1 / 56

จะทำอะไรในปี 56 - 59

จะทำอะไรในปี 56 - 59. สายงานอนามัยสิ่งแวดล้อม. สถานการณ์. บทบาทและพันธกิจกรมอนามัย. แนวโน้ม. ปัญหาและความคาดหวัง. ประเด็นยุทธ์ฯ. กฎหมาย. เวทีรับความเห็นจากผู้มีส่วนได้เสีย. ผลกระทบจากระดับสากล. ความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย. 5 บริบทการเปลี่ยนแปลงหลัก.

macha
Download Presentation

จะทำอะไรในปี 56 - 59

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. จะทำอะไรในปี 56 - 59 • สายงานอนามัยสิ่งแวดล้อม

  2. สถานการณ์ บทบาทและพันธกิจกรมอนามัย แนวโน้ม ปัญหาและความคาดหวัง ประเด็นยุทธ์ฯ กฎหมาย เวทีรับความเห็นจากผู้มีส่วนได้เสีย ผลกระทบจากระดับสากล ความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย

  3. 5 บริบทการเปลี่ยนแปลงหลัก • การเปลี่ยนแปลงของบริบทการพัฒนาภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ 1. การรวมตัวของกลุ่มเศรษฐกิจและการเปลี่ยนแปลงในตลาดการเงินโลก 2. การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอย่างก้าวกระโดด 3. การเปลี่ยนแปลงด้านสังคม 4. การเคลื่อนย้านของคนอย่างเสรี 5. การเปลี่ยนแปลงด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

  4. สถานการณ์และแนวโน้ม • การค้าและระบบเศรษฐกิจของโลก • ความเป็นเมือง • การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ • ปัญหาสุขภาพจากมลพิษและปัญหาอุบัติใหม่ • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย • การกระจายอำนาจ • เทคโนโลยี

  5. สถานการณ์และแนวโน้ม • ความตื่นตัวภาคประชาชน • การจัดทำงบประมาณระดับจังหวัด • สังคมผู้สูงอายุ • ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ • สังคมคุณภาพ • เศรษฐกิจพอเพียง

  6. Thailand การเปลี่ยนแปลงที่ผ่านมาของกระแสโลก: การค้า การเปลี่ยนแปลงที่ผ่านมาของกระแสโลก: การค้า CAFTA-DR Costa Rica, Guatemala, El Salvador, Honduras, Nicaragua, Dominican Republic BIMSTEC FTA APEC (FTAAP) NAFTA The United States APTA Canada SAARC (SAFTA) Mexico Bhutan Nepal Bangladesh Sri Lanka Chile, Hong Kong, Chinese Taipei Papua New Guinea, Peru, Russia Maldives Pakistan ASEAN+6 (CEPEA) India ASEAN+3 (EAFTA) ANZCERTA Northeast Asian FTA Australia New Zealand Korea China Japan AEC Current Regional Agreement Laos Brunei Philippines Vietnam Singapore Malaysia, Indonesia Myanmar Cambodia Proposed Regional Agreement AFTA: ASEAN Free Trade Area APTA: Asia Pacific Trade Agreement (Known as Bangkok Agreement BIMSTEC: Bay of Bangal Initiative for Multi-Sectoral Technical and Economic Cooperation CEPEA: Comprehensive Economic Partnership in East Asia FTAAP: Free Trade Area of the Asia-Pacific SAARC: South Asian Association for Regional Cooperation ANZCERTA: Australia & New Zealand Closer Economic Relations Trade Agreement APEC: Asia Pacific Economic Cooperation ASEAN: Association of Southeast Asian Nations CAFTA-DR: Central America Free Trade Agreement and The Dominican Republic EAFTA: East Asia Free Trade Area NAFTA: North America Free Trade Area SAFTA: South Asian Free Trade Area

