610 likes | 861 Views
การศึกษาผลกระทบต่อสุขภาพ จากสารอินทรีย์ระเหยง่ายในบรรยากาศ ในพื้นที่ชุมชนรอบนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง. อำพร บุศรังษี กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามัย โทร 0 2590 4349 นำเสนอในการอบรมการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษอากาศ วันที่ 11 สิงหาคม 2553 ณ โรงแรมสตาร์
E N D
การศึกษาผลกระทบต่อสุขภาพการศึกษาผลกระทบต่อสุขภาพ จากสารอินทรีย์ระเหยง่ายในบรรยากาศ ในพื้นที่ชุมชนรอบนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง อำพร บุศรังษี กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามัย โทร 0 2590 4349 นำเสนอในการอบรมการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษอากาศ วันที่ 11 สิงหาคม 2553 ณ โรงแรมสตาร์ http://hia.anamai.moph.go.th/
รศ.ดร.นพ.พงศ์เทพ วิวรรธนะเดช ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - กรมควบคุมมลพิษ กรมอุตุนิยมวิทยา - สสจ.ระยอง เทศบาลเมืองมาบตาพุด - อสม.และประชาชนในพื้นที่ 6 ชุมชน (หนองแฟบ บ้านพลง โสภณ ตากวน ซอยร่วมพัฒนา มาบชลูด) ที่ปรึกษา ผู้ที่ให้ความร่วมมือ
มลพิษอากาศ (คพ. เฝ้าระวัง) • - ก๊าซพื้นฐาน (SO2 NO2 O3 CO PM10) • - สารอินทรีย์ระเหยง่าย (สารวีโอซี) • มลพิษอากาศ (คพ. เฝ้าระวัง) • - ก๊าซพื้นฐาน (SO2 NO2 O3 CO PM10) • - สารอินทรีย์ระเหยง่าย (สารวีโอซี) • น้ำ (น้ำทะเล น้ำคลอง บ่อน้ำตื้น - โลหะหนัก) • ดิน / อาหาร (สัตว์ทะเล ฯลฯ) ปัญหา - มลพิษสิ่งแวดล้อม ผังแสดงพื้นที่นิคมอุตสาหกรรม 5 นิคม
1. ศึกษาปริมาณสารอินทรีย์ระเหยง่ายในบรรยากาศ โดยใช้เครื่องมือตรวจวัดแบบต่าง ๆ 2. ศึกษาผลกระทบต่อสุขภาพ (อาการปวดศีรษะ/เวียนศีรษะ) ของประชาชน วัตถุประสงค์
3. ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผลกระทบต่อสุขภาพและ สารวีโอซีในบรรยากาศ ที่เก็บโดยคานิสเตอร์ ส่งตรวจวิเคราะห์ห้องLAB วัตถุประสงค์ แบบที่ 1 สารวีโอซี 9 ชนิด
4. ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผลกระทบต่อสุขภาพและ • สารวีโอซีทั้งหมดในบรรยากาศ ที่ตรวจวัดโดย • เครื่องพีพีบีแร 3000 วัตถุประสงค์ แบบที่ 2 สารวีโอซีทั้งหมด
5. ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผลกระทบต่อสุขภาพและ สารวีโอซีในบรรยากาศ ที่เก็บโดยเครื่องมือแบบแพร่ ชนิดท่อ ส่งตรวจวิเคราะห์ห้อง LAB วัตถุประสงค์ แบบที่ 3 สารวีโอซี 8ชนิด
ถังเก็บตัวอย่างอากาศ (คานิสเตอร์ - canister) แบบที่ 1 ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผลกระทบต่อสุขภาพ และสารวีโอซีในบรรยากาศ ที่เก็บโดยคานิสเตอร์ ส่งตรวจวิเคราะห์ห้องLAB
พื้นที่ดำเนินการ 6 ชุมชน ทิศทางลม ช่วง พ.ค. – ก.ย. 2552 ลมพัดไปทาง ทิศตะวันตกเฉียงใต้ ชุมชนมาบชลูด บ้านพลง ชุมชนโสภณ ชุมชนซอยร่วมฯ บ้านหนองแฟบ บ้านตากวน 9
แบบสัมภาษณ์อาการ ปริมาณสารวีโอซี 9 ชนิด ในบรรยากาศ อาการปวดศีรษะ เวียนศีรษะ วิเคราะห์ผล การเก็บข้อมูล
