1 / 70

การคำนวณต้นทุนผลผลิต

การคำนวณต้นทุนผลผลิต. หัวข้อบรรยาย :. พรฎ. กิจการบ้านเมืองที่ดี 2546. หลักเกณฑ์วิธีการคำนวณต้นทุนผลผลิต. ตัวอย่างการจัดทำบัญชีต้นทุน ในปี 47. ระบบ CO ใน GFMIS. ตัวผลักดันการจัดทำต้นทุน ปี 49. การวิเคราะห์ผลการคำนวณฯ. ความเป็นมา. ความเป็นมา. พระราชกฤษฎีกา ว่าด้วย

Download Presentation

การคำนวณต้นทุนผลผลิต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การคำนวณต้นทุนผลผลิต

  2. หัวข้อบรรยาย: พรฎ. กิจการบ้านเมืองที่ดี 2546 หลักเกณฑ์วิธีการคำนวณต้นทุนผลผลิต ตัวอย่างการจัดทำบัญชีต้นทุน ในปี 47 ระบบ COใน GFMIS ตัวผลักดันการจัดทำต้นทุน ปี 49 การวิเคราะห์ผลการคำนวณฯ

  3. ความเป็นมา

  4. ความเป็นมา พระราชกฤษฎีกา ว่าด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพ และ เกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ หมวด 4

  5. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มาตรา 21 วรรคแรก ให้ส่วนราชการจัดทำบัญชีต้นทุน ในงานบริการสาธารณะแต่ละประเภทขึ้น ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กรมบัญชีกลางกำหนด

  6. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มาตรา 21 วรรคสอง ให้ส่วนราชการคำนวณรายจ่ายต่อหน่วย ของงานบริการสาธารณะที่รับผิดชอบ ตามระยะเวลาที่กรมบัญชีกลางกำหนด และ รายงานให้ สงป. กรมบัญชีกลาง และ ก.พ.ร. ทราบ

  7. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มาตรา 21 วรรคสาม ให้ส่วนราชการจัดทำแผนการลดรายจ่ายต่อหน่วย ของงานบริการสาธารณะดังกล่าว เสนอ สงป. กรมบัญชีกลาง และ ก.พ.ร. ทราบ

  8. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต

  9. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต วัตถุประสงค์ เพื่อให้ได้ข้อมูลต้นทุนงานของแต่ละส่วนงาน อันจะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารทุกระดับ ในการวัดผลการดำเนินงาน และปรับปรุง เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน

  10. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต แนวคิด โครงสร้างแบ่งส่วนราชการของกรมฯ เป็นสำนัก กลุ่ม กอง ศูนย์ ตามภาระกิจที่สอดคล้องกับพันธกิจ ตามกฎกระทรวง แต่ละสำนัก กอง ศูนย์ มีกิจกรรม เฉพาะเพื่อสร้างผลผลิตที่แต่ละแห่งรับผิดชอบ

  11. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต ประโยชน์ 1. ตรวจสอบต้นทุนทรัพยากรที่ใช้ในงานที่รับผิดชอบ 2. วัดผลการดำเนินงาน 3. ปรับปรุงกระบวนการทำงาน 4. วางแผนการทำงาน 5. วัดความคุ้มค่าของงาน

  12. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต ความหมายและคำจำกัดความ

  13. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต การบัญชีต้นทุน Cost accountingหมายถึง การบัญชีเกี่ยวกับการบันทึก การจำแนกการปันส่วน การสรุป และการรายงาน ข้อมูลเกี่ยวกับต้นทุนผลิตภัณฑ์หรือบริการให้กับ ผู้บริหาร

  14. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต ต้นทุน Cost หมายถึง รายจ่าย เพื่อให้ได้มาซึ่งสินค้าหรือ บริการ ซึ่งอาจเป็นเงินสด สินทรัพย์อื่น หรือการก่อหนี้ ผูกพัน ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการได้มาซึ่งสินค้าและ บริการ

