1 / 60

สนับสนุนโดย แผนงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ ( HISO )

การประชุม โครงการทดลองใช้และประเมินผลตัวชี้วัด สำหรับงานเภสัชกรรมโรงพยาบาล ครั้งที่ 1 ศูนย์สารสนเทศและวิจัยระบบยา (ศสวย.). สนับสนุนโดย แผนงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ ( HISO ). นิยาม. การเก็บข้อมูล. มุมมองด้านประโยชน์. ความแตกต่าง. ภาพรวมมาตรฐาน เภสัชกรรม รพ. หน่วยงานกลาง.

Download Presentation

สนับสนุนโดย แผนงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ ( HISO )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประชุม โครงการทดลองใช้และประเมินผลตัวชี้วัดสำหรับงานเภสัชกรรมโรงพยาบาลครั้งที่ 1ศูนย์สารสนเทศและวิจัยระบบยา (ศสวย.) สนับสนุนโดยแผนงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ (HISO)

  2. นิยาม การเก็บข้อมูล มุมมองด้านประโยชน์ ความแตกต่าง ภาพรวมมาตรฐาน เภสัชกรรม รพ. หน่วยงานกลาง พัฒนามาตรฐานวิชาชีพ กำเนิด โครงการพัฒนาตัวชี้วัดสำหรับ งานเภสัชกรรมโรงพยาบาล ความต้องการ

  3. ภญ.เนาวนิตย์ ทฤษฎิคุณ ภญ.ผศ.อภิฤดี เหมะจุฑา ภก.ผศ.ดร.มังกร ประพันธ์วัฒนะ พญ.สุพัตรา ศรีวณิชชาการ ภญ.ดร.อุไรวรรณ พรทวีวุฒิ ภญ.วิมล อนันต์สกุลวัฒน์ พ.ท.หญิงเพ็ญศรี ธงภักดี ภก.ผศ.ดร.สุรกิจ นาฑีสุวรรณ ภก.กมลศักดิ์ เรืองเจริญรุ่ง ภญ.จันทิมา โยธาพิทักษ์ ภญ.ผศ.ดร.ภูรี อนันตโชติ ภญ.อ.ดร.อินทิรา กาญจนพิบูลย์ ภญ.จิราภรณ์ อุษณกรกุล คณะทำงานโครงการพัฒนาตัวชี้วัดฯ ภญ.รศ.ธิดา นิงสานนท์ประธาน

  4. Gen mngt Inv mngt Disp serv DU Med err Pharm care ADR DUE DIS Extemp Research ร่างตัวชี้วัด 11 ด้าน Pilot (phase I) Performance Indicators

  5. Performance Indicators 6 ตัวชี้วัด (16 ตัวชี้วัดย่อย) • ระยะเวลารอรับยาเฉลี่ยผู้ป่วยนอก (2 ตัวชี้วัดย่อย) • อัตราคลาดเคลื่อนทางยา (10 ตัวชี้วัดย่อย) • ร้อยละของผู้ป่วยนอกที่พบประวัติการแพ้ยา • อัตราผู้ป่วยที่แพ้ยาซ้ำ • จำนวนเดือนสำรองคลัง • จำนวนรายการยาขาดคราว

  6. วัตถุประสงค์การประชุมวัตถุประสงค์การประชุม • เพื่อชี้แจงรายละเอียดโครงการทดลองใช้ตัวชี้วัด • เพื่อหารือวิธีการทำงาน ขั้นตอนต่างๆ ในการทดลองใช้ตัวชี้วัด • เพื่อแนะนำตัวชี้วัดในโครงการ • เพื่อพัฒนาเครือข่ายโรงพยาบาล

  7. โครงการทดลองใช้และประเมินผลตัวชี้วัดสำหรับงานเภสัชกรรมโรงพยาบาลระยะที่ 1

  8. วัตถุประสงค์โครงการ เพื่อทดลองและประเมินการใช้ตัวชี้วัดกลางและแบบ บันทึกข้อมูลที่พัฒนาขึ้น

  9. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ โรงพยาบาลเครือข่าย • เป็น model ต้นแบบ มีส่วนร่วมในการพัฒนามาตรฐาน • เรียนรู้กระบวนการเก็บข้อมูล การแปรผล และนำไปใช้ประโยชน์ • เตรียมพร้อมระบบตัวชี้วัด และสามารถนำประสบการณ์จากโครงการมาใช้ในการประเมินคุณภาพจาก พรพ. • เรียนรู้ (ไม่ใช่ลอกเลียน) ซึ่งกันและกัน knowledgesharing • ได้รับการสนับสนุนทางวิชาการ (ประหยัดเวลา) • สิทธิในการเข้าอบรมเกี่ยวกับตัวชี้วัดสำหรับผู้ประสานงาน

