1 / 33

หลักสูตรอาชีวอนามัย ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ความรุนแรงที่บุคลากรทางการพยาบาลต้องเผชิญ ในโรงพยาบาลแห่งหนึ่ง Workplace violence Faced by Nursing Personnel in a Hospital. หลักสูตรอาชีวอนามัย ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. เฉลิมรัฐ ค้ำชูชาติ. ความเป็นมาและความสำคัญ. ความรุนแรงเป็นปัญหาสังคม

macy-carney
Download Presentation

หลักสูตรอาชีวอนามัย ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความรุนแรงที่บุคลากรทางการพยาบาลต้องเผชิญ ในโรงพยาบาลแห่งหนึ่งWorkplace violence Faced by Nursing Personnelin a Hospital หลักสูตรอาชีวอนามัย ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เฉลิมรัฐ ค้ำชูชาติ

  2. ความเป็นมาและความสำคัญความเป็นมาและความสำคัญ • ความรุนแรงเป็นปัญหาสังคม • เกิดได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ แม้กระทั่งในที่ทำงาน

  3. ความเป็นมาและความสำคัญความเป็นมาและความสำคัญ • ความรุนแรงในสถานที่ทำงานเพิ่มขึ้นในอัตราสูง • ปรากฏตามสื่อต่าง หนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ อินเตอร์เน็ต • เป็นปัญหาทางด้านสุขภาพ ส่งผลต่อร่างกาย จิตใจและสังคม • ทบวงยุติธรรม (USA. 1992-1996 )ระบุว่า ประชากรมากกว่า 2 ล้านคน ตกเป็นเหยื่อความรุนแรงในที่ทำงาน

  4. ลักษณะงานของพยาบาล • บริการด้านสุขภาพต่อเนื่องตลอด 24 ชั่วโมง • ปฏิบัติงานในภาวะไม่ปกติสุขของผู้มารับบริการ • มีปฏิสัมพันธ์กับคนรอบด้าน

  5. ความรุนแรงในโรงพยาบาลความรุนแรงในโรงพยาบาล Reported Number of Violence Incidents Verbal threats of physical harm Attempts of physical harm Sexual harassment Physical attack Harsh/ Insulting language reported a total number of 5,932 violence incidents,Cruickshank,1995

  6. ความเป็นมาและความสำคัญ (ต่อ) • ประเทศไทย การศึกษาเรื่องความรุนแรงในสถานที่ทำงานยังมีน้อย • ข้อมูลการถูกกระทำความรุนแรงในสถานที่ทำงาน ส่วนใหญ่ไม่ได้รับการเปิดเผย • ผลการศึกษาครั้งนี้จะ ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานเพื่อนำมาสู่การวิจัยและแก้ปัญหาต่อไป

  7. กรอบแนวคิดการวิจัย เงื่อนไขสถาบัน  เงื่อนไขในที่ทำงาน  สภาพแวดล้อมเฉพาะกรณี  ผลกระทบต่อบุคคล ผู้กระทำ, ผู้ถูกกระทำ  ผลกระทบต่อการทำงาน ผู้ประสบเหตุ   เพื่อนร่วมงาน / เพื่อนร่วมสถาบัน หมายเหตุ  ใช้แบบสอบถาม สัมภาษณ์เชิงลึก ตัวแปรมีผลกระทบ ผลโดยตรง ผลเล็กน้อย

  8. วัตถุประสงค์การวิจัย 1. ลักษณะของความรุนแรงและบุคคลที่กระทำความรุนแรง 2. ปัจจัยสาเหตุตามการรับรู้ของผู้ถูกกระทำความรุนแรงและผู้เกี่ยวข้อง 3. ผลของการถูกกระทำความรุนแรง 4. กลุ่มเสี่ยงในบุคลากรทางการพยาบาลที่มีความเสี่ยงต่อ การได้รับความรุนแรง

  9. การออกแบบการวิจัย • การวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive cross-sectional survey with supplementary qualitative study) ประชากร พยาบาลวิชาชีพ พยาบาลเทคนิค พนักงานผู้ช่วยเหลือคนไข้จำนวนทั้งหมด 594 คน (ศึกษาประชากรทั้งหมด)

  10. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล • เชิงปริมาณ เป็นแบบสอบถามพัฒนามาจาก ILO/ICN/WHO/PSI, 2003; Ontario Nurses ‘Association, 1995 • เชิงคุณภาพ เป็นแบบสัมภาษณ์เชิงลึกที่กำหนดแนวคำถามเอง

