1 / 18

ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล

ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล. โดย ครูฐิตินันท์ เหรียญทอง โรงเรียนอุดมดรุณี จ.สุโขทัย. เลขยกกำลัง บทนิยาม เมื่อ a เป็นจำนวนจริงใดๆ และ n เป็นจำนวนเต็มบวก a n หมายถึง a  a  a  a  …..  a จำนวน n ตัว เช่น 2 5 = 2  2  2  2  2

Download Presentation

ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียลฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โดย ครูฐิตินันท์ เหรียญทอง โรงเรียนอุดมดรุณี จ.สุโขทัย

  2. เลขยกกำลัง • บทนิยาม เมื่อ a เป็นจำนวนจริงใดๆ และ n เป็นจำนวนเต็มบวก • an หมายถึง a  a  a  a  …..  a จำนวน n ตัว • เช่น 25 = 2  2  2  2  2 • บทนิยาม a0 = 1 เมื่อ a เป็นจำนวนจริงใดๆ ที่ไม่เท่ากับศูนย์ • บทนิยามa-n = 1/an เมื่อ a เป็นจำนวนจริงใดๆ ที่ไม่เท่ากับศูนย์ และ n เป็นจำนวนเต็มบวก • เช่น 3-2= 1/32 = 1/9

  3. สมบัติของเลขยกกำลัง ทฤษฎีบท เมื่อ a , b เป็นจำนวนจริงที่ไม่เป็นศูนย์ และ m , n เป็นจำนวนเต็ม 1) am.an = am+n 2) (am)n = amn 3) (ab)n = anbn 4) (a/b)n = an/bn 5) am/an = am-n ตัวอย่าง จงหาค่าของ(2-3x2y4/2x-1)-2

  4. 2. รากที่ n ในระบบจำนวนจริง และจำนวนจริงในรูปกรณฑ์ บทนิยาม เมื่อ x , y เป็นจำนวนจริง y เป็นรากที่สองของ x ก็ต่อเมื่อ y2 = x สมบัติของรากที่สอง 1) เมื่อ x  0, y  0 2)เมื่อ x  0, y > 0 ตัวอย่าง จงหาค่าของ วิธีทำ

  5. 3. เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ บทนิยาม เมื่อ a เป็นจำนวนจริง n เป็นจำนวนเต็มที่มากกว่า 1 และ a มีรากที่ n บทนิยาม เมื่อ a เป็นจำนวนจริง p , q เป็นจำนวนเต็มที่ (p,q) = 1 , q > 0 และ R โดยที่ p < 0 แล้ว a ต้องไม่เป็นศูนย์ ตัวอย่าง จงทำให้ส่วนไม่ติดกรณฑ์

  6. 4. ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล บทนิยาม ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล คือ f = {(x,y)RR / y = ax , a>0 , a1} y ข้อสังเกต 1) กราฟของ y = axผ่านจุด (0,1) เสมอ 2) ถ้า a > 1 แล้ว y = axเป็นฟังก์ชันเพิ่ม 3) ถ้า 0 < a < 1 แล้ว y = axเป็นฟังก์ชันลด 4) y = axเป็นฟังก์ชัน 1-1 จาก R ไป R+ 5) โดยสมบัติของฟังก์ชัน 1-1 จะได้ ax = ayก็ต่อเมื่อx = y

  7. 5. ฟังก์ชันลอการิทึม จาก f = {(x,y) RR / y = ax , a>0 , a1} ซึ่งเป็นฟังก์ชัน 1-1 จาก R ไป R+ จึงมีฟังก์ชันอินเวอร์สคือ f-1 = {(x,y) R+R / x = ay , a>0 , a1} จาก x = ayสามารถเขียนในรูป y = f(x) ได้ โดยกำหนดเป็น y = logax เช่น 9 = 32เขียนในรูปลอการิทึมเป็น 2 = log39 32 = 25 เขียนในรูปลอการิทึมเป็น 5 = log232 บทนิยาม ฟังก์ชันลอการิทึมคือฟังก์ชันที่เขียนอยู่ในรูป f = {(x,y) R+R / y = logax , a>0 , a1} เช่น y = log2x , f(x) = log5x

  8. y x ข้อสังเกต1) กราฟของ y = logax ผ่านจุด (1,0) เสมอ 2) ถ้า a > 1 แล้ว y = logax เป็นฟังก์ชันเพิ่ม ถ้า 0 < a < 1 แล้ว y = logax เป็นฟังก์ชันลด 3) y = logax เป็นฟังก์ชัน 1-1 จาก R+ไปทั่วถึง R 4) โดยสมบัติของฟังก์ชัน 1-1 จะได้ logax = logay ก็ต่อเมื่อ x = y

