1 / 42

การพิจารณากิจกรรม(งาน)วิกฤติ(ต่อ)

การพิจารณากิจกรรม(งาน)วิกฤติ(ต่อ). 5. 2. 7. 3. 6. 3. 3. 2. 4. 5. 2. 7. 3. 6. 1. 2. 5. 6. 3. 3. 2. 3. 6. 6. 4. 5. 0. 3. 2. 19. 13. 7. 0. 3. 19. 13. 3. 6. 1. 2. 5. 6. 3. 3. 2. 3. 6. 6. 6. 6. 4. 5. 0. 3. 2. 19. 13. 7. 0. 3. 19. 13. 3. 6.

Download Presentation

การพิจารณากิจกรรม(งาน)วิกฤติ(ต่อ)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพิจารณากิจกรรม(งาน)วิกฤติ(ต่อ)การพิจารณากิจกรรม(งาน)วิกฤติ(ต่อ)

  2. 5 2 7 3 6 3 3 2

  3. 4 5 2 7 3 6 1 2 5 6 3 3 2 3

  4. 6 6 4 5 0 3 2 19 13 7 0 3 19 13 3 6 1 2 5 6 3 3 2 3 6 6

  5. 6 6 4 5 0 3 2 19 13 7 0 3 19 13 3 6 1 2 5 6 3 3 2 3 6 6 งานวิกฤติ คือ............................... เวลาวิกฤติ คือ..............................................

  6. 6 6 4 5 0 3 2 19 13 7 0 3 19 13 3 6 1 2 5 6 3 3 2 3 6 6

  7. 6 พิจารณา ลูกศรเข้า 3 ลูกศร 1. 19-5 = 14  6 2. 19-6 = 13 = 13 3. 19-2 = 17 6 6 4 5 0 3 2 19 13 7 0 3 19 13 3 6 1 2 5 6 3 3 2 3 6 6

  8. 6 พิจารณา ลูกศรเข้า 3 ลูกศร 1. 19-5 = 14  6 2. 19-6 = 13 = 13 3. 19-2 = 17 6 6 4 5 0 3 2 19 13 7 0 3 19 13 3 6 1 2 5 6 3 3 2 3 6 6

  9. 6 พิจารณา ลูกศรเข้า 2 ลูกศร 1. 13-7 = 6 = 6 2. 13-3 = 10  6 6 4 5 0 3 2 19 13 7 0 3 19 13 3 6 1 2 5 6 3 3 2 3 6 6

  10. 6 พิจารณา ลูกศรเข้า 2 ลูกศร 1. 13-7 = 6 = 6 2. 13-3 = 10  6 6 4 5 0 3 2 19 13 7 0 3 19 13 3 6 1 2 5 6 3 3 2 3 6 6

  11. 6 พิจารณา ลูกศรเข้า 2 ลูกศร 1. 6-0= 6 = 6 2. 6-2 = 4 3 6 4 5 0 3 2 19 13 7 0 3 19 13 3 6 1 2 5 6 3 3 2 3 6 6

  12. 6 พิจารณา ลูกศรเข้า 2 ลูกศร 1. 6-0= 6 = 6 2. 6-2 = 4 3 6 4 5 0 3 2 19 13 7 0 3 19 13 3 6 1 2 5 6 3 3 2 3 6 6

  13. 6 พิจารณา ลูกศรเข้า 1 ลูกศร 1. 6-3 =3= 3 6 4 5 0 3 2 19 13 7 0 3 19 13 3 6 1 2 5 6 3 3 2 3 6 6

  14. 6 พิจารณา ลูกศรเข้า 1 ลูกศร 1. 6-3 =3= 3 6 4 5 0 3 2 19 13 7 0 3 19 13 3 6 1 2 5 6 3 3 2 3 6 6

  15. 6 พิจารณา ลูกศรเข้า 1 ลูกศร 1. 6-3 =3= 3 6 4 5 0 3 2 19 13 7 0 3 19 13 3 6 1 2 5 6 3 3 2 3 6 6

  16. 6 6 4 5 0 3 2 19 13 7 0 3 19 13 3 6 1 2 5 6 3 3 2 3 6 6 งานวิกฤติ คือ 1-2, 2-3, 3-4, 4-5, 5-6 เวลาวิกฤติ คือ 19