  10. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ (โดยรวม)

  11. แนวทางการดำเนินงาน

  12. เตรียมการก่อนเก็บข้อมูล (ธ.ค. 49 – มี.ค. 50) • กำหนดผู้ประสานงานโครงการ • ศึกษาวิธีการเก็บข้อมูลตัวแปรของตัวชี้วัดแต่ละตัว (เก็บอะไร ที่ไหน อย่างไร ตามที่ระบุในร่างตัวชี้วัด) • เตรียมพร้อมระบบ เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลตัวแปรของตัวชี้วัดแต่ละตัว • กำหนดผู้บันทึกข้อมูล และผู้ดูแลการเก็บข้อมูลตัวชี้วัดแต่ละตัว • ตอบแบบสำรวจลักษณะข้อมูล และแหล่งข้อมูลของ รพ. • ร่วมอบรมตัวชี้วัด (ทำความเข้าใจกับแบบบันทึกข้อมูล นัดแนะการดำเนินการเก็บข้อมูล)

  13. ดำเนินการเก็บข้อมูล (เม.ย. – มิ.ย. 50) • เก็บข้อมูลตัวชี้วัดตามแบบบันทึกข้อมูล • รวบรวมและสรุปข้อขัดข้อง/อุปสรรคที่เกิดขึ้น พร้อมวิธีการแก้ไข (ถ้ามี) • เตรียมนำเสนอใน focus group

  14. สรุปและประเมินผลการทดลอง (ก.ค. – ต.ค. 50) • นำเสนอข้อขัดข้อง/อุปสรรคที่เกิดขึ้น วิธีการแก้ไข (ถ้ามี) พร้อมข้อเสนอแนะใน focus group • ตอบแบบประเมินผลโครงการ • ให้ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ เพื่อปรับปรุงร่างตัวชี้วัด โดยทีมผู้เชี่ยวชาญ และ ศสวย. มีส่วนร่วมกับโรงพยาบาล ในการแก้ไขข้อขัดข้อง/อุปสรรคที่อาจเกิดขึ้น ตลอดระยะเวลาโครงการ

  15. แนวทางการประเมินผล 3 แนวทาง • อภิปรายกลุ่ม (forcus group) (เฉพาะโรงพยาบาลในโครงการ) • แบบประเมินผล (โรงพยาบาลในโครงการ + โรงพยาบาลที่สนใจทั้งหมด) • ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะผ่านwww.psyric.info (โรงพยาบาลในโครงการ + โรงพยาบาลที่สนใจทั้งหมด)

  16. การประสานงาน • ติดต่อ ศสวย. www.psyric.info(บอร์ดแสดงความเห็นท้ายร่างตัวชี้วัด) email: jiraporn.u@psyric.info phone: 02-621-8992-3 Fax: 02-621-8993 • ติดต่อโรงพยาบาลเครือข่าย list ผู้ประสานงาน รพ. และที่ติดต่อ (ศสวย. รวบรวม แล้ว email ให้ผู้ประสานงานแต่ละ รพ.)

  17. Towards a Better Future for All

  18. Performance Indicators Intelligence:An easy access and user-friendly tool for continuous quality improvement in drug system by PSyRIC

  19. Web Application Login

  20. The Browse Mode

  21. The Event Details

  22. The Outcome Details

  23. The Patient Details

  24. The Analyzer Module

  25. The Root Causes

  26. Graphical Representation(1)The common root causes

  27. Graphical Representation(2)The sub-causes

  28. Graphical Representation(3)The event statistics

  29. Graphical Representation(4)The event statistics

  30. Graphical Representation(5)Search function -1

  31. Graphical Representation(5)Search function -2

  32. Reports (1)

  33. Reports (2)

  34. Performance Indicators วัตถุประสงค์ ใช้เป็นจุดเริ่มต้นในการสืบค้นปัญหา ซึ่งสถานพยาบาลต้องทำการศึกษาเชิงลึกหาสาเหตุต่อไป เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น