  7. สัดส่วนประชากรเมืองของไทยจะเพิ่มสูงขึ้น ประชากรชนบทลดลง 35%

  8. ที่มา: กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (พ.ศ. 2543) ที่มา: World Resource Institute, 2000 ที่มา: บริษัท อีอาร์เอ็ม-สยาม จำกัด (พ.ศ. 2548) • ไทยปล่อยก๊าซเรือนกระจกเพิ่มขึ้นร้อยละ 20 ในช่วงปี พ.ศ. 2537-2546 และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง… พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2546 พ.ศ. 2537

  9. ผลกระทบที่ตามมา :คืออุณหภูมิของโลกสูงขึ้นก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ(Climate change)ซึ่งส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม ต่อเศรษฐกิจและสังคม และต่อการสาธารณสุข

  10. การนำเข้าและผลิตสารเคมีในประเทศไทย(ล้านตัน)

  11. ผู้ป่วยเนื่องจากสารเคมีภาคอุตสาหกรรม(ราย)ผู้ป่วยเนื่องจากสารเคมีภาคอุตสาหกรรม(ราย)

  12. ผู้ป่วยเนื่องจากสารอันตรายภาคเกษตรกรรม(ราย)ผู้ป่วยเนื่องจากสารอันตรายภาคเกษตรกรรม(ราย)

  13. รัฐธรรมนูญไทย ๒๕๕๐ • -ม. ๕๑ : สิทธิเสมอกันที่จะรับบริการ สธ.ที่ได้ Std. การขจัด-ม. ๕๒-๕๕ : สิทธิเด็กเยาวชน/สตรี/ผู้สูงอายุ/คนพิการ/ผู้ยากไร้-ม.๘๐ : รัฐต้องคุ้มครองกลุ่มบุคคลด้านสวัสดิการ/การสาธารณสุข/ การศึกษา/การกระจายอำนาจ/การวิจัย/ศิลปวัฒนธรรม • -ม.๖๖ : สิทธิในการอนุรักษ์ จัดการ บำรุง การใช้ทรัพยากร/สวล.-ม.๖๗ : ร่วมกับรัฐรักษาคุณภาพ สวล. /โครงการต้องได้รับการ ประเมิน EHIA /สิทธิในการฟ้องรัฐ-ม.๘๕ : รัฐต้องดูแล ๑)การใช้ที่ดิน ๒)การกระจายการถือครอง ๓)การผังเมือง ๔)การจัดการทรัพย์น้ำ ๕)ควบคุมกำจัด มลภาวะ เพื่อสุขภาพโดย ปชช./ชุมชนท้องถิ่น/อปท.ร่วม

  14. แนวความคิดในการปฏิรูปประเทศไทยแนวความคิดในการปฏิรูปประเทศไทย • การปฏิรูปการจัดสรรทรัพยากรที่อย่างเป็นธรรมและยั่งยืน • โครงสร้างการจัดการทรัพยากรทะเลและชายฝั่ง • การคืนความเป็นธรรมให้แก่ประชาชนกรณีที่ดินและทรัพยากร • การปฏิรูประบบประกันสังคมเพื่อความเป็นธรรม • การสร้างระบบประกัน/ระบบสังคมที่เสริมสร้างสุขภาวะของผู้สูงอายุ • การสร้างสังคมที่คนไทยอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน • การปฏิรูปการกระจายอำนาจ/พัฒนาศักยภาพชุมชนท้องถิ่นเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในสังคม • ศิลปวัฒนธรรมกับการสร้างสรรค์และเยียวยาสังคม

  15. WII การเปลี่ยนแปลงที่ผ่านมาของกระแสโลก: เทคโนโลยี 1980 2000 1990 6 13 สิงหาคม 2551 WWW.NESDB.GO.TH

  16. ปรากฎการณ์การตื่นตัวภาคประชาชนปรากฎการณ์การตื่นตัวภาคประชาชน • การรวมกลุ่มตามพื้นที่และประเด็น • การรวมตัวเป็นเครือข่าย และ แบ่งปันการเรียนรู้ • การมีบทบาทต่อสาธารณะ ในฐานะพลเมือง ตามรัฐธรรมนูญฯ • คดีทางปกครอง (ศาลปกครอง)