  17. การกำหนดหาความยืดหยุ่นของงานการกำหนดหาความยืดหยุ่นของงาน

  18. TFijและ FFijสำหรับงาน i-j ใดๆ • เวลาลอยตัวอิสระ (free float, FF)หมายถึง เวลาที่กิจกรรมสามารถเลื่อนเวลาเริ่มต้นหรือทำล่าช้าออกไปจากที่กำหนด โดยไม่มีผลกระทบที่จะทำให้เวลาแล้วเสร็จของโครงการเสร็จล่าช้ากว่ากำหนด และไม่มีผลทำให้กำหนดเวลาเริ่มต้นของกิจกรรมอื่นที่ตามหลังต้องเลื่อนตามไปด้วย • เวลาลอยตัวรวม (total float, TF)หมายถึง เวลาที่กิจกรรมสามารถเลื่อนเวลาเริ่มต้นหรือทำล่าช้าออกไปจากที่กำหนด โดยไม่มีผลกระทบที่จะทำให้เวลาแล้วเสร็จของโครงการเสร็จล่าช้ากว่าที่กำหนด แต่อาจทำให้เวลาเริ่มต้นเร็วที่สุดของกิจกรรมที่ตามหลังเลื่อนตามไปด้วย

  19. ทบทวน ESi ESj Dij i j ESj= ESi+Dij

  20. ทบทวน LFi LFj Dij i j LFi= LFj-Dij

  21. การหาค่า TFij • TFij= (LFj – ESi) –Dij • ถ้างานใดงานหนึ่งถูกเลื่อนไปตามค่า TFijแล้วอาจทำให้เวลาเริ่มต้นเร็วที่สุดของกิจกรรมที่ตามหลังเลื่อนตามไปด้วยโดยงานใดงานหนึ่งที่เลื่อนตาม TFijแล้วงานอื่นจะเลื่อนตาม TFijอีกไม่ได้ การหาค่า FFij • FFij= (ESj – ESi) –Dij • ถ้างานใดงานหนึ่งถูกเลื่อนไปตามค่า FFijแล้วงานอื่นก็ยังเลื่อนตาม FFijได้อีกทุกๆ งาน

  22. จากตัวอย่างสัปดาห์ที่ 12 7 7 3 7 0 1 6 15 14 0 1 15 14 1 1 3 1 2 5 6 8 3 4 • TF12= (LF2 – ES1) –D12 • TF12= (1-0)-1=0 • FF12= (ES2 – ES1) –D12 • FF12= (1-0)-1=0 11 10

  23. จากตัวอย่างสัปดาห์ที่ 12 7 7 3 7 0 1 6 15 14 0 1 15 14 1 1 3 1 2 5 6 8 3 4 • TF23= (LF3 – ES2) –D23 • TF23= (7-1)-6=0 • FF23= (ES3 – ES2) –D23 • FF23= (7-1)-6=0 11 10

  24. จากตัวอย่างสัปดาห์ที่ 12 7 7 3 7 0 1 6 15 14 0 1 15 14 1 1 3 1 2 5 6 8 3 4 • TF24= (LF4 – ES2) –D24 • TF24= (11-1)-8=2 • FF24= (ES4 – ES2) –D24 • FF24= (10-1)-8=1 11 10

  25. จากตัวอย่างสัปดาห์ที่ 12 7 7 3 7 0 1 6 15 14 0 1 15 14 1 1 3 1 2 5 6 8 3 4 • TF34= (LF4 – ES3) –D34 • TF34= (11-7)-3=1 • FF34= (ES4 – ES3) –D34 • FF34= (10-7)-3=0 11 10

  26. จากตัวอย่างสัปดาห์ที่ 12 7 7 3 7 0 1 6 15 14 0 1 15 14 1 1 3 1 2 5 6 3 8 • TF45= (LF5 – ES4) –D45 • TF45= (14-10)-3=1 • FF45= (ES5 – ES4) –D45 • FF45= (14-10)-3=1 4 11 10

  27. TF35= (LF5 – ES3) –D35 • TF35= (14-7)-7=0 • FF35= (ES5 – ES3) –D35 • FF35= (14-7)-7=0 จากตัวอย่างสัปดาห์ที่ 12 7 7 3 0 1 6 15 14 7 0 1 15 14 1 1 3 1 2 5 6 3 8 4 11 10

