วยงาน) เป้าหมายการให้บริการมาจากความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ผลผลิต/โครงการตอบสนองต่อเป้าหมายระดับสูงและความต้องการของกลุมเป้าหมาย และไม่ซ้ำซ้อนกับผลผลิตหน่วยงานอื่น ก3 กลยุทธ์ กลยุทธ์ ก4 ก5 ผลผลิต ผลผลิต โครงการ (ระดับผลผลิต) ตัวชี้วัด กิจกรรม กิจกรรม โครงการย่อย โครงการย่อย ต้นทุนกิจกรรม ต้นทุนกิจกรรม ก6 คำนึงถึงอุปสรรคและข้อจำกัดต่อการนำส่งผลผลิต ต้นทุนผลผลิต ต้นทุนผลผลิต ต้นทุนโครงการ การดำเนินงาน/การใช้งบประมาณ
42 เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ (ระดับชาติ) ตัวชี้วัด มิติ ข. การวางแผนกลยุทธ์ ข7 เป้าหมายการให้บริการ (ระดับกระทรวง) ตัวชี้วัด วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงยุทธศาสตร์และสภาวแวดล้อม ข1 แสดงความเชื่อมโยง ในการถ่ายทอดจากเป้าหมายยุทธศาสตร์ระดับชาติไปสู่ผลผลิต/กิจกรรม ข3 ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดเป้าหมายการให้บริการมีความท้าทายและกำหนดเป้าหมายในระยะยาว ตัวชี้วัด เป้าหมายการให้บริการ (ระดับกรม /หน่วยงาน) กลยุทธ์ กลยุทธ์ ข2 ผลผลิต ผลผลิต โครงการ (ระดับผลผลิต) ตัวชี้วัด กำหนดเป้าหมายตัวชี้วัดระดับผลผลิตระยะยาว (4ปี) ข4 กิจกรรม กิจกรรม กำหนดเป้าหมายตัวชี้วัดผลผลิตรายปี (QQTC) โครงการย่อย โครงการย่อย ข5 ข6 กำหนดแนวทางการประสานความร่วมมือการดำเนินงานและการประเมินผลการปฏิบัติงาน ต้นทุนกิจกรรม ต้นทุนกิจกรรม ต้นทุนผลผลิต ต้นทุนผลผลิต ต้นทุนโครงการ การดำเนินงาน/การใช้งบประมาณ
43 เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ (ระดับชาติ) ตัวชี้วัด มิติ ค. ความเชื่อมโยงงบประมาณ เป้าหมายการให้บริการ (ระดับกระทรวง) ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด เป้าหมายการให้บริการ (ระดับกรม /หน่วยงาน) ค5 พิจารณาผลการปฏิบัติที่ผ่านมาเพื่อปรับเป้าหมายตัวชี้วัดผลผลิต กลยุทธ์ กลยุทธ์ ค1 กำหนดเป้าหมายตัวชี้วัดผลผลิตรายปีที่เชื่อมโยงไปสู่ความสำเร็จในปีสุดท้าย (ปีที่ 4) ผลผลิต ผลผลิต โครงการ (ระดับผลผลิต) ตัวชี้วัด กิจกรรม กิจกรรม ค2 ค3 โครงการย่อย กำหนดกิจกรรมหลัก ตัวชี้วัด และเชื่อมโยงสู่ทรัพยากรที่ต้องการ (งบประมาณ/บุคลากร) โครงการย่อย ต้นทุนกิจกรรม ต้นทุนกิจกรรม ค4 วิเคราะห์ต้นทุน ต้นทุนผลผลิต ต้นทุนผลผลิต ต้นทุนโครงการ การดำเนินงาน/การใช้งบประมาณ
มิติ ง. การบริหารจัดการ เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ (ระดับชาติ) ตัวชี้วัด เป้าหมายการให้บริการ (ระดับกระทรวง) ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด เป้าหมายการให้บริการ (ระดับกรม/หน่วยงาน) ง7 ง5 มีการประเมินบุคคลผู้รับผิดชอบผลผลิต มีกระบวนการจัดการที่ช่วยวัดผลการดำเนินงาน กลยุทธ์ กลยุทธ์ ผลผลิต ผลผลิต โครงการ (ระดับผลผลิต) ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ง3 