530 likes | 1.04k Views
การจัดทำบัญชีกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต. สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอบ้านฝาง โทร. 0-4326-9282. บัญชีกลุ่มออมทรัพย์ฯ มีอะไรบ้างนะ... ? ปัญหา อุปสรรคในการจัดทำบัญชี พอจะมีบ้างไหม.... ?. ปัญหาด้านการจัดทำบัญชีกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต. ไม่เข้าใจระบบบัญชี. ผู้ลงบัญชี. ขาดทักษะ.
E N D
การจัดทำบัญชีกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตการจัดทำบัญชีกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอบ้านฝาง โทร. 0-4326-9282
บัญชีกลุ่มออมทรัพย์ฯ มีอะไรบ้างนะ...? ปัญหา อุปสรรคในการจัดทำบัญชี พอจะมีบ้างไหม....?
ปัญหาด้านการจัดทำบัญชีกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตปัญหาด้านการจัดทำบัญชีกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ไม่เข้าใจระบบบัญชี ผู้ลงบัญชี ขาดทักษะ ขาดความรู้ความเข้าใจ คณะกรรมการ ขาดการตรวจสอบทางบัญชี ไม่ให้ความสำคัญต่อระบบบัญชี สมาชิก
ขาดการสนับสนุนอย่างต่อเนื่องขาดการสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง เจ้าหน้าที่ ไม่เข้าใจระบบบัญชีกลุ่มออมทรัพย์ฯ ไม่สามารถให้คำแนะนำได้ ขาดการเรียนรู้ในรูปแบบของเครือข่าย
การจัดทำบัญชีกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตการจัดทำบัญชีกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ความสำคัญ เป็นเครื่องมือที่จำเป็นของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการเงิน ตามหลักบัญชีสากล เพื่อเป็นหลักฐานแสดงถึงความก้าวหน้าในการดำเนินงานให้สมาชิก ผู้เกี่ยวข้อง และผู้สนใจได้ทราบผลการดำเนินงานของกลุ่มฯ
หมวดบัญชี 1.ทรัพย์สิน 2.หนี้สิน 3.ทุน 5.รายจ่าย 4.รายได้
ความหมายศัพท์ทางบัญชีความหมายศัพท์ทางบัญชี
11 12 13 15 ลูกหนี้ เงินสด เงินฝากธนาคาร เงินหรือสิ่งของที่สามารถวัดมูลค่าเป็นเงินสด และ กลุ่มเป็นเจ้าของ เช่น เงินสด เงินฝากธนาคาร ลูกหนี้ หรือ ทรัพย์สินอื่นๆ ทรัพย์สิน เครื่องใช้สำนักงาน
หนี้สิน เงินหรือสิ่งของที่ได้มาและมีภาระที่ต้องจ่ายคืนในอนาคต เช่น เงินสัจจะสะสม / เงินสัจจะพิเศษ /เงินกู้
เงินหรือสิ่งของที่นำมาใช้ในการดำเนินงาน ปลอดจากหนี้ ถอนไม่ได้จนกว่าจะเลิกล้มกิจการ เช่น กำไรที่เหลือจากจ่ายปันผลและเฉลี่ยคืน (ทุนสำรอง /ขยายกิจการ/ทุนสาธารณประโยชน์/ทุนสำรองหนี้ ทุน
เงินหรือสิ่งของที่ได้มาจากการดำเนินงาน ไม่มีข้อผูกพัน ว่าต้องจ่ายคืน มีผลทำให้ทุนเพิ่มขึ้น เช่น เงินบริจาค ดอกเบี้ย ค่าสมัคร ค่าธรรมเนียม ค่าปรับ ฯลฯ รายได้
ดอกเบี้ยจ่าย ค่าเครื่องเขียน ค่าไฟฟ้า ค่าโทรศัพท์ เงินที่จ่ายออกไปเพื่อใช้ดำเนินงานของกองทุน(ขอคืนไม่ได้) มีผลทำให้ทุนลดลง ค่าใช้จ่าย ค่าตอบแทนกรรมการ ค่าเบี้ยประชุม ค่าอาหารและเครื่องดื่ม