  28. จากตัวอย่างสัปดาห์ที่ 12 7 7 3 0 1 6 15 14 7 0 1 15 14 1 1 3 1 2 5 6 3 8 • TF56= (LF6 – ES5) –D56 • TF56= (15-14)-1=0 • FF56= (ES6 – ES5) –D56 • FF56= (15-14)-1=0 4 11 10

  29. งานที่สามารถยืดเวลาออกไปได้มีงานอะไรบ้าง ตอบ 2-4 , 3-4 , 4-5

  30. งานที่สามารถยืดเวลาออกไปได้พร้อมกันประกอบไปด้วย ตอบ งาน 2-4 ยืดไปได้ 1 ,งาน 4-5 ยืดไปได้ 1

  31. เวลาที่ยืดออกจาก FFij 7 7 3 0 1 6 15 14 7 0 1 15 14 1 1 3 1 2 5 6 8 3 4 3+1 = 4 8+1 = 9 11 10

  32. เวลาที่ยืดออกจาก FFij 7 7 3 0 1 6 15 14 7 0 1 15 14 1 1 3 1 2 5 6 9 4 -สังเกตว่าเวลาวิกฤติไม่เปลี่ยน โดยเวลาที่ยืดออกไปนั้นก็สามารถ เป็นงานวิกฤติได้ -ES ไม่เปลี่ยน node 4 10 10

  33. เวลาที่ยืดออกจาก TFij 7 7 3 0 1 6 15 14 7 0 1 15 14 1 1 3 1 2 5 6 8 3 4 11 ยืดเวลางาน 2-4 ได้ 8+2 = 10 10

  34. เวลาที่ยืดออกจาก TFij 7 7 3 0 1 6 15 14 7 0 1 15 14 1 1 3 1 2 5 6 10 3 -สังเกตว่าเวลาวิกฤติไม่เปลี่ยน โดยงานที่เวลายืดออกไปนั้น เป็นงานวิกฤติได้ -ES อาจจะเปลี่ยนได้ 4 11 11

  35. เวลาที่ยืดออกจาก TFij 7 7 3 0 1 6 15 14 7 0 1 15 14 1 1 3 1 2 5 6 8 3 4 11 ยืดเวลางาน 4-5 ได้ 3+1 = 4 10

  36. เวลาที่ยืดออกจาก TFij 7 7 3 0 1 6 15 14 7 0 1 15 14 1 1 3 1 2 5 6 8 4 -สังเกตว่าเวลาวิกฤติไม่เปลี่ยน โดยงานที่เวลายืดออกไปนั้น เป็นงานวิกฤติได้ -LF อาจจะเปลี่ยนได้ 4 10 10

  37. เวลาที่ยืดออกจาก TFij 7 7 3 0 1 6 15 14 7 0 1 15 14 1 1 3 1 2 5 6 8 3 4 ยืดเวลางาน 3-4 ได้ 3+1 = 4 11 10

  38. เวลาที่ยืดออกจาก TFij 7 7 3 0 1 6 15 14 7 0 1 15 14 1 1 4 1 2 5 6 8 3 -สังเกตว่าเวลาวิกฤติไม่เปลี่ยน โดยงานที่เวลายืดออกไปนั้น เป็นงานวิกฤติได้ -ES อาจจะเปลี่ยนได้ 4 11 11

  39. วิธี PERT • ให้สังเกตว่าเวลาของกิจกรรมต่างๆ ที่ผ่านมามีค่าคงที่แน่นอน การหาเส้นทางวิกฤติและเวลาวิกฤติจึงสามารถใช้วิธี CPM หาได้ • ในกรณีที่เวลาของกิจกรรมต่างๆ มีค่าไม่แน่นอน การหาคำตอบจะใช้การแจกแจงแบบ Beta มาช่วยในการประมาณค่ากลางหรือค่าเฉลี่ย และค่าความแปรปรวน มีสูตรดังนี้

  40. Aคือ ค่าต่ำสุด • B คือ ค่าสูงสุด • Mคือ ค่าที่พบบ่อยที่สุด หรือ ฐานนิยม(Mode) เช่น ถ้ากำหนดให้งาน 1-2 เป็นดังนี้ Dij= 4±2 1 2

  41. S.D.(ของโครงการ) = SQRT(Sum(S.D.(วิกฤต))

More Related