  17. แผนยุทธศาสตร์พัฒนาจังหวัดแผนยุทธศาสตร์พัฒนาจังหวัด • จัดให้มีกลุ่มจังหวัด • แผนยุทธศาสตร์พัฒนาจังหวัด • กำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จระดับจังหวัด • จัดทำงบประมาณเอง แทน การรับงบประมาณจากส่วนกลาง(บางส่วน)

  18. ประชากรวัยเด็กและผู้สูงอายุ พ.ศ. 2548 - 2583 จำนวน (ล้านคน) 26.9 % 25.1 % 22.7 % 23.0 % 20.7 % 19.8 % 19.0 % 17.2 % 16.8 % 16.0 % 15.1 % 64.1% 62.2% 60.5% 66.0% 67.0% 66.7% 67.4% 14.4 % 14.0 % 13.8 % 11.8 % 10.3 % ปี พ.ศ. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University

  19. สถิติผู้สูงอายุในประเทศไทยร้อยละของผู้สูงอายุในประเทศไทย พ.ศ.2538-2563 ทั่วราชอาณาจักร แหล่งที่มา : กองวางแผนทรัพยากรมนุษย์ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

  20. ผลกระทบจาก - กฎกติการะหว่างประเทศ ประเทศ ไทย ส่งผล พัฒนาระบบการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม International - BASEL -CODEX - IHR - Water for Life - Agenda 21 - Bangkok Charter - Rio + 20 Regional -ASEAN - AEC -APEC การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม Bilateral การค้าทวิภาคี - จีน ญี่ปุ่น - EU

  21. What is you measure is what you manage. TQM Total Quality Management QA Quality assurance TQM QC QA QC Inspection What is “quality” ? TQM: Total Quality Management QA: Quality Assurance QC: Quality Control Inspection

  22. ขยะมูลฝอย

  23. ประเด็นปัญหาสำคัญ อาหาร ปนเปื้อนชีวภาพ เคมี โครงสร้างแหล่งจำหน่าย สุขวิทยาส่วนบุคคล อุบัติการณ์โรคอาหารเป็นพิษยังสูง        (แม้ลดลงในช่วง ๕ ปีที่ผ่านมา) วิถีบริโภคคนเมืองเร่งรีบ ไร้ทางเลือกและไม่เลือก AEC อาจทำให้เกิดสถานที่จำหน่ายอาหารมากขึ้น รูปแบบการบริการหลากหลาย ควบคุมยาก น้ำบริโภค  ตู้น้ำหยอดเหรียญในเขตเมืองไม่ได้คุณภาพ  ประปาอปท. ไม่มีคุณภาพ  การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอาจทำให้แล้ง หรือน้ำม่วม ขาดแคลนน้ำดื่มสะอาด) สิ่งปฏิกูล  กว่า ๖๐% ของอปท. ที่ไม่มีระบบบำบัด /มีระบบแต่ไม่ใช้ระบบอย่างถูกสุขลักษณะ ไม่ได้ควบคุมการขนส่งรถดูดส้วม การใช้ประโยชน์จากสิ่งปฏิกูล? มูลฝอย     ๖๒% ของขยะที่ได้รับการจัดการไม่ถูกต้อง  ท้องถิ่นไม่มีระบบกำจัด /ขาดงบประมาณ  ต้นทุนการสร้างกำจัดขยะสูง  ไม่มีสถานที่  กฎหมายไม่เอื้อให้จัดเก็บค่าธรรมเนียม พฤติกรรม 3R ของประชาชนยังไม่ดี การรีไซเคิลน้อย ไม่บรรลุผล MDGs+ HIA    ชุมชนเปลี่ยนเป็นสังคมทันสมัย กิจการ/อุตสาหกรรมเพิ่ม  มีกฎหมายรองรับสิทธิชุมชน