  35. Performance Indicators 6 ตัวชี้วัด (16 ตัวชี้วัดย่อย) • ระยะเวลารอรับยาเฉลี่ยผู้ป่วยนอก (2 ตัวชี้วัดย่อย) • อัตราคลาดเคลื่อนทางยา (10 ตัวชี้วัดย่อย) • ร้อยละของผู้ป่วยนอกที่พบประวัติการแพ้ยา • อัตราผู้ป่วยที่แพ้ยาซ้ำ • จำนวนเดือนสำรองคลัง • จำนวนรายการยาขาดคราว

  36. ระยะเวลารอรับยาเฉลี่ยผู้ป่วยนอกระยะเวลารอรับยาเฉลี่ยผู้ป่วยนอก วัตถุประสงค์ • เพื่อประเมินประสิทธิภาพในการบริการ OPD ตัวชี้วัดย่อย • ระยะเวลารอรับยาเฉลี่ยผู้ป่วยนอกช่วงเวลารีบเร่ง • ระยะเวลารอรับยาผู้ป่วยนอกโดยเฉลี่ยทั้งวัน

  37. ระยะเวลารอรับยาเฉลี่ยผู้ป่วยนอกระยะเวลารอรับยาเฉลี่ยผู้ป่วยนอก นิยาม ระยะเวลารอรับยา หมายถึง ระยะเวลาที่ใช้ในกระบวนการบริการจ่ายยา โดยนับเวลาตั้งแต่ห้องยาได้รับใบสั่งยาจนถึงเวลาที่เภสัชกรพร้อมส่งมอบยา ให้ผู้ป่วย กรณีที่ระบบการสั่งยาเป็นการสั่งผ่านระบบคอมพิวเตอร์ ให้นับเวลาตั้งแต่ ห้องยาสามารถดูคำสั่งจ่ายยาหรือใบสั่งยานั้นได้จากคอมพิวเตอร์และสามารถ ปฏิบัติงานได้จนถึงเวลาส่งมอบยาให้ผู้ป่วย ทั้งนี้ไม่รวมเวลาที่ใช้ในการอธิบาย การใช้ยา

  38. ระยะเวลารอรับยาเฉลี่ยผู้ป่วยนอกระยะเวลารอรับยาเฉลี่ยผู้ป่วยนอก ระยะเวลารอรับยาเฉลี่ย = ค่าเฉลี่ยจำนวนนาทีตั้งแต่ได้รับใบสั่งยา/คำสั่งจ่ายยาถึงเวลาที่ยานั้นพร้อมจ่ายสู่ผู้ป่วย ตัวแปรที่ต้องเก็บ • ระยะเวลาที่ใช้ในกระบวนการบริการจ่ายยาสำหรับใบสั่งยาแต่ละใบ • จำนวนใบสั่งยา ณ ช่วงเวลาที่ทำการเก็บข้อมูล แยกเป็นช่วงรีบเร่ง และทั้งวัน

  39. อัตราคลาดเคลื่อนทางยาอัตราคลาดเคลื่อนทางยา วัตถุประสงค์ • เพื่อทราบอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนทางยาในแต่ละขั้นตอนของกระบวนการใช้ยา • สร้างระบบความปลอดภัยด้านยาแก่ผู้ป่วย

  40. อัตราคลาดเคลื่อนทางยาอัตราคลาดเคลื่อนทางยา Prescrib. Dispens.Admin. IPD Ward (Pre-admin) Patient Physician Pharmacy (Pre-disp) Patient OPD Admin. Unit (ER, clinic, etc) (Pre-admin)

  41. อัตราคลาดเคลื่อนทางยาอัตราคลาดเคลื่อนทางยา ตัวชี้วัดย่อย • Prescribing error • Pre-dispensing error • Dispensing error • Pre-administration error • Administration error แยกเก็บ OPD และ IPD

  42. อัตราคลาดเคลื่อนทางยาอัตราคลาดเคลื่อนทางยา นิยาม Prescribing error หมายถึง ความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นกับคำสั่งใช้ยาที่มีผลหรืออาจนำไปสู่ความคลาดเคลื่อนทางยาในขั้นตอนอื่นๆ หรือเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ที่สามารถป้องกันได้ เนื่องจากการสั่งใช้ยานั้นไม่เป็นไปตามมาตรฐาน ข้อกำหนด หรือแนวทางปฏิบัติเรื่องการสั่งใช้ยาที่หน่วยงานกำหนดขึ้น ส่งผลให้ต้องมีการเปลี่ยนแปลงคำสั่งใช้ยาดังกล่าวใหม่ หรือวิเคราะห์ได้ว่าเกี่ยวข้องกับความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้น

