310 likes | 502 Views
รายงานการเงินที่เชื่อถือได้. ปรัชญา วิชาชีพ ให้ความเชื่อมั่นแก่ผู้บริหาร. ในแผนการปฏิบัติงาน ในกระบวนการบริหารงานตรวจสอบภายใน คือ รายงานการเงินที่เชื่อถือได้ กระบวนการบริหารได้รับการประเมิน ความเสี่ยง และระบบควบคุมภายในว่าเหมาะสม สามารถ ควบคุม ความเสี่ยงได้
E N D
รายงานการเงินที่เชื่อถือได้รายงานการเงินที่เชื่อถือได้
ปรัชญา วิชาชีพ ให้ความเชื่อมั่นแก่ผู้บริหาร • ในแผนการปฏิบัติงาน ในกระบวนการบริหารงานตรวจสอบภายใน คือ รายงานการเงินที่เชื่อถือได้ • กระบวนการบริหารได้รับการประเมิน ความเสี่ยง และระบบควบคุมภายในว่าเหมาะสม สามารถควบคุมความเสี่ยงได้ • ในการประเมินความเสี่ยง ตระหนักรู้ในเรื่อง กฏหมาย และมาตรฐานวิชาชีพ เพื่อนำมาสู่ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
พระราชบัญญัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2551มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 7 ก.พ. 2551
มาตรา 5 วรรคแรก : ให้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยตามพระราชบัญญัติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ.2522 เป็นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตามพระราชบัญญัตินี้ และเป็นนิติบุคคล วรรคสอง : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมีฐานะเป็นหน่วยงานในกำกับของรัฐซึ่งไม่เป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหาร ราชการแผ่นดิน กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวง ศึกษาธิการ และกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และไม่เป็นรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณและกฎหมายอื่น
หมวด 4 : การบัญชีและการตรวจสอบ มาตรา 47 : ให้มหาวิทยาลัยวางและรักษาไว้ซึ่งระบบบัญชีอันถูกต้องแยกตามส่วนงานของมหาวิทยาลัย มีสมุดบัญชีลงรายการแยกตามประเภทของสินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ และค่าใช้จ่ายตามความเป็นจริง พร้อมด้วยข้อความอันเป็นที่มาของรายการนั้นๆ และให้มีการตรวจสอบภายในเป็นประจำ การบันทึกรายการในสมุดบัญชีตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป
หมวด 4 : การบัญชีและการตรวจสอบ มาตรา 48 : ให้มหาวิทยาลัยจัดทำรายงานการเงินส่งผู้สอบบัญชีของมหาวิทยาลัยภายใน 90 วันนับแต่วันสิ้นปีบัญชี • วันเริ่มและวันสิ้นปีบัญชีของมหาวิทยาลัย ให้เป็นไปตามประกาศของมหาวิทยาลัย มาตรา 49 : ให้สำนักงานตรวจเงินแผ่นดินหรือบุคคลภายนอกซึ่งสภามหาวิทยาลัยแต่งตั้งโดยความเห็นชอบของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน เป็นผู้สอบบัญชีของมหาวิทยาลัย และให้ทำการตรวจสอบรับรองบัญชีและการเงินทุกประเภทของมหาวิทยาลัยทุกรอบปีบัญชี
หมวด 4 : การบัญชีและการตรวจสอบ มาตรา 51 : ให้ผู้สอบบัญชีทำรายงานผลการสอบบัญชีและการเงินเสนอต่อสภามหาวิทยาลัยภายใน 150 วันนับแต่วันสิ้นปีบัญชี เพื่อสภามหาวิทยาลัยเสนอต่อรัฐมนตรี ให้มหาวิทยาลัยเผยแพร่รายงานประจำปีของปีที่สิ้นไปนั้น แสดงรายงานการเงินที่ผู้สอบบัญชีรับรองแล้ว พร้อมทั้งแสดงผลงานของมหาวิทยาลัยในปีที่ล่วงมาและแผนงานที่จะจัดทำในปีต่อไปภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันสิ้นปีบัญชี
กค 0410.2/ ว 65 : ลงวันที่ 18 ก.พ. 2546 • กรมบัญชีกลาง ได้จัดทำและนำส่งหลักการและนโยบายบัญชีสำหรับหน่วยงานภาครัฐ ฉบับที่ 2 • มีผลให้ยกเลิกหลักการและนโยบายบัญชีสำหรับหน่วยงานภาครัฐ ฉบับที่ 1
วัตถุประสงค์ • เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ใช้เป็นเกณฑ์ในการบันทึกบัญชีและจัดทำงบการเงิน - ที่สามารถนำไปใช้ในการวิเคราะห์ วางแผน - ประเมินผลการบริหารจัดการทางการเงิน - ประโยชน์ในการบริหารงานภายในหน่วยงาน - และจัดทำรายงานการเงินของแผ่นดินในภาพรวม