  11. การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. ทำหนังสือผ่านหัวหน้าหน่วยระบาดวิทยา คณะ แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ถึง ผู้อำนวยการโรงพยาบาลของกลุ่มตัวอย่าง 2. พบหัวหน้ากลุ่มงานพยาบาลเพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ และ ขอความอนุเคราะห์ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 3. กำหนดระยะเวลาในการรับแบบสอบถามคืนภายหลังแจก แบบสอบถามแล้ว 2 สัปดาห์ กรณีที่กลุ่มตัวอย่างส่ง แบบสอบถามช้าหรือไม่ได้รับคืน ติดตามข้อมูลอีกครั้ง

  12. การเก็บรวบรวมข้อมูล 4. สัมภาษณ์เชิงลึก เลือกกลุ่มตัวอย่างจากผู้ตอบแบบสอบถามที่มีประสบการณ์ความรุนแรงและผู้ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 30 ราย (ด้วยวิธีการ สัมภาษณ์ตาม แนวคำถามที่เตรียมไว้ โดยผู้วิจัยจดบันทึกทุกคำพูดที่กลุ่มตัวอย่างให้ข้อมูล) 5. ตรวจสอบความสมบูรณ์ของข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล ทางสถิติ 6. ได้รับแบบสอบถามกลับ 545 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 91.7

  13. การวิเคราะห์ผล โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS/PC และโปรแกรม Stata version 7 1. ข้อมูลเชิงปริมาณ ตัวแปรพื้นฐานใช้สถิติเชิงพรรณนา โดยนำมาหาค่าร้อยละ, ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2. การวิเคราะห์หากลุ่มเสี่ยงใช้ Chi square กำหนดนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 เลือกตัวแปรที่มีค่า p-value น้อยกว่าหรือเท่ากับ 0.25 นำตัวแปรที่ได้มาทดสอบหากลุ่มเสี่ยงใช้ logistic regression กำหนดนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 3. ข้อมูลเชิงคุณภาพ นำเสนอโดยอธิบายประเด็นสำคัญของความรุนแรง

  14. ผลการวิจัย ประเภทความรุนแรงที่ได้รับ

  15. ผลการวิจัย ลักษณะความรุนแรงทางวาจา

  16. ผลการวิจัย ลักษณะความรุนแรงทางร่างกาย

  17. ผลการวิจัย บุคคลที่กระทำความรุนแรงต่อบุคลากรทางการพยาบาล

  18. ผลการวิจัย ปัจจัยสาเหตุนำมาสู่ความรุนแรง

  19. ผลการวิจัย ผลของความรุนแรงด้านสังคม

  20. ผลการวิจัย (ต่อ) Adjusted odds ratio การถูกกระทำความรุนแรงทางวาจา * p –value for linear trend = 0.018

  21. สรุปผลการวิจัย 1. บุคลากรทางการพยาบาลเผชิญกับความรุนแรงทางวาจา มากที่สุดร้อยละ 38.9 รองลงมาเป็นความรุนแรงทาง ร่างกายร้อยละ 3.1 2. ลักษณะความรุนแรงทางวาจาเป็นการใช้น้ำเสียงตะคอก ความรุนแรงทางร่างกายเป็นการผลัก ดึง กระชาก การ คุกคามทางเพศเป็นการใช้มือสัมผัส 3. บุคคลที่กระทำความรุนแรงทางวาจาและร่างกายเป็นผู้ป่วย/ ผู้รับบริการมากที่สุด การคุกคามทางเพศเป็นเพื่อนร่วมงาน

  22. สรุปผลการวิจัย 4. สาเหตุความรุนแรงทางวาจามาจากความบกพร่องในการ ติดต่อสื่อสารมากที่สุด ความรุนแรงทางร่างกายมาจาก อาการแสดงความเจ็บป่วย 5. ผลด้านสังคม พบว่าความรุนแรงทางวาจาเกิดผลเสียต่อ สัมพันธภาพระหว่างเพื่อนร่วมงานมากที่สุด 6. กลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดความรุนแรงทางวาจาคือกลุ่มที่ไม่ได้ รับการฝึกอบรมเรื่องการจัดการกับความรุนแรง

  23. อภิปรายผล • งานพยาบาลมีลักษณะเฉพาะ ต้องเผชิญกับความเครียดและความกดดัน ในภาวะไม่ปกติสุขของผู้ป่วย • ปฏิสัมพันธ์กับบุคคลรอบด้าน • ให้บริการต่อเนื่องตลอด 24 ชั่วโมง