  43. ชื่อผู้ป่วยผิด (ใบสั่งยาผิดคน) ชื่อยาผิด (สั่งยาผิดตัวรวมสะกดชื่อยาผิด?) ผิดขนาดความแรง (strength) ผิดรูปแบบ (dosage form) ผิดวิธี (route + frequency) ผิดปริมาณ (dose + amount) สั่งยาที่เป็น contraindication ยาซ้ำซ้อน สั่งยาไม่ครบ สั่งยาไม่ตรงตามนโยบาย หรือ guideline ของโรงพยาบาล Prescribing error กรณีไม่ระบุ เช่น ขนาด รูปแบบ วิธี ปริมาณ จะถือเป็น error หรือไม่

  44. อัตราคลาดเคลื่อนทางยาอัตราคลาดเคลื่อนทางยา นิยาม Pre-dispensing error หมายถึง ความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นใน ขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งของกระบวนการจัดยาในหน่วยงานเภสัชกรรม เช่น การเตรียมยา การเขียน/พิมพ์ฉลาก การจัดยาตามคำสั่งใช้ยา แต่ หน่วยงานสามารถตรวจพบความคลาดเคลื่อนดังกล่าวและแก้ไขให้ ถูกต้องก่อนจ่ายยาออกนอกหน่วยงาน

  45. Pre-dispensing error • พิมพ์ผิด (ชื่อผป. ชื่อยา ขนาด รูปแบบ วิธีใช้ จำนวน) • (คิดราคายาผิด กรณี manual) • จัดยาผิด (ชื่อผป. ชื่อยา ขนาด รูปแบบ วิธีใช้ จำนวน) • ตรวจสอบยาผิด แต่พบก่อนส่งออกนอกหน่วยงานหรือจ่ายให้ผู้ป่วย ตรวจพบและแก้ไขถูกต้องก่อนส่งออกนอกหน่วยงานหรือจ่ายให้ผู้ป่วย

  46. อัตราคลาดเคลื่อนทางยาอัตราคลาดเคลื่อนทางยา นิยาม Dispensing error หมายถึง ความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้น ในขั้นตอนการจ่ายยาหรือการส่งมอบยาที่เตรียมสำหรับผู้ป่วยเฉพาะรายที่ถึงผู้ป่วยหรือบุคลากรการแพทย์แล้ว อันเนื่องมาจากไม่ตรงตามคำสั่งใช้ยา หรือเป็นความคลาดเคลื่อนที่เภสัชกรควรตรวจพบได้เพราะคำสั่งใช้ยาไม่เป็นไปตามมาตรฐาน หรือ แนวทางที่กำหนดร่วมกัน

  47. Dispensing error • จ่ายผิด (ชื่อผป. ชื่อยา ขนาด รูปแบบ วิธีใช้ จำนวน) ให้นอกหน่วยงานหรือผู้ป่วย • จ่ายยาไม่ตรงตามนโยบาย หรือ guideline ของโรงพยาบาล กรณีมีระบบส่ง counseling ให้เภสัชกรอีกคนที่ไม่ใช่เภสัชกร ที่ตรวจสอบ หรือจ่ายยาให้ผู้ป่วย พบว่าผิด จัดเป็นความคลาดเคลื่อนกลุ่มนี้ เนื่องจาก หากผู้ป่วยไม่รับการ counseling ผู้ป่วยได้รับผลความคลาดเคลื่อนแล้ว

  48. อัตราคลาดเคลื่อนทางยาอัตราคลาดเคลื่อนทางยา นิยาม Pre-administration errorหมายถึงความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นใน ขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งของกระบวนการเตรียมยาก่อนให้ยาผู้ป่วย เช่น การคัดลอกคำสั่งใช้ยา การเตรียมยา การผสมยา การเขียน/พิมพ์ ฉลาก การจัดยาตามคำสั่งใช้ยา แต่พยาบาลสามารถตรวจพบความ คลาดเคลื่อนดังกล่าวและแก้ไขให้ถูกต้องก่อนให้ยาแก่ผู้ป่วย

  49. Pre-administration error • คัดลอกผิด (ชื่อผป. ชื่อยา ขนาด รูปแบบ วิธีใช้ จำนวน) • จัดยาผิด (ชื่อผป. ชื่อยา ขนาด รูปแบบ วิธีใช้ จำนวน) • ผสมยาผิด ตรวจพบและแก้ไขถูกต้องก่อนให้ยาผู้ป่วย

More Related