ให้ถือปฏิบัติกับ • ส่วนราชการระดับกรมทุกแห่ง • หน่วยงานในกำกับของรัฐบาล • หน่วยงานภาครัฐลักษณะพิเศษ • หน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ • องค์การมหาชน • หน่วยงานอิสระอื่นของรัฐที่จัดตั้งโดยกฎหมายเฉพาะ • กองทุนเงินนอกงบประมาณ
ความเป็นมา : มาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ IFRS
วัตถุประสงค์ของ IASB และ IASC • เพื่อกำหนดมาตรฐานการบัญชีสากล • เพื่อให้ตลาดทุนของโลกที่กำลังรวมเข้าด้วยกันมีภาษาร่วมกันในการรายงานฐานะ และผลการดำเนินงานทางการเงิน : บัญชี เป็นภาษาของธุรกิจ ( To provide the world’s integrating capital markets with acommon language for financial reporting ) • ผู้ใช้งบการเงินมีทางเลือกที่จะลงทุนได้ทั่วโลก : เปรียบเทียบ ตัวเลขในงบการเงินของทุกประเทศได้บนมาตรฐานเดียวกัน
กำเนิด : IFRS กับ IAS • IAS :- IASC ระหว่างปี 1973 – 2001 • IFRS :- IASB นับตั้งแต่ปี 2001 เป็นต้นมา • IASB เป็นผู้สืบทอดของ IASC • เมื่อมีการปรับปรุง IAS– โดยไม่มีการแก้ไขที่สำคัญ – ใช้ชื่อ IAS เดิม • ถ้ามีการแก้ไข IAS ในสาระสำคัญ - ใช้ชื่อ IFRS • หรือมีการออกมาตรฐาน – ที่ไม่เคยมีมาก่อน – ใช้ชื่อ IFRS
ประเทศที่ประกาศตัวพร้อมจะรับ IFRS : มาใช้ในการลงบัญชี • สหภาพยุโรป : • ทุกบริษัทต้องทำงบการเงินเป็นไปตาม IFRS • ภายในปี 2005 – 2007 • ทุกบริษัทต้องทำงบการเงินเป็นไปตาม IFRS • ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ : • ให้บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์และบริษัทที่จำหน่ายหลักทรัพย์ในตลาดเงินตลาดทุน • ต้องจัดทำงบการเงิน ภายในสิ้นปี 2005 (ใช้จริง 2006) และ ให้เป็นไปตามมาตรฐาน IFRS ทุกข้อ
ประเทศที่ประกาศตัวพร้อมจะรับ IFRS : มาใช้ในการลงบัญชี (ต่อ) • บราซิล : • มีนโยบายรับ IFRS : ในปี 2010 • สหรัฐอเมริกา • มีนโยบายรับ IFRS : ในปี 2014
ประเทศในภูมิภาคเอเชียกับ IFRS • สิงคโปร์ • ได้นำมาตรฐานบัญชีสากลมาใช้เร็วกว่าภูมิภาคเดียวกัน:ในปี 2006 • จีน และ ฮ่องกง • มีมาตรฐานการบัญชีเป็นที่ยอมรับในระดับสากล : ในปี 2009 • ญี่ปุ่น และ เกาหลีใต้ • มีนโยบายยกระดับมาตรฐานบัญชีเทียบเท่าระดับสากลภายในปี 10 – 11 • อินเดีย • มีนโยบายรับมาตรฐานบัญชีสากล : ในปี 2011
สำหรับประเทศไทย • ประเทศไทยจะเลี่ยงไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานการลงบัญชีสากลใหม่? • ตลาดทุนชั้นนำในหลายประเทศ • ให้การยอมรับและนำ IFRS มาปรับใช้ • ประเทศต้องพึ่งพาเงินทุนจากต่างประเทศ ? • ถ้าต้องพึ่งเงินทุนต่างประเทศ : แสดงให้นักลงทุนทั่วโลกเห็นได้อย่างไร : • สร้างความน่าเชื่อถือในรายงานทางการเงิน • เป็นกลไกสำคัญต่อการพัฒนาตลาดการเงินไทยให้เป็นที่ยอมรับ น่าสนใจลงทุน และระดมทุนของนักลงทุนทั้งในและต่างประเทศ • ตลท.เชื่อว่า การนำ IFRS: ทำให้นักลงทุนทั่วโลกเชื่อมั่นประเทศไทยมีการพัฒนา ปรับปรุงมาตรฐานการบัญชีและการรายงานทางการเงินอย่างต่อเนื่องจนเข้าสู่มาตรฐานเดียวกันกับมาตรฐานสากลของโลก
ประโยชน์ของ IFRS : การมีมาตรฐานการบัญชีแบบเดียวกันทั่วโลก • รายงานทางการเงิน : มีความชัดเจน โปร่งใสมากขึ้น • เปรียบเทียบฐานะการเงิน การวิเคราะห์ ประเมินราคาหลักทรัพย์ :สะดวก และ ถูกต้องยิ่งขึ้น • มีโอกาสระดมทุนข้ามประเทศได้ง่ายขึ้น : มีต้นทุนทางการเงินที่ต่ำลง • ผู้ถือหุ้นและผู้กำกับดูแลได้รับข้อมูลทางการเงินที่ถูกต้อง
มาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศและของประเทศไทย : ครอบคลุม • THAI • แม่บทการบัญชี • มาตรฐานการบัญชีและ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน (มีผลบังคับใช้ 30ฉบับ) • การตีความมาตรฐานการบัญชี3 ฉบับ • แนวปฏิบัติทางการบัญชี 3 ฉบับ IFRS • มาตรฐานการบัญชี • มาตรฐานการรายงานทางการเงิน • การตีความมาตรฐานการบัญชี • การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน
จำนวนมาตรฐานที่มีผลบังคับใช้ในปี 2552 • จำนวน 30 ฉบับ : ส่วนใหญ่อ้างอิงจาก - IAS หรือ IFRS ( 25 ฉบับ) - ฉบับที่มีการแก้ไขในเดือน ธ.ค. 2546 และ มี.ค. 2547 - บางฉบับยังอ้างอิงจากมาตรฐานการบัญชีของสหรัฐอเมริกา ( GAAP : 4 ฉบับ ) - กำหนดเอง 1 ฉบับ • การตีความ 3 ฉบับ • แม่บทการบัญชี 1 ฉบับไม่ใช่มาตรฐานการบัญชีโดยตรง แต่เป็นกรอบอ้างอิงให้ทุกมาตรฐานต้องอยู่บนกรอบแนวคิดเดียวกัน
มาตรฐานการบัญชีที่อ้างอิงจาก: มาตรฐานของ USA 4 ฉบับ • TAS 26 การรับรู้รายได้สำหรับธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ • TAS 34 การบัญชีสำหรับการปรับโครงสร้างหนี้ที่มีปัญหา • TAS 40 การบัญชีสำหรับเงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน • TAS 42 การบัญชีสำหรับกิจการที่ดำเนินธุรกิจและเฉพาะด้านการลงทุน
มาตรฐานการบัญชีที่กำหนดขึ้นเอง : 1 ฉบับ • TAS 11 หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ
มาตรฐานการบัญชีที่ยกเว้นสำหรับ:กิจการที่ไม่ใช่บริษัทมหาชน 8 ฉบับ • TAS 24 การเสนอข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงาน • TAS 25 งบกระแสเงินสด • TAS 36 การด้อยค่าของสินทรัพย์ • TAS 44 งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ • TAS 45 เงินลงทุนในบริษัทร่วม • TAS 46 ส่วนได้เสียในการร่วมค้า • TAS 47 การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน • TAS 48 การแสดงรายการสำหรับตราสารการเงิน
การถือปฏิบัติกับทุกกิจการพร้อมกันทั่วประเทศการถือปฏิบัติกับทุกกิจการพร้อมกันทั่วประเทศ • TAS และ TFRS ที่ได้รับการปรับปรุงใหม่ • ให้ถือปฏิบัติกับทุกกิจการพร้อมกันทั่วประเทศ • หากบังคับใช้เฉพาะบริษัทจดทะเบียนในกลุ่ม SET 50 ก่อน • ลำดับสามารถเปลี่ยนแปลงได้ : ทำให้งบการเงินของบริษัทจดทะเบียนที่อยู่ในกลุ่ม SET 50 และที่มิได้อยู่ในกลุ่ม ไม่สามารถเปรียบเทียบกันได้ บริษัทในกลุ่ม SET 50 อาจเสียเปรียบในการดำเนินธุรกิจ : การปฏิบัติตามมาตรฐานแบบเต็มรูปแบบ – ต้องเปิดเผยข้อมูลมากกว่าคู่แข่ง / บริษัทที่ไม่อยู่ในกลุ่ม SET 50
การนำมาตรฐานการรายงานทางการเงิน :มาใช้กับมหาวิทยาลัย • มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ : • IAS 2 สินค้าคงเหลือ • IAS 7 งบกระแสเงินสด • IAS 10 เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบการเงิน • IAS 16 ที่ดิน อาคาร และ อุปกรณ์ • IAS 18 รายได้ • IAS 20 การบัญชีสำหรับการอุดหนุนจากรัฐบาลและการเปิด • เผยข้อมูลความช่วยเหลือจากรัฐบาล • IAS 37 ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น สินทรัพย์ที่ • อาจเกิดขึ้น • IAS 38 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน • IAS 40 อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน
แหล่งที่มาของข้อมูล • เอกสารการสัมมนามาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ โดยรศ.ดร.วรศักดิ์ ทุมมานนท์ ภาควิชาการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและผศ.วิภาดา ตันติประภา ภาควิชาการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • บทความ : เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ IFRS และมาตรฐานการบัญชีไทย โดยรศ.ดร.อังครัตน์ เพรียบจริยวัฒน์ • ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • มาตรฐานการบัญชีของสภาวิชาชีพบัญชี
มาตรฐานการบัญชีไทยที่ปรับตาม IAS & IFRS: อนาคต
มาตรฐานการบัญชีไทยที่ปรับตาม IAS & IFRS: อนาคต
มาตรฐานการบัญชีไทยที่ปรับตาม IAS & IFRS: อนาคต
มาตรฐานการบัญชีไทยที่ปรับตาม IAS & IFRS: อนาคต
มาตรฐานการบัญชีไทยที่ปรับตาม IAS & IFRS: อนาคต