นำข้อมูลผลผลิตใช้ในการบริหารจัดการ และปรับปรุงการดำเนินงาน กิจกรรม กิจกรรม โครงการย่อย ง4 โครงการย่อย นำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต ไปใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการ ง2 จัดทำระบบรายงานข้อมูลย้อนกลับของแต่ละผลผลิต ต้นทุนกิจกรรม ต้นทุนกิจกรรม ต้นทุนผลผลิต ต้นทุนผลผลิต ต้นทุนโครงการ ง1 จัดทำและบริหารแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี ง6 มีรายงานผลการตรวจสอบทางการเงิน การดำเนินงาน/การใช้งบประมาณ
จ3 มิติ จ. การประเมินผลในระดับผลผลิต/ผลลัพธ์ ความคุ้มค่าเชิงเศรษฐกิจและ/หรือสังคม เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ (ระดับชาติ) ตัวชี้วัด เป้าหมายการให้บริการ (ระดับกระทรวง) ตัวชี้วัด จ1 จ5 เปรียบเทียบผลลัพธ์ที่ได้ กับเป้าหมายผลลัพธ์ระยะยาว ประเมินผลจาก ผู้ประเมินอิสระ ตัวชี้วัด เป้าหมายการให้บริการ (ระดับกรม/หน่วยงาน) กลยุทธ์ กลยุทธ์ จ4 เปรียบเทียบผลผลิตและเป้าหมายผลผลิตกับส่วนราชการฯ และหน่วยงานเอกชนอื่น ผลผลิต ผลผลิต โครงการ (ระดับผลผลิต) ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด จ2 เปรียบเทียบผลผลิตที่ได้ กับเป้าหมายผลผลิตประจำปี กิจกรรม กิจกรรม โครงการย่อย โครงการย่อย ต้นทุนกิจกรรม ต้นทุนกิจกรรม ต้นทุนผลผลิต ต้นทุนผลผลิต ต้นทุนโครงการ การดำเนินงาน/การใช้งบประมาณ
46 ขั้นตอนที่ 1 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ ส่วนราชการ ขั้นตอนที่ 2 การจัดทำแผนงบประมาณเชิงยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ ขั้นตอนที่ 3 การติดตามและประเมินผล กระบวนการพิจารณาพรบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี ทำความเข้าใจนโยบายรัฐบาลและแผนการบริหารราชการแผ่นดิน ทำความเข้าใจยุทธศาสตร์การจัดสรร /แนวทางการจัดสรร ตรวจสอบสภาวะแวดล้อมและกลุ่มเป้าหมาย ทำความเข้าใจกรอบภารกิจตามกฎหมาย ทำความเข้าใจนโยบาย รมต. จัดทำแผนปฏิบัติงาน/แผนการใช้จ่ายงบประมาณ และเบิกจ่ายงบประมาณ จัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (กำหนดเป้าหมาย/ตัวชี้วัด) จัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี (กำหนดเป้าหมาย/ตัวชี้วัด) ทบทวนผลการดำเนินงานที่ผ่านมา จัดทำความต้องการงบประมาณ 4 ปี กำหนดผลผลิต/กิจกรรม/ตัวชี้วัด จัดทำความต้องการงบประมาณประจำปี รายงานผลตามเป้าหมาย/ตัวชี้วัด(แผนปฏิบัติราชการประจำปี) กำหนดผลผลิต/ตัวชี้วัด บริหารและติดตามความก้าวหน้าผลผลิต/ วิเคราะห์ต้นทุนผลผลิตและจัดทำงบประมาณ ทบทวน/ตรวจสอบ/ ประเมินผลการดำเนินงานโครงการที่ผ่านมา ริเริ่มและวิเคราะห์โครงการเบื้องต้น วิเคราะห์และวางแผน รายละเอียดโครงการ จัดทำคำของบประมาณโครงการ บริหารและติดตามความก้าวหน้า ของการดำเนินโครงการ ประเมินผลการใช้งานและการติดตาม/ ปรับปรุง/ แก้ไข