สัมภาษณ์ ประชาชน ครั้งละ 300 คน โดย อสม. เก็บ 7 ครั้ง พ.ค.-ก.ย.52 กำหนดจำนวนประชาชนใน 6 ชุมชน ที่จะตอบแบบสัมภาษณ์
แบบสัมภาษณ์ • ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสัมภาษณ์ • ข้อมูลอาการ • ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ • ข้อมูลตัวกวน • โรคประจำตัว ยาที่ทาน การป่วย ดื่มสุรา ดื่มเครื่องดื่มชูกำลัง • ระยะห่างระหว่างบ้านกับปั๊มน้ำมันหรืออู่ซ่อมรถ • ข้อมูลบริบท • อุตุนิยมวิทยา (ทิศทางลม ความเร็วลม อุณหภูมิ • ความกดอากาศระดับน้ำทะเลความชื้นสัมพัทธ์ ปริมาณฝน • ทัศนวิสัยภาคพื้นดิน )
ผลการเก็บข้อมูลใน 6 ชุมชน เก็บข้อมูล2ครั้ง (13 พ.ค. 52 และ 18 มิ.ย. 52) วันเก็บข้อมูลสุขภาพกับข้อมูลสารวีโอซีตรงกันเพียง 2 วัน
ปริมาณสารวีโอซีที่เฝ้าระวังของกรมควบคุมมลพิษปริมาณสารวีโอซีที่เฝ้าระวังของกรมควบคุมมลพิษ - พบว่าค่าที่ตรวจวัดได้ไม่เกินค่าเฝ้าระวังของกรมควบคุมมลพิษ - หน่วยของสารวีโอวีเป็น ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
ประชากรตัวอย่าง 389 คน มีอาการปวดศีรษะ 49 คน (12.6%) 18 21 10 25 49
ประชากรตัวอย่าง 389 คน มีอาการเวียนศีรษะ 49 คน (12.6%) 15 14 7 49 8 26
ชุมชนที่มีประชากรตัวอย่าง • ปวดศีรษะจำนวนมากที่สุด • มาบชลูด (25 คน) • บ้านพลง(10 คน) • ตากวน (5 คน) • หนองแฟบ (4 คน) • ซอยร่วมพัฒนา (4 คน) • โสภณ (1 คน) • ชุมชนที่มีประชากรตัวอย่าง • เวียนศีรษะจำนวนมากที่สุด • มาบชลูด (26 คน) • หนองแฟบ (8 คน) • บ้านพลง(7 คน) • ตากวน (5 คน) • ซอยร่วมพัฒนา (3 คน) 26 25 10 ชุมชนมาบชลูด บ้านพลง ชุมชนโสภณ ชุมชนซอยร่วมฯ บ้านหนองแฟบ 8 บ้านตากวน 7
ผลของสารวีโอซีต่ออาการปวดศีรษะ เวียนศีรษะ ปริมาณสารเบนซีน เตตระคลอโรเอทธิลีน ไวนิลคลอไรด์ ในบรรยากาศมีความสัมพันธ์กับอาการปวดศีรษะของประชาชน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ p-value < 0.05 ปริมาณสาร 1,2 ไดคลอโรอีเทนในบรรยากาศ มีความสัมพันธ์กับอาการเวียนศีรษะของประชาชน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ p-value < 0.05
แบบที่ 2 ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผลกระทบต่อสุขภาพ และสารวีโอซีทั้งหมดในบรรยากาศ ที่ตรวจวัดโดยเครื่อง พีพีบี แร 3000
พื้นที่ดำเนินการ 3 ชุมชน บ้านพลง โสภณ ตากวน ทิศทางลม ช่วง 7 พ.ค. – 6 มิย. 52 ลมพัดไปทาง ทิศตะวันตกเฉียงใต้ บ้านพลง ชุมชนโสภณ บ้านตากวน 21
ตรวจวัด ที่บ้าน 3 หลัง แบบสัมภาษณ์อาการ ปริมาณ Total VOC(TVOC)ในบรรยากาศ อาการปวดศีรษะ และเวียนศีรษะ วิเคราะห์ผล สรุปการเก็บข้อมูล
สัมภาษณ์ ประชาชน ครั้งละ 66 คน โดย อสม. เก็บ 31 วัน 7พ.ค.-6มิ.ย.52 จำนวนประชาชนใน 3 ชุมชน ที่จะตอบแบบสัมภาษณ์
การติดตั้งเครื่องตรวจวัด พีพีบี แร 3000ณ บ้านคุณปราณี สานเจริญ ชุมชนบ้านพลง
เครื่องมือที่ติดตั้งภายในบ้านเครื่องมือที่ติดตั้งภายในบ้าน
การติดตั้งเครื่องตรวจวัด พีพีบี แร 3000ณ บ้านคุณรัตนาวดี โสