520 likes | 1.44k Views
15 . การวิจัยเชิงทดลอง. ศึกษาจากสาเหตุไปหาผล เพื่อศึกษาตัวแปรที่เกี่ยวข้องนั้นเป็นสาเหตุที่ทำ ให้เกิดผลเช่นนั้น จริงหรือไม่. เป็นกระบวนการค้นหาความจริง ทฤษฎี หลักการ เทคโนโลยี หรือองค์ความรู้ใหม่ๆ. การวิจัยเชิงทดลอง. ศึกษา
E N D
ศึกษาจากสาเหตุไปหาผล เพื่อศึกษาตัวแปรที่เกี่ยวข้องนั้นเป็นสาเหตุที่ทำ ให้เกิดผลเช่นนั้น จริงหรือไม่ เป็นกระบวนการค้นหาความจริง ทฤษฎี หลักการ เทคโนโลยี หรือองค์ความรู้ใหม่ๆ การวิจัยเชิงทดลอง ศึกษา ความเปลี่ยนแปลงของตัวแปรที่เกี่ยวข้องภายใต้เงื่อนไขที่มีการควบคุมโดยกระบวนการวิจัย
วัตถุประสงค์ของการวิจัยเชิงทดลองวัตถุประสงค์ของการวิจัยเชิงทดลอง • เพื่อค้นหาข้อเท็จจริงของสาเหตุที่ทำให้เกิดผลหรือพฤติกรรมต่างๆ • เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสาเหตุและผลของตัวแปร • หรือเหตุการณ์ต่าง ๆ • เพื่อนำผลการวิจัยไปประยุกต์ สร้างสรรค์ ทฤษฎี หลัก กฎ เทคโนโลยี องค์ความรู้ หรือเทคนิคใหม่ๆ • เพื่อวิเคราะห์หรือค้นหาข้อบกพร่องของระบบ เพื่อนำข้อมูลไปพิจารณาปรับปรุงแก้ไขระบบให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น • เพื่อนำผลการทดลองไปใช้
องค์ประกอบของการวิจัยเชิงทดลององค์ประกอบของการวิจัยเชิงทดลอง 1. กลุ่มทดลอง (Experimental Group) กลุ่มตัวอย่างที่ได้รับการจัดกระทำในการทดลอง
องค์ประกอบของการวิจัยเชิงทดลององค์ประกอบของการวิจัยเชิงทดลอง 2. กลุ่มควบคุม (Control Group) กลุ่มตัวอย่างที่มีลักษณะเหมือนกลุ่มทดลองทั้งจำนวนและคุณ สมบัติทั่วๆ ไป แต่ไม่ได้รับการทดลอง ถูกปล่อยให้เป็นไปตามสภาพแวดล้อมปกติที่เป็น อยู่เดิม เพื่อประโยชน์ การเปรียบเทียบพฤติกรรมต่าง ๆ กับกลุ่มทดลอง ที่ถูกกระทำ กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม .ให้อาหารเสริม .ไม่ให้อาหารเสริม
ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยเชิงทดลองตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยเชิงทดลอง 1.ตัวแปรอิสระ หรือตัวแปรต้น (Independent Variable) เป็นตัวแปรที่ผู้วิจัยกำหนดขึ้นเพื่อที่จะทำการทดลองว่าเป็น “สาเหตุ” หรือไม่ ตัวแปรอิสระนี้บางทีเรียกว่า ตัวแปรการทดลอง (Experimental variable) • ปุ๋ยสูตรต่าง ๆ • สารเคมีชนิดต่าง ๆ • ข้าวโพดสายพันธุ์ต่าง ๆ
ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยเชิงทดลองตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยเชิงทดลอง 1.ตัวแปรอิสระ หรือตัวแปรต้น (Independent Variable) เป็นตัวแปรที่ผู้วิจัยกำหนดขึ้นเพื่อที่จะทำการทดลองว่าเป็น “สาเหตุ” หรือไม่ ตัวแปรอิสระนี้บางทีเรียกว่า ตัวแปรการทดลอง (Experimental variable) • ปุ๋ยสูตรต่าง ๆ • สายพันธุ์ข้าวโพด • สารเคมีชนิดต่าง ๆ
ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยเชิงทดลองตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยเชิงทดลอง เป็นตัวแปรที่ต้องการทราบว่าเป็น “ผล” ที่เกิดจาก “สาเหตุ” หรือไม่ 2.ตัวแปรตาม (Dependent Variable) ตัวแปรต้น/ตัวแปรอิสระ กลุ่มทดลอง ตัวแปรตาม • ปุ๋ย สูตร 15-15-15 อัตราการใช้ต่างกัน ผลผลิตต่อไร่ 100 กก./ไร่ 1,000 กก./ไร่ 1,500 กก./ไร่ 200 กก./ไร่ 1,500 กก./ไร่ 300 กก./ไร่
ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยเชิงทดลองตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยเชิงทดลอง เป็นตัวแปรที่เกิดขึ้นและโดยที่ผู้วิจัยไม่ต้องการให้เกิดขึ้นหรือไม่ต้องการทราบ ตัวแปรชนิดนี้นักวิจัยสามารถกำหนดวิธีการควบคุมได้ จึงเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ตัวแปรควบคุม (Control variable) 3.ตัวแปรแทรกซ้อน (Extraneous Variable) ตัวแปรต้น/ตัวแปรอิสระ กลุ่มทดลอง ตัวแปรตาม • ปุ๋ย สูตร 15-15-15 1,000 กก./ไร่ 100 กก./ไร่ อัตราการใช้ต่างกัน 1,500 กก./ไร่ 200 กก./ไร่ 1,500 กก./ไร่ 300 กก./ไร่ ตัวแปรแทรกซ้อน -แหล่งผลิต - พันธุ์มันสำปะหลัง -ความสม่ำเสมอ - พื้นที่ปลูก ในการใส่ปุ๋ย/ต้น - ดูแลรักษา
ขั้นตอนในการวิจัยเชิงทดลองขั้นตอนในการวิจัยเชิงทดลอง
ออกแบบการวิจัยเชิงทดลองออกแบบการวิจัยเชิงทดลอง และวางแผนการวิจัย เลือกหน่วยวิจัยมาเป็นกลุ่มตัวอย่าง จัดกลุ่มหน่วยวิจัยให้เป็นกลุ่มควบคุม และกลุ่มทดลองอย่างมีความทัดเทียมกัน สุ่มเพื่อแยกเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม เลือกเครื่องมือวัดผลที่เหมาะสม ดำเนินการวิจัยนำทาง (Pilot study) กับกลุ่มเล็กๆ ดูก่อน เพื่อหาข้อบกพร่อง หรือตัวแปรแทรกซ้อนที่อาจจะมี ดำเนินการทดลอง
การวางแผนการทดลอง(Research Design ) 1) แผนการทดลองแบบสุ่มตลอด (Completely Randomize Design ตัวย่อ CRD) หน่วยทดลองมีความสม่ำเสมอหรือใกล้เคียง กันมากที่ สุด ตัวอย่าง การเปรียบเทียบข้าวโพด 4 พันธุ์ (A, B, C, และ D) ผู้ทดลองใช้แผนการทดลองแบบ CRD จำนวน 3 ซ้ำ มีแผนผังการทดลองดังนี้ D A B C A B C D B D A c
การวางแผนการทดลอง(Research Design ) 2. แผนการทดลองแบบสุ่มอย่างสมบูรณ์ภายในบล็อก (Randomized Complete Block Design ตัวย่อ RCB) หน่วยทดลองมีลักษณะแตกต่างกัน การจัดหน่วยทดลองที่มีลักษณะเหมือนกัน รวมเป็นกลุ่มเดียวกัน เรียกว่า บล็อก แต่ละบล็อกมีครบทุกทรีทเมนต์ ตัวอย่าง การเปรียบเทียบข้าวโพด 4 พันธุ์ (A, B, C, และ D)แปลงทดลองมีความอุดมสมบูรณ์ของดินต่างกัน แบ่งได้ 3 บล็อก ผู้ทดลองใช้แผนทดลอง แบบ RCD มีแผนผังการทดลองดังนี้ A ดี ปานกลาง ต่ำ
การวิจัยเชิงทดลอง/เปรียบเทียบเทคโนโลยีการวิจัยเชิงทดลอง/เปรียบเทียบเทคโนโลยี 1.กำหนดปัญหา การระบาดของเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลในนาข้าว การใช้สารชีวินทรีย์ สารเคมี สามารถป้องกันกำจัดเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลในนาข้าวได้ 2. ตั้งสมมุติฐาน ตัวแปรต้น สารชีวภัณฑ์ สารเคมี และชีววิธี ตัวแปรตาม จำนวนเพลี้ยกระโดดในนาข้าว
3. วางแผนการทดลอง RCB 6 กรรมวิธี ทำ 3 ซ้ำ T1 การใช้เชื้อราบิวเวอร์เรีย T2 การใช้เชื้อราเมตาไรเซียม T3 การใช้สารเคมีตามคำแนะนำ T4 การใช้สารเคมีตามเกษตรกร T5 การใช้ชีววิธีแบบเกษตรกร T6 ไม่ใช้ แปลงที่ 1 (ซ้ำที่ 1) แปลงที่ 2 (ซ้ำที่ 2) แปลงที่ 3 (ซ้ำที่ 3)
การควบคุมตัวแปรแทรกซ้อนการควบคุมตัวแปรแทรกซ้อน กลุ่มทดลอง ตัวแปรแทรกซ้อน ตัวแปรต้น - อัตราการใช้ - ชนิดสารชีวภัณฑ์ - ชนิดสารเคมี - ชีววิธี • ดิน • พันธุ์ข้าว • - อายุข้าว • - การดูแลรักษา - การสุ่ม - การเพิ่มตัวแปร - ใช้สถิติควบคุม - การออกแบบการทดลอง
4. ดำเนินการตามแผนการทดลอง
5.เก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้จากการทดลองอย่างครบถ้วน5.เก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้จากการทดลองอย่างครบถ้วน • เครื่องมือ • แบบบันทึกข้อมูล • จำนวนเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล • จำนวนศัตรูธรรมชาติในแปลง • ต้นทุนในการผลิต • - ผลผลิตหลังเก็บเกี่ยว/องค์ประกอบผลผลิต
แบบรายงานการสำรวจศัตรูพืชและศัตรูธรรมชาติมันสำปะหลัง ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัด.........................................(พันธุ์พืชเพาะเลี้ยง) หมู่ที่......... ตำบล.................................. อำเภอ...................................จังหวัด.............................. ชื่อพันธุ์.................................................อายุ............(เดือน) วันที่สำรวจ........................................
6. วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อทดสอบสมมุติฐานด้วยค่าสถิติที่เหมาะสม
การแปรผลและสรุปผล กราฟแท่งแสดงผลการทำงานของไฟโตอะเล็กซิน ในการทดลองกับสตรอเบอรี่เมื่อใส่สารผลิตภัณฑ์ทราฟอส การหาอัตราการงอกของเมล็ดถั่วเขียว