  9. สมบัติของลอการิทึม เมื่อ a , M , N เป็นจำนวนจริงบวกที่ a 1 และ k เป็นจำนวนจริง 1) logaMN = logaM + logaN 2) loga M/ N = logaM – logaN 3) loga Mk = k logaM 4) loga a = 1 5) loga 1 = 0 6) logakM = 1/k logaM 7) logb a = 1/ logab

  10. 6. การหาค่าของลอการิทึม ลอการิทึมสามัญ หมายถึงลอการิทึมฐาน 10 ซึ่งนิยมเขียนโดยไม่มีฐานกำกับ เช่น log107 เขียนแทนด้วย log 7 log1015 เขียนแทนด้วย log 15 พิจารณาค่าของลอการิทึมของจำนวนเต็มที่สามารถเขียนในรูป 10nเมื่อ n I log 10 = log 101 = 1 log 100 = log 102 = 2 log 1000 = log 103 = 3 ดังนั้น log 10n = n

  11. จำนวนจริงบวก Nใดๆ สามารถเขียนในรูป N0x10nได้เสมอ เมื่อ 1 < N0<10 และ n เป็นจำนวนเต็ม เนื่องจาก N = N0x10n ดังนั้น log N = log (N0x10n) = log N0+ log 10n = log N0 + n log N0เรียกว่า แมนทิสซา (mantissa) ของ log N n เรียกว่า แคแรกเทอริสติก (characteristic) ของ log N

  12. ตัวอย่าง จงหาค่าของ log 4520พร้อมทั้งบอก แมนทิสซาและแคแรกเทอริสติก วิธีทำ เนื่องจาก log 4520 = log (4.52x103) = log 4.52 + log 103 = 0.6551 + 3 = 3.6542 ดังนั้น log 4510 = 3.6551 แมนทิสซาของ log 4520 คือ 0.6551 แคแรกเทอริสติกของ log 4520 คือ 3

  13. แอนติลอการิทึม ตัวอย่าง กำหนดให้ log N = 2.5159 จงหาค่า N วิธีทำ เนื่องจาก log N = 2.5159 = 0.5159 + 2 = log 3.28 + log 102 = log (3.28x102) = log 328 ดังนั้น N = 328

  14. 7. การเปลี่ยนฐานของลอการิทึม กำหนดให้ y = logbx จะได้ x = by loga x = loga by loga x = y loga b y = ดังนั้น logbx = ตัวอย่าง จงหาค่าของ log224

  15. ลอการิทึมธรรมชาติ (Natural logarithms) ลอการิทึมธรรมชาติ คือลอการิทึมฐาน e เมื่อ e เป็นสัญลักษณ์แทนจำนวนอตรรกยะ ซึ่งมีค่าประมาณ 2.7182818 หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ลอการิทึมแบบเนเปียร์”(Napierian Logarithms)ในการเขียนลอการิทึมธรรมชาติจะไม่นิยมเขียนฐานกำกับ ดังนี้ logex เขียนแทนด้วย ln x loge3 เขียนแทนด้วย ln 3 loge20 เขียนแทนด้วย ln 20 การหาค่าลอการิทึมธรรมชาติทำได้โดยการเปลี่ยนฐานให้เป็นลอการิทึมสามัญ ซึ่ง log e = log 2.7182818 = 0.4343 ตัวอย่าง จงหาค่าของ ln 25

  16. 8. สมการเอ็กซ์โพเนนเชียลและสมการลอการิทึม สมการเอ็กซ์โพเนนเชียล คือสมการที่มีตัวแปรเป็นเลขชี้กำลัง ในการหาคำตอบของสมการ ทำได้โดยใช้สมบัติของฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียลและสมบัติของฟังก์ชันลอการิทึม ตัวอย่าง จงหาเซตคำตอบของสมการ 2x.22x+1 = 4x-2 วิธีทำ 2x+2x+1 = (22)x-2 23x+1 = 22x-4 จะได้ 3x+1 = 2x-4 x = -5 ดังนั้น คำตอบของสมการ คือ {-5} ตัวอย่างจงหาเซตคำตอบของสมการ 4x + 2x+1 – 24 = 0

  17. สมการลอการิทึม คือสมการที่มีลอการิทึมของตัวแปร การหาคำตอบของสมการทำได้ โดยใช้สมบัติของฟังก์ชันลอการิทึม ตัวอย่างจงหาเซตคำตอบของสมการ log2(x-2) + log2(x-3) = 1 วิธีทำlog2(x-2) + log2(x-3) = 1 log2(x-2)(x-3) = log22 จะได้ (x-2)(x-3) = 2 x2- 5x + 4 = 0 (x-1)(x-4) = 0 x = 1 , 4 ดังนั้น คำตอบของสมการคือ {4} เพราะว่า เมื่อตรวจคำตอบ x = 1 หาค่าไม่ได้

  18. สวัสดี

More Related