  24. การดำเนินงานสิ่งปฏิกูลในประเทศไทยการดำเนินงานสิ่งปฏิกูลในประเทศไทย ส่งเสริมการจัดการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (พ.ศ.2553- อนาคต) ส่งเสริมการการจัดการส้วมสาธารณะให้ได้มาตรฐาน HAS (พ.ศ.2549-2554) แผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ส่งเสริมการมีและใช้ส้วมในครัวเรือน (พ.ศ.2503-2548) แผนแม่บทการพัฒนาส้วมสาธารณะไทย ระยะ 1,2 โครงการพัฒนาอนามัย แผนพัฒนาชนบท แผน ฯ 4,5,6,7,8

  25. สถานการณ์ บทบาทและพันธกิจกรมอนามัย แนวโน้ม ปัญหาและความคาดหวัง ประเด็นยุทธ์ฯ กฎหมาย เวทีรับความเห็นจากผู้มีส่วนได้เสีย ผลกระทบจากระดับสากล 20 สค.55 ความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย

  26. ปัญหาและความคาดหวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมปัญหาและความคาดหวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม Global Level - Globalization - Climate Change - Econamic Crisis International Level - FTA - AEC - Regional Charter - Convention etc. - แผนฯ 11. - แผนยุทธศาสตร์ NEHAP 2 - นโยบายทางการเมือง - กพร. National Level Local Level - เขตนิคมอุตสาหกรรม - ปัญหาระดับท้องถิ่น

  27. ปัญหาและความคาดหวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมปัญหาและความคาดหวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม • การลดผลกระทบจากปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ • การลดความเสี่ยงจากปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพจากการเปลี่ยนแปลงทางเศรฐษกิจ • การดำเนินการตามพันธะสัญญาระหว่างประเทศ • การจัดการปัญหาผลกระทบจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี(ขยะอันตราย สารเคมี) • การลดความเสี่ยงจากบริการและการจัดบริการ • คุณภาพบริการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ได้มาตรฐาน • ความสามารถพึ่งพาตนเองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง(ลดการใช้สารเคมี)

  28. ทิศทางงานอนามัยสิ่งแวดล้อมทิศทางงานอนามัยสิ่งแวดล้อม • Toward2015

  29. งานที่ต้องทำ • ส่วนแรก ประเด็นงานหลักด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 3 ประเด็น • ส่วนที่สอง High Light

  30. ส่วนที่ 1. • ประเด็นงานหลักอนามัยสิ่งแวดล้อม

  31. ประเด็นงานหลัก ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม • Future Crisis : Environment and Health วิกฤตอนาคต: สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ • Urbanization and Environmental Health ความเป็นเมืองและอนามัยสิ่งแวดล้อม • Moving and Progress on Sustainable Sanitation ขับเคลื่อนและพัฒนาการพัฒนาสุขาภิบาลยั่งยืน

  32. ประเด็นยุทธศาสตร์ • Future Crisis : Environment and Health วิกฤตอนาคต: สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ • ประเด็นยุทธศาสตร์ :-การเชื่อมโยงสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ • เป้าประสงค์ :- การคุ้มครองสิทธิทางสุขภาพของชุมชน • ประเด็นงานได้แก่ การพัฒนาตัวแบบ HIA , การพัฒนาระบบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ , การจัดการเหตุรำคาญ , การจัดการขยะอันตราย สารพิษและสารเคมี , ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ , การเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม

  33. ประเด็นยุทธศาสตร์ • Urbanization and Environmental Health ความเป็นเมืองและอนามัยสิ่งแวดล้อม • ประเด็นยุทธศาสตร์:-การลดความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมจากการจัดบริการ • เป้าประสงค์ :- การจัดบริการที่มีคุณภาพและมาตรฐาน • ประเด็นงานได้แก่ การสุขาภิบาลอาหาร , คุณภาพน้ำบริโภค , ส้วมสาธารณะ , การจัดการกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ , การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมของ อปท.