  15. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต ต้นทุนทางตรง Direct Costหมายถึง ค่าใช้จ่ายที่สามารถระบุเข้าสำนัก กอง ศูนย์ กลุ่มที่เป็นผู้ผลิตผลผลิตได้อย่างเจาะจงว่า ใช้ไปเท่าไรในการผลิตผลผลิตใด

  16. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต ต้นทุนทางอ้อม Indirect Costหมายถึง ค่าใช้จ่ายที่หลายๆ สำนัก กอง ศูนย์ กลุ่มใช้ร่วมกันในการผลิตผลผลิต ไม่เป็น ค่าใช้จ่ายเฉพาะของ Cost Centerใดเพียงแห่งเดียว

  17. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต การปันส่วนต้นทุน Allocationหมายถึง การแบ่งส่วนค่าใช้จ่ายไปยัง กิจกรรม กระบวนการผลิต การดำเนินงาน หรือ ผลผลิตตามเกณฑ์ต่างๆ

  18. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต ต้นทุนรวม Full Costหมายถึง ผลรวมของต้นทุนทั้งหมดที่เกิดขึ้น ในการผลิตผลผลิตของหน่วยงาน โดยไม่ต้องคำนึง แหล่งเงินทุน และเป็นการคำนวณจากตัวเลขค่าใช้จ่าย ที่บันทึกบัญชีตามเกณฑ์คงค้าง

  19. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต ผลผลิต Outputหมายถึง ผลิตภัณฑ์หรือบริการที่หน่วยงาน ภาครัฐทำการผลิตและส่งมอบให้กับบุคคลภายนอก ใช้เป็นเกณฑ์ในการกำหนดราคาผลผลิต และจัดสรร เงินลงทุน หลักในการพิจารณาแนวโน้มการดำเนินงาน เพื่อวัดผลการดำเนินงาน

  20. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต งานบริการสาธารณะ Public Serviceหมายถึง ผลผลิตของหน่วยงานภาครัฐ ที่มุ่งเน้นประโยชน์สุขแก่ประชาชนโดยทั่วถึง

  21. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต หน่วยต้นทุน Cost Centerหมายถึง หน่วยงานภายในส่วนราชการที่ กำหนดขึ้นตามโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ ซึ่งแต่ละหน่วยงานจะมีการดำเนินกิจกรรมที่ต้องใช้ ทรัพยากรหรือต้นทุนในการผลิตผลผลิต

  22. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต หน่วยงานหลัก Functional Cost Centerหมายถึง หน่วยงานที่มีหน้าที่ โดยตรงในการสร้างผลผลิต หรือมีส่วนร่วมในการ สร้างผลผลิตของหน่วยงาน

  23. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต หน่วยงานสนับสนุน Support Cost Centerหมายถึง หน่วยงานที่ทำหน้าที่ให้ บริการกับหน่วยงานหลัก หรือทำงานสนับสนุน

  24. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต ขั้นตอนที่ 1 ระบุผลผลิตของหน่วยงาน ขั้นตอนที่ 2 ระบุกิจกรรมหลักที่เกี่ยวข้องกับผลผลิต ขั้นตอนที่ 3 ระบุสำนัก กอง ศูนย์ (Cost Center)

  25. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต ขั้นตอนที่ 4 ระบุต้นทุนรวมของทุก Cost Center ขั้นตอนที่ 5 กระจายต้นทุนหน่วยสนับสนุนเข้าหลัก ขั้นตอนที่ 6 รวมต้นทุนเชื่อมโยงสู่กิจกรรม/ผลผลิต