  24. อภิปรายผล • มีหลักฐานชี้ชัดว่าบุคลากรทางการพยาบาลมีความเสี่ยงต่อการถูกคุกคามทางวาจามากกลุ่มอาชีพอื่น ๆ 4 เท่า และมีความเสี่ยงมากกว่ากลุ่มอาชีพที่ดูแลด้านสุขภาพอื่น ๆ 3.5 เท่า (Home Office 1999) • การใช้น้ำเสียงตะคอกเป็นการแสดงอารมณ์โกรธ เมื่อไม่สามารถควบคุมได้จะเกิดความคุกคามของความรุนแรง

  25. อาชีพและแหล่งที่มาของความรุนแรงอาชีพและแหล่งที่มาของความรุนแรง ผู้ป่วย/ผู้รับบริการเป็นบุคคลที่ใกล้ชิดกับบุคลากรมากที่สุด บทบาทการดูแลผู้ป่วยด้านการพยาบาล ให้บริการผู้ป่วยอาจเกิดความล่าช้าไม่เป็นที่พอใจของผู้รับบริการ ส่งผลให้เกิดความโกรธ

  26. ความบกพร่องในการติดต่อสื่อสาร การประสานงานที่ไม่ชัดเจน การสื่อสารไม่ตรงกัน ทำให้เกิดความขัดแย้งพูดจาโต้เถียง ใช้คำหยาบคายบางครั้งรุนแรงมาก (ทัดดาว นิยมาศ, 2545) อาการแสดงความเจ็บป่วยของผู้ป่วย ภาวะวิตกกังวลและอาการไข้ ปวดทำให้ผู้ป่วยขาดสติและทำร้ายร่างกายบุคลากรทางการพยาบาล (ทองศุกร์ บุญเกิดและคณะ, 2543 ) สาเหตุความรุนแรง ทางวาจา ทางร่างกาย

  27. ผลด้านสังคม • ผลเสียจากความรุนแรงทางวาจาอาจมีมากกว่าที่คนทั่วไปรับรู้

  28. การฝึกอบรม • ผลการฝึกอบรมเรื่องการจัดการกับความรุนแรงสามารถแก้ไขและป้องกันความรุนแรงในสถานที่ทำงาน

  29. ข้อเสนอแนะ 1. ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ผู้บริหารบุคลากรทางการพยาบาลควรรับทราบข้อมูลเหล่านี้ เพื่อเข้าใจความเสี่ยงของวิชาชีพและหาทางป้องกันแก้ไขต่อไป 2. สนับสนุนและส่งเสริมให้มีการฝึกอบรมเรื่องการจัดการกับ ความรุนแรงในสถานที่ทำงาน 3. พัฒนาเทคนิคการสื่อสาร

  30. ข้อเสนอแนะ (1) • ความรุนแรงในวิชาชีพพยาบาลพบบ่อย • มีผลเสียมากกว่าที่เกิดขึ้น เผยแพร่ความเสี่ยงให้ผู้เกี่ยวข้องรับทราบและหาทางป้องกัน

  31. ข้อเสนอแนะ (2) • พยาบาลที่มีความเสี่ยงคือกลุ่มที่ไม่ได้รับการฝึกอบรมเรื่องการจัดการกับความรุนแรง • งานวิจัยที่ผ่านมา พบว่าการฝึกอบรมสามารถลดความเสี่ยงต่อการเกิดความรุนแรงและลดระดับความรุนแรงได้ อบรมพยาบาลทุกคนเรื่องวิธีป้องกันและควบคุมความรุนแรง

  32. ข้อเสนอแนะ (3) • สาเหตุของความรุนแรงทางวาจามาจากความบกพร่องในการสื่อสาร • ผลของความรุนแรงมีผลเสียต่อสัมพันธภาพระหว่างเพื่อนร่วมงาน อบรมทักษะการติดต่อสื่อสารและหาทางรักษาสัมพันธภาพระหว่างเพื่อนร่วมงาน

  33. จุดเด่นและจุดอ่อนของงานวิจัยจุดเด่นและจุดอ่อนของงานวิจัย จุดเด่น 1. แบบสอบถามได้รับการตอบกลับ ร้อยละ 91.7 2. ศึกษาข้อมูลเชิงคุณภาพสนับสนุนผลวิจัย จุดอ่อน 1. การรายงานอาจจะสูงกว่าหรือต่ำกว่าความเป็นจริงได้ 2. การรับรู้ความรุนแรงแตกต่างกัน อาจจะทำให้แปลผลผิด

More Related