  34. ประเด็นยุทธศาสตร์ • Moving and Progress on Sustainable Sanitation ขับเคลื่อนและพัฒนาการสุขาภิบาลยั่งยืน • ประเด็นยุทธศาสตร์ :- การพัฒนาการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืน สู่วิถีพอเพียง • เป้าประสงค์ :- ชุมชนและท้องถิ่นสามารถจัดการสุขาภิบาลได้อย่างถูกหลักวิชา โดยวิธีการและอุปกรณ์ที่ประหยัด เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจและพึ่งตนเองได้ • ประเด็นงานได้แก่ การใช้ประโยชน์จากสิ่งปฏิกูล , การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

  35. ส่วนที่ 2.HighLight • ประชาชนจะได้อะไรจากกรมอนามัย

  36. ส่วนที่สอง High Light • ปุจฉา :- ประชาชน / สังคมจะได้อะไรจาก งานอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย • วิสัชนา :- ประชาชน / สังคม ได้รับการคุ้มครองสิทธิทางสุขภาพที่มีผลกระทบจากสิ่งแวดล้อม

  37. อะไรคือการคุ้มครองสิทธิทางสุขภาพ(ประชาชนจะได้รับอะไร)อะไรคือการคุ้มครองสิทธิทางสุขภาพ(ประชาชนจะได้รับอะไร) • ประชาชนมีข้อมูลเพียงพอต่อการตัดสินใจ ในการเผชิญต่อความเสี่ยงและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากสิ่งแวดล้อม • ประชาชนได้รับการเตือนภัยที่ถูกต้องและทันเวลา • ประชาชนได้รับบริการที่ได้มาตรฐาน

  38. กรมอนามัยกับการคุ้มครองสิทธิสุขภาพกรมอนามัยกับการคุ้มครองสิทธิสุขภาพ ประชาชน ควบคุม/เลือกตั้ง จัดบริการ Std เผยแพร่ ความรู้ สื่อสาร ความเสี่ยง เผยแพร่ ความรู้ ฐาน ข้อ มูลอื่น เตือนภัย อปท. ตรวจตรา/แนะนำ M&E EHA กฎ/ประกาศ กระทรวง แลกเปลี่ยน ระบบ สารสน เทศ กิจการ ระบบกฎหมาย ระบบกิจการฯ ภัยพิบัติ เรียกร้อง ปรับปรุง/พัฒนา พัฒนา ติดตามสถาน การณ์ ระบบเฝ้าระวัง HIA ประมวล พัฒนาความรู้ ปรับปรุง/พัฒนา ปัญหา คัดเลือก

  39. อะไรคือสิ่งที่ต้องทำ • การสร้าง แสวงหา ค้นคว้า ความรู้ที่จำเป็น และเพียงพอ ต่อการเผชิญปัญหาและผลกระทบทางสุขภาพจากสิ่งแวดล้อม • พัฒนาระบบ กฎหมายและข้อบังคับต่างๆเพื่อให้เกิดบรรทัดฐานการดำเนินงานทั้งส่วนของเจ้าหน้าที่รัฐและผู้ประกอบการ • ออกแบบระบบการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมภายใต้ พรบ.การสาธารณสุข • พัฒนาระบบเฝ้าระวังที่มีคุณภาพ สอดคล้องกับ บริบทของพื้นที่เพื่อการนำไปสู่การเตือนภัย • เผยแพร่ข้อมูลที่จำเป็นเพื่อการหลีกเลี่ยงผลกระทบทางสุขภาพจากสิ่งแวดล้อมทั้งสภาวะปกติและสภาวะที่มีอุบัติภัย • ออกแบบระบบการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม • เร่งผลักดัน สนับสนุน และพัฒนาคุณภาพการจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ได้มาตรฐาน • เชื่อมประสานการดำเนินงานกับภาคีเครือข่ายทุกระดับ

