140 likes | 527 Views
การปฏิบัติหน้าที่ชันสูตรพลิกศพ. ของพนักงานฝ่ายปกครอง ส่วนอำนวยความเป็นธรรม สำนักการสอบสวนและนิติการ. กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และหนังสือสั่งการที่เกี่ยวข้อง. ป.วิ.อาญา ม.150 วรรค 3. พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติม ป.วิ.อาญา (ฉบับที่ 21) พ.ศ.2542.
E N D
การปฏิบัติหน้าที่ชันสูตรพลิกศพการปฏิบัติหน้าที่ชันสูตรพลิกศพ ของพนักงานฝ่ายปกครอง ส่วนอำนวยความเป็นธรรมสำนักการสอบสวนและนิติการ
กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และหนังสือสั่งการที่เกี่ยวข้อง ป.วิ.อาญา ม.150 วรรค 3 พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติม ป.วิ.อาญา (ฉบับที่ 21) พ.ศ.2542 ข้อบังคับ มท. ว่าด้วยระเบียบการปฏิบัติหน้าที่ชันสูตรพลิกศพของพนักงานฝ่ายปกครอง พ.ศ.2543 และฉบับที่ 2 พ.ศ. 2545 ระเบียบกระทรวงยุติธรรม ว่าด้วยการจ่ายค่าตอบแทนหรือค่าป่วยการ ค่าพาหนะเดินทางและค่าเช่าที่พักของแพทย์ และของพนักงานผู้ได้ทำการชันสูตรพลิกศพ ตาม ป.วิ.อาญา มาตรา 150 พ.ศ.2543 นส. ที่ มท 0305.6/ว 2335 ลว. 17 ก.ย. 2544
การปฏิบัติ 1. คำสั่งให้ปฏิบัติหน้าที่ชันสูตรพลิกศพ (เข้าเวร 24 ชั่วโมง) เวรสำรอง กรณีมีเหตุการตายพร้อมกัน คำสั่งเวรจะออกเดือนละครั้ง หรือ 2 เดือนครั้ง
การปฏิบัติ 2. ศึกษาเกี่ยวกับนิติเวชวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ 3. เตรียมอุปกรณ์ กล้องถ่ายรูป ผ้าปิดจมูกป้องกันเชื้อโรค เข็มทิศ สายวัด อุปกรณ์อื่น
การปฏิบัติ 4. การบันทึก เมื่อรับแจ้งเหตุ บันทึก ชศ.1 รายงานเบื้องต้น (ชศ.2) บันทึกออกไปชันสูตร (ชศ.3)
การปฏิบัติ ที่เกิดเหตุ บันทึกภาพผู้ตาย ลงรายการ (ชศ.4) ตรวจสถานที่ สภาพแวดล้อม อื่น ๆ สภาพศพ ทำแผนที่พอสังเขป (ชศ.5)
การปฏิบัติ ที่เกิดเหตุ (ต่อ) บันทึกรายละเอียดแห่งการชันสูตรพลิกศพ (ชศ.6) ผู้ตายคือใคร แสดงเหตุที่ตายเกิดจากอะไร ตายที่ไหน/เมื่อใด ถ้าตายโดยคนทำร้ายให้กล่าวว่าใครเป็นผู้ทำร้ายเท่าที่จะทราบได้ บันทึกร่วมกับ พงส. หรือ บันทึกความเห็นแย้ง (ชศ.7)
การปฏิบัติ 5. การรายงาน ผู้ปฏิบัติหน้าที่รายงานผลการชันสูตรพลิกศพ ส่งสำเนา ชศ.1 ชศ.2 ชศ.6 และสำเนารายงานชันสูตรพลิกศพของพนักงานสอบสวน ตามลำดับขั้นจนถึงปลัดกระทรวงมหาดไทย สำหรับจังหวัด ต้องรายงานสถิติการชันสูตร รอบ 3 เดือน ตามนส. ที่ มท 0305.6/ว 2335 ลว. 17 ก.ย. 2544
การปฏิบัติ 6. งบประมาณ ปค. (สน.สก.) จะโอนให้โดยคิดจากสถิติการตาย 2 ปี ย้อนหลัง และโอนให้จังหวัด ปีละ 2 งวด ไม่พอให้ขอไปยัง ปค. (สน.สก.)
ข้อควรระมัดระวังในการชันสูตรพลิกศพข้อควรระมัดระวังในการชันสูตรพลิกศพ • การชันสูตรพลิกศพผิดตัว • การดูสภาพศพ • การลงชื่อในรายงานการชันสูตรฯ ตามที่ปฏิบัติหน้าที่จริง • การป้องกันการติดเชื้อโรค • การระมัดระวังตนเองในการชันสูตรฯ ในเรือนจำ • การถ่ายภาพศพ สถานที่เกิดเหตุ การเก็บรักษา • การขออนุมัติใช้รถยนต์ของทางราชการ
ข้อควรระมัดระวังในการชันสูตรพลิกศพข้อควรระมัดระวังในการชันสูตรพลิกศพ • การบันทึกเหตุการณ์เบื้องต้น (ช.ศ.2) • การเคลื่อนย้ายศพก่อนการชันสูตรพลิกศพ • การนัดหมายเวลาชันสูตรพลิกศพต้องตรงเวลา • การแต่งตั้งเวรชันสูตรฯ สำรอง • กรณีแพทย์ผู้ร่วมชันสูตรมิใช่แพทย์นิติเวชศาสตร์ ต้องแจ้งเหตุผล ความจำเป็น
ขอขอบคุณ ส่วนอำนวยความเป็นธรรม สำนักการสอบสวนและนิติการ กรมการปกครอง ธวัช เจริญวัย โทร. 0-2356-9557 ,0-1926-2436
ป.วิ อาญา มาตรา 150 วรรค 3 ฯลฯ ในกรณีที่มีความตายเกิดขึ้นโดยการกระทำของเจ้าพนักงานซึ่งอ้างว่าปฏิบัติราชการตามหน้าที่ หรือตายในระหว่างอยู่ในความควบคุมของเจ้าพนักงาน ซึ่งอ้างว่าปฏิบัติราชการตามหน้าที่ ให้พนักงานอัยการและพนักงานฝ่ายปกครองตำแหน่งตั้งแต่ปลัดอำเภอหรือเทียบเท่าขึ้นไปแห่งท้องที่ที่ศพนั้นอยู่เป็นผู้ชันสูตรพลิกศพร่วมกับพนักงานสอบสวนและแพทย์ฯ ฯลฯ Back
ระยะที่ 1 ต.ค. – ธ.ค. รายงานภายใน 5 ม.ค. ระยะที่ 2 ม.ค. – มี.ค. รายงานภายใน 5 เม.ย. ระยะที่ 3 เม.ย. – มิ.ย. รายงานภายใน 5 ก.ค. ระยะที่ 4 ก.ค. – ก.ย. รายงานภายใน 5 ต.ค. back