  26. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต ผลผลิต Cost จาก GL สำนัก กอง ศูนย์ กิจกรรม หลัก 12 + 3 ค่าใช้จ่าย ทางตรง 100 กิจกรรม 1 ผลผลิต 1 หลัก 18 + 2 หลัก 17 + 3 กิจกรรม 2 หลัก 8 + 2 หลัก 15 + 5 ผลผลิต 2 หลัก 20 + 5 กิจกรรม 3 รวม 110 ค่าใช้จ่าย ทางอ้อม 30 สนับสนุน 6 + 4 กิจกรรม 4 ผลผลิต 3 สนับสนุน 4 + 6 รวม 20 กิจกรรม 5 รวมทั้งหมด 130 รวม 130

  27. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต ตารางที่ 1 ระบุ ผลผลิต กิจกรรมหลัก และความเชื่อมโยง

  28. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต ตารางที่ 2 กำหนดหน่วยงานหลัก หน่วยงานสนับสนุน

  29. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต ตารางที่ 3 ค่าใช้จ่ายกระจายเข้าหน่วยงาน

  30. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต ตารางที่ 4 แสดงการกระจายต้นทุนหน่วยสนับสนุนเข้าหน่วยงานหลัก

  31. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต ตารางที่ 5 แสดงการปันส่วนต้นทุนหน่วยงานหลักเข้าสู่กิจกรรม

  32. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต ตารางที่ 6 แสดงการเชื่อมโยงต้นทุนกิจกรรมเข้าสู่ผลผลิต

  33. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต รายงานสรุปผลการคำนวณต้นทุนผลผลิต

  34. ผลที่ได้จากการคำนวณต้นทุนผลที่ได้จากการคำนวณต้นทุน 1. ได้ต้นทุนแยกตาม Cost Center และทราบรายละเอียด รายการค่าใช้จ่าย 2. ได้ต้นทุนตามประเภทกิจกรรม และต้นทุนต่อหน่วย กิจกรรม 3. ได้ต้นทุนตามประเภทผลผลิต และต้นทุนต่อหน่วย ผลผลิต

  35. ตัวอย่างการคำนวณต้นทุนผลผลิตตัวอย่างการคำนวณต้นทุนผลผลิต

  36. วิธีการคำนวณต้นทุนผลผลิตของกรมบัญชีกลางวิธีการคำนวณต้นทุนผลผลิตของกรมบัญชีกลาง ผลผลิต 1. เป็นศูนย์ข้อมูล สารสนเทศการคลัง 2. กำกับ ดูแลการคลัง การบัญชี พัสดุ 3. กำกับ ดูแลการตรวจ สอบภายใน 4. การบริหารการเงิน การคลัง

  37. วิธีการคำนวณต้นทุนผลผลิตของกรมบัญชีกลางวิธีการคำนวณต้นทุนผลผลิตของกรมบัญชีกลาง กิจกรรม 1. จัดทำ วิเคราะห์ พัฒนาระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อบริหาร งานทางด้านเศรษฐกิจการคลัง 4. กำกับ ดูแล ควบคุมมาตรฐาน - กฎหมาย - ระเบียบ - การคลัง - การบัญชี - การพัสดุ - ลูกจ้าง 2. บริหารงานด้านสวัสดิการ รักษาพยาบาล 5.กำกับตรวจสอบภายใน 6. บริหารรับ-จ่ายเงินงปม. เงินนอกฯบริหารเงินสด งานสนับสนุนด้านต่างๆ 3. บริหารงานเงินนอกฯ 7. พัฒนาทรัพยากรบุคคล

  38. วิธีการคำนวณต้นทุนผลผลิตของกรมบัญชีกลางวิธีการคำนวณต้นทุนผลผลิตของกรมบัญชีกลาง หน่วยงานหลัก สำนักการเงินการคลัง กลุ่มมาตรฐานและนโยบาย การบัญชีภาครัฐ สำนักบริหารการรับ-จ่ายเงิน ภาครัฐ กลุ่มวิเคราะห์ประมวลบัญชีฯ สำนักงานคลังจังหวัด กลุ่มพัฒนาเงินนอกงบประมาณ สำนักมาตรฐานด้านกฎหมาย และระเบียบการคลัง สำนักพัฒนามาตรฐาน ระบบพัสดุภาครัฐ สำนักความรับผิดทางแพ่ง กลุ่มงานสวัสดิการรักษาพยาบาล กลุ่มงานพัฒนาระบบลูกจ้าง กลุ่มงานมาตรฐานด้าน การตรวจสอบภายใน กลุ่มระบบบัญชีภาครัฐ