  40. สภาพการณ์ของปัญหาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 3 สถานการณ์ • สถานการณ์ที่ 1 ก่อนการดำเนินการ ต้องมีระบบการจัดการความเสี่ยงตั้งแต่เริ่มต้น เพื่อให้การดำเนินกิจการ/กิจกรรม มีการควบคุมความเสี่ยงที่ยอมรับได้ การจัดบริการต้องเป็นไปตามมาตรฐาน • สถานการณ์ที่ 2 กำลังดำเนินการ ต้องมีระบบเฝ้าระวังที่มีคุณภาพ เพื่อให้สามารถเตือนภัยได้ทันเวลา • สถานการณ์ที่ 3 เมื่อมีเหตุเกิดขึ้น ต้องมีข้อมูล ความรู้ ที่เพียงพอและทันเวลา นำเสนอต่อสาธารณะ เพื่อการระงับความเสี่ยง หลีกเลี่ยง จัดการต่อความเสี่ยงนั้นๆได้

  41. กรอบการดำเนินงาน 3 สถานการณ์ สถานการณ์ที่ 1. ใช้เครื่องมือ HIA เพื่อการวิเคระห์ กิจการฯ - Risk management - Risk communication - Quality Assurance - Risk communication สถานการณ์ที่ 2. ใช้เครื่องมือการเฝ้าระวัง สถานการณ์ที่ 3. ใช้การตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน - Risk communication - ปฎิบัติการในส่วนที่เกี่ยวข้อง

  42. กรอบการดำเนินงาน -ใช้เครื่องมือ HIA เพื่อการ วิเคระห์ กิจการฯ - พัฒนาระบบคุณภาพ อปท.(EHA) สถานการณ์ 1. - Risk management - Risk communication - Quality Assurance วัตถุประสงค์ คือ การใช้ HIA ในการลดปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ นำไปสู่การลดปัจจัยเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมจากการจัดบริการ เป้าหมาย - การใช้ HIA 15 ประเด็น (ศูนย์เขตละ 1 ประเด็น) - การยกระดับท้องถิ่นคุณภาพ (ศูนย์เขตละ ..... เทศบาล)

  43. แนวทางการดำเนินงาน(เป้าหมาย 15 เรื่อง) • ทบทวน รวบรวม ประมวล ปัญหาที่สำคัญและส่งผลกระทบต่อสุขภาพ และ จัดลำดับความสำคัญ • ใช้แนวทาง HIA เพื่อสร้างความรู้และการมีส่วนร่วม เพื่อหาข้อสรุปที่เป็นประเด็นความเสี่ยง • จัดทำข้อกำหนดและแนวทางปฏิบัติ เพื่อใช้เป็นมาตรฐานการดำเนินการ • นำเสนอผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อผลักดันให้เกิดการสร้างมาตรการเพื่อการลดปัจจัยเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น • นำข้อมูลที่ได้มาสร้างระบบการเฝ้าระวัง และดำเนินการให้สอดคล้องกับบริบท • นำความรู้ที่ได้ เข้าสู่เวทีการเรียนรู้ เพื่อสรุปบทเรียนและประมวล ยกระดับต่อไป • นำความรู้ที่ได้ วิเคราะห์ และกำหนดทางเลือกเพื่อนำเสนอการดำเนินงานพัฒนาระบบกฎหมายต่อไป

  44. แนวคิดการพัฒนา • กลุ่มลูกค้า • ภาคีท้องถิ่น • ภาคีภาครัฐ • ภาคีอื่นๆ คน + ชุมชน สื่อสารความเสี่ยง ให้ความรู้ Policy Maker เสริม/สร้าง ความเข้มแข็ง รวมพลัง จัดบริการ กรมอนามัย องค์ความรู้/เทคโนโลยี เป็น มาตรฐาน / กฎเกณฑ์ องค์กรแห่งการเรียนรู้ M&E ดำเนินการ เฝ้าระวัง/สะท้อนปัญหา กำกับ/ตรวจสอบ/เรียกร้อง

  45. การคุ้มครองสิทธิสุขภาพจากการจัดบริการการคุ้มครองสิทธิสุขภาพจากการจัดบริการ ผู้รับบริการ จัดบริการคุณภาพ การกระ จายอำนาจ ความคาดหวัง - ท้องถิ่นทำได้(SOP) - ทำได้ดีมีมาตรฐาน(EHA) - สืบสานความยั่งยืน (Regulation/ประชาคม) ท้องถิ่น บทบาทตามกฎหมาย กรมอนามัย สสอ. ประชาสังคม

  46. พัฒนา Tech. พัฒนาบุคลากร พัฒนามาตรฐานงานอนามัยสิ่งแวดล้อม Env. H. Accredit นิเทศติดตามผล Empowerment (HIA) พัฒนาระบบ เฝ้าระวัง จัดบริการ จัดบริการ ระบบเตือนภัย(Risk Communication) พัฒนาการตรวจวิเคราะห์ ภาครัฐ องค์กรวิชาชีพ พัฒนากฎหมาย สื่อสารสาธารณะและเตือนภัย ผู้ให้บริการอนามัยสิ่งแวดล้อม (อปท.) ผู้รับบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ประชาชน -พื้นฐาน -กลาง -ก้าวหน้า พัฒนามาตรฐาน ควบคุม/เลือกตั้ง/ประชาคม/ร้องเรียน

  47. บันได 3 ขั้น สู่ความสำเร็จ • ท้องถิ่น ทำได้ (ทำอะไรบ้าง) • ท้องถิ่นทำได้ดี มีมาตรฐาน( เป็นที่ยอมรับได้) • ท้องถิ่น ทำได้ดี มีมาตรฐาน สืบสานความยั่งยืน(ทำได้อย่างต่อเนื่อง มีกฎระเบียบ ประชาสัมคมที่เข้มแข็ง)

  48. แนวทางการดำเนินงาน • คัดเลือก องค์กรปกครองท้องถิ่น ที่มีศักยภาพ เพื่อพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม • ดำเนินการชี้แจง ฝึกอบรม เพื่อพัฒนาตามเกณฑ์ระบบคุณภาพบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม • นิเทศ ติดตาม และให้คำปรึกษา การดำเนินงานพัฒนาระบบคุณภาพของ อปท.เป้าหมาย • จัดให้มีการประเมินตนเองของ อปท.เป้าหมาย เพื่อยกระดับความสำเร็จ • จัดการประเมินตามระบบคุณภาพ เพื่อการรับรองเป็นองค์กรคุณภาพ • ยกย่อง เผยแพร่ความสำเร็จ ต่อสาธารณะ • สรุปบทเรียน แลกเปลี่ยนเพื่อร่วมกันเรียนรู้ต่อไป

  49. กรอบการดำเนินงาน สถานการณ์ที่ 2. ใช้เครื่องมือการเฝ้าระวัง - Risk communication วัตถุประสงค์ คือ การเฝ้าระวังความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจาก กิจการหรือกิจกรรม ที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ นำไปสู่การดำเนินงานเพื่อการคุ้มครองสุขภาพ โดยการเตือนภัยให้สาธารณะได้รับรู้ข่าวสารและให้ความร่วมมือในการสร้างมาตรการแก้ไขและระงับเหตุดังกล่าว เป้าหมาย 15 ประเด็น (ศูนย์เขตละ 1 ประเด็น + ส่วนกลาง 3 ประเด็น)

More Related