เส้นทางการดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เส้นทางการดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์ รับสมาชิก ทะเบียนสมาชิก เลือกกรรมการ ทะเบียนกรรมการ จัดตั้งกลุ่ม ทะเบียนคุมเงินสัจจะ รับเงินสัจจะ/พิเศษ ทะเบียนคุมเงินสัจจะพิเศษ ทำกิจกรรมกลุ่ม ให้สมาชิกกู้เงิน ทะเบียนคุมเงินกู้ ลงทุนกิจกรรมอื่นๆ ทะเบียนอื่นๆ ควบคุมการเงิน ทะเบียนคุมเงินปันผล ผลกำไร จัดทำบัญชี จัดสรรผลกำไร บัญชี ร บัญชี จ งบดุล บัญชี ส
ม.ค. ธ.ค. ก.พ. พ.ย. มี.ค. ต.ค. เม.ย. พ.ค. ก.ย. มิ.ย. ส.ค. ก.ค. 1 ม.ค. 51 31 ธ.ค. 52 งวดบัญชีกำหนดตามปีปฏิทิน (1 มกราคม – 31 ธันวาคม)เพื่อเป็นการวัดผลการดำเนินงานในช่วงระยะเวลาใด เวลาหนึ่ง
บัญชีกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบัญชีกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ทะเบียนกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต บัญชี / เอกสาร กลุ่มออมทรัพย์ฯ บัญชีเงินสด-บัญชีเงินฝากธนาคาร ทะเบียนรายชื่อสมาชิก บัญชีรายได้และหนี้สิน ทะเบียนคุมเงินสัจจะสะสมทรัพย์ บัญชีรายจ่ายและทรัพย์สิน ทะเบียนคุมเงินสัจจะสะสม(พิเศษ) งบกำไร - ขาดทุน ทะเบียนคุมหนังสือกู้เงิน งบดุล ทะเบียนคุมลูกหนี้
การจัดทำบัญชีกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตการจัดทำบัญชีกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ระบบบัญชีคู่ มีบัญชีหลักที่ต้องจัดทำ 3 เล่ม บัญชีเงินสด -บัญชีเงินฝากธนาคาร ใช้ลงรายการรับจ่ายเมื่อมีการรับหรือจ่ายเงินสด ซึ่งบัญชีเงินสดได้นำบัญชีเงินฝากธนาคาร มารวมไว้ด้วยกัน บัญชีรายได้ และหนี้สิน เป็นบัญชีแยกประเภท สำหรับบันทึก รายการรับเงินทุกประเภท ซึ่งแยกเฉพาะ รายการรับเงินสดมาลงในเล่มนี้ บัญชีรายจ่าย และทรัพย์สิน เป็นบัญชีแยกประเภท สำหรับบันทึกรายการจ่ายเงิน ซึ่งแยกเฉพาะรายการจ่ายจากบัญชีเงินสดมาลงในเล่มนี้
รูปแบบบัญชีกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตรูปแบบบัญชีกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต บัญชีเงินสด - บัญชีเงินฝากธนาคาร (ส.) หน้า บัญชี ทรัพย์สิน พ.ศ……. รายการ บัญชีเงินฝากประจำ บัญชีเงินสด บัญชีเงินฝากออมทรัพย์ เดือน วันที่ รับ จ่าย รับ จ่าย คงเหลือ รับ คงเหลือ คงเหลือ จ่าย บัญชีเงินสด - บัญชีฝากเงินธนาคาร (ส.) เป็นบัญชีฝากเงินที่ใช้ลงรายการเกี่ยวกับการรับ - จ่าย เงินสดของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต
บัญชีรายได้และหนี้สิน (ร.) บัญชีทุน พ.ศ……. รายได้ หนี้สิน หน้า บัญชี บ/ช เงินสัจจะสะสม ค่า ปรับ ด/บ เงินกู้ ด/บ ธนาคาร รายได้ อิ่นๆ จ่าย รับ ค่า สมัคร ธรรม เนียม คง เหลือ เดือน รายการ เงิน บริจาค วันที่ รับ จ่าย คง เหลือ จ่าย คง เหลือ คง เหลือ รับ รับ จ่าย บัญชีรายได้และหนี้สิน (ร.) เป็นบัญชีแยกประเภทใช้สำหรับบันทึกรายการรับเงินทุกประเภท ซึ่งได้ลงบัญชีเงินสดไว้แล้วและนำมาลง ในบัญชีเล่มนี้เพื่อทราบว่ากลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตนี้ มีรายได้จาก ค่าสมัครค่าธรรมเนียม ค่าปรับ ดอกเบี้ยเงินกู้ เงินบริจาค ดอกเบี้ยธนาคาร และรายได้อื่นๆ ที่แสดงถึงภาระหนี้สินที่กลุ่มฯ จะต้องจ่ายคืน ให้กับเจ้าของเงินเมื่อครบกำหนด