  39. วิธีการคำนวณต้นทุนผลผลิตของกรมบัญชีกลางวิธีการคำนวณต้นทุนผลผลิตของกรมบัญชีกลาง หน่วยงานสนับสนุน ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ กองพัฒนาทรัพยากรบุคคล กลุ่มงานพัฒนาระบบบริหาร สำนักงานคลังเขต หน่วยงานตรวจสอบภายใน ฝ่ายประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขานุการกรม สำนักงานผู้บริหารระดับสูง กองการเจ้าหน้าที่ กลุ่มแผนงาน กลุ่มงานประเมินผล ระบบงานการคลัง

  40. รายงานผลการคำนวณต้นทุนผลผลิตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2547 1.ค่าใช้จ่ายประจำปี2547ประกอบด้วย: (หน่วย : ล้านบาท) เงินเดือน/ค่าจ้างประจำ/ค่าจ้างชั่วคราว507 ค่าตอบแทน ใช้สอย และวัสดุ 170 งบกลาง 9,943 ค่าสาธารณูปโภค 45 ค่าเสื่อมราคา 74 ค่าใช้จ่ายขนย้ายตัวเงิน 20 ค่าใช้จ่ายระหว่างกัน 94 ค่าใช้จ่ายอื่น 6 รวม 10,859

  41. รายงานผลการคำนวณต้นทุนผลผลิตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2547 • 2. ตัดรายการที่ไม่นำมาคิดต้นทุนของกรมบัญชีกลาง • 2.1 เงินสำรอง สมทบและเงินชดเชย กบข. 7,472 ล. • 2.2 เงินสมทบกองทุนช่วยเหลือเกษตรกร 2,000 ล. • 2.3 เงินเบี้ยหวัดบำเหน็จบำนาญ • ค่ารักษาพยาบาลข้าราชการบำนาญ ฯ 413 ล. • 2.4 ค่าใช้จ่ายระหว่างกัน 94 ล. • 2.5 ค่าใช้จ่ายอื่น (รายได้แผ่นดินนำส่งคลัง) 3 ล. • คงเหลือที่เป็นค่าใช้จ่ายนำมาคิดต้นทุน 877 ล.

  42. รายงานผลการคำนวณต้นทุนผลผลิตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2547 3.กระจายค่าใช้จ่ายเข้าหน่วยงาน ค่าใช้จ่ายทางตรง ระบุเข้าสำนัก กอง ศูนย์ กลุ่มที่เป็น ผู้ใช้ทรัพยากรหรือค่าใช้จ่ายนั้นในการผลิตได้โดยตรง ค่าใช้จ่ายทางอ้อม ค่าใช้จ่ายส่วนกลางที่ทุกหน่วยใช้ ร่วมกัน จะต้องกำหนดเกณฑ์การปันส่วน เพื่อกระจาย เข้า Cost Centerเช่น - ค่าโทรศัพท์ มือถือ ค่าเคเบิลทีวี - ค่าเช่าคู่สาย ค่าเช่าวงจรสูง ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง ค่าไปรษณีย์ ค่าอินเตอร์เน็ต - ค่าไฟฟ้า - ค่าน้ำ

  43. รายงานผลการคำนวณต้นทุนผลผลิตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2547 4. ปันส่วนค่าใช้จ่ายทางอ้อมเข้า Cost Centerทุกแห่ง ตามเกณฑ์ที่คณะกรรมการพิจารณาการคิด ต้นทุนของกรมบัญชีกลางได้ตกลงไว้ เช่น - ค่าน้ำ ปันส่วนตามพื้นที่ของหน่วยงาน - ค่าไฟฟ้าปันส่วนตามเครื่องปรับอากาศและ เครื่องคอมพิวเตอร์ - ค่าใช้จ่ายทางอ้อมอื่นๆ ตามจำนวนคน

  44. วิธีการคำนวณต้นทุนผลผลิตของกรมบัญชีกลางวิธีการคำนวณต้นทุนผลผลิตของกรมบัญชีกลาง 5. ได้ผลลัพธ์ค่าใช้จ่ายแยกเข้าตาม Cost Centerทุกแห่ง หน่วยงาน เงินเดือน ค่าจ้างชั่วคราว ค่าตอบแทน ฯ สาธารณูปโภค งบกลาง รวม หน่วยหลักx x x x x x สำนัก x x x x x x กองx x x x x x กองx x x x x x รวมหน่วยงานหลักx x x x x 747 หน่วยสนับสนุน สำนัก x x x x x x กอง x x x x x x รวมหน่วยสนับสนุน x x x x x 130 รวมทั้งสิ้น x x x x x 877

  45. วิธีการคำนวณต้นทุนผลผลิตของกรมบัญชีกลางวิธีการคำนวณต้นทุนผลผลิตของกรมบัญชีกลาง 6. ปันส่วนต้นทุนหน่วยสนับสนุนเข้าหน่วยงานหลักตามเกณฑ์ สัดส่วนของงานที่หน่วยสนับสนุนให้บริการแก่หน่วยงานหลัก ผลที่ได้ต้นทุน 877 จะมารวมกันอยู่ที่หน่วยงานหลัก หน่วยงาน สนับสนุน สนับสนุน สนับสนุน สนับสนุน สนับสนุน รวม หน่วยหลักx x x x x x สำนัก x x x x x x กองx x x x x x กองx x x x x x รวมหน่วยงานหลักx x x x x 877

  46. วิธีการคำนวณต้นทุนผลผลิตของกรมบัญชีกลางวิธีการคำนวณต้นทุนผลผลิตของกรมบัญชีกลาง 7.ขั้นตอนการกระจายต้นทุนหน่วยงานหลักเข้ากิจกรรม และเข้าผลผลิต กิจกรรม หน่วยงานต้นทุนจริง 1 2 3 4 5 6 7 รวม หน่วยหลัก สำนักx x x x x กองx x x x x กองx x xx รวมหน่วยงานหลัก877 x x x x x x x 877 ผลผลิต1 + 2+3 + 4 = 877

  47. วิธีการคำนวณต้นทุนผลผลิตของกรมบัญชีกลางวิธีการคำนวณต้นทุนผลผลิตของกรมบัญชีกลาง 8. ได้ผลต้นทุนกิจกรรมและผลผลิต หน่วย : ล้านบาท กิจกรรม ต้นทุน กิจกรรม ผลผลิต ต้นทุน ผลผลิต 1. การจัดทำ วิเคราะห์และ พัฒนาระบบเทคโนโลยี 47 1. การเป็นศูนย์ข้อมูล สารสนเทศการคลัง 47 2. การบริหารงานสวัสดิการ รักษาพยาบาล 3. การบริหารงานเงินนอกฯ 4. กำกับดูแลควบคุมมาตรฐาน ด้านกฎหมายและระเบียบฯ 9 11 102 2. การกำกับดูแล การคลัง การบัญชี การพัสดุ 122 5. กำกับดูแลงานตรวจสอบ ภายใน 23 3. การกำกับดูแลการ ตรวจสอบภายใน 23 6. การบริหารการรับ-จ่ายฯ และบริการเงินสดภาครัฐ 7. การพัฒนาทรัพยากรบุคคล 676 9 4. การบริหาร การคลัง 685 รวมทั้งสิ้น 877 877

More Related