บัญชีรายจ่ายและทรัพย์สิน (จ.) พ.ศ……. รายจ่าย ทรัพย์สิน หน้า บัญชี ค่า เครื่อง เขียน แบบพิมพ์ ลูกหนี้เงินกู้สามัญ ลูกหนี้เงินกู้ฉุกเฉิน กิจกรรมของกลุ่ม ปันผล เฉลี่ยคืน สมาชิก ค่า พาหนะ ด/บ เงินฝาก ด/บ เงินกู้ ธนาคาร รายจ่าย อิ่นๆ เดือน รายการ วันที่ รับ จ่าย คง เหลือ จ่าย คง เหลือ คง เหลือ รับ รับ จ่าย บัญชีรายได้และหนี้สิน (ร.) เป็นบัญชีแยกประเภทใช้สำหรับบันทึกรายการรับเงินทุกประเภท ซึ่งได้ลงบัญเงินสดไว้แล้วและนำมาลง ในบัญชีเล่มนี้เพื่อทราบว่ากลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตนี้ มีรายได้จาก ค่าสมัครค่าธรรมเนียม ค่าปรับ ดอกเบี้ยเงินกู้ เงินบริจาค ดอกเบี้ยธนาคาร และรายได้อื่นๆ ที่แสดงถึงภาระหนี้สินที่กลุ่มฯ จะต้องจ่ายคืน ให้กับเจ้าของเงินเมื่อครบกำหนด
งบกำไร - ขาดทุน สิ้นสุด ณ วันที่ ……. เดือน ……………………พ.ศ………………. จำนวนเงิน จำนวนเงิน รับ จ่าย บาท สต. บาท สต. บัญชีงบกำไร - ขาดทุน คือ การจัดทำเพื่อหาไรสุทธิประจำปีของการดำเนินงานในช่วงเวลาหนึ่ง โดยการนำรายได้ และรายจ่ายที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานมาเปรียบเทียบหาผลต่าง ถ้ารายรับมากกว่ารายจ่าย แสดงว่าได้กำไร แต่ถ้ารายจ่ายมากกว่ารายรับแสดงว่าขาดทุน
งบดุลสิ้นสุด ณ วันที่………. เดือน……………………พ.ศ…………….. จำนวนเงิน จำนวนเงิน หนี้สิน ทรัพย์สิน บาท สต. บาท สต. การลงบัญชีงบดุล คือ การจัดทำงบการเงิน เพื่อแสดงฐานะทางการเงินของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ณ วันใด วันหนึ่ง หรือวันสิ้นปีทางบัญชี (31 ธันวาคม) ว่ากลุ่มมีทรัพย์สิน หนี้สิน ทุนประเภทใดบ้าง เป็นจำนวนเงินเท่าใด ซึ่งจะจัดทำหลังจากทำงบกำไรขาดทุนแล้ว
ข้อเสนอแนะ 1. การลงบัญชี ต้องลงทุกรายการที่เกี่ยวกับการรับจ่ายเงิน 2. การลงบัญชีต้องดำเนินการทันที หรือภายในวันนั้น ที่มีการรับจ่ายเงิน 3. การลงบัญชีที่เกี่ยวกับเงินสัจจะสะสมฯ สัจจะสะสมพิเศษ การกู้ยืมเงิน ต้องทำควบคู่กับการลงทะเบียนคุมฯ 4. การลงบัญชีต้องตรวจสอบทุกครั้ง แต่ละบัญชีต้องมียอดสัมพันธ์กัน 5. รวมยอดทางบัญชี รับ จ่าย คงเหลือ ในทุกวันสิ้นเดือนของทุกเดือน และ วันสิ้นปีทางบัญชี (ปิดบัญชี) เพื่อทราบฐานะทางการเงิน 6. เมื่อสิ้นปีทางบัญชี (31 ธันวาคม) ต้องจัดทำงบกำไรขาดทุน 7. เมื่อสิ้นปีทางบัญชี จัดทำงบดุล หลังจากจัดทำงบกำไรขาดทุนแล้ว 8. หลังการจัดทำงบกำไร-ขาดทุน และ งบดุลแล้ว กรรมการฯ ต้องทำการ ตรวจสอบความถูกต้อง ทางระบบัญชี และทะเบียนคุม
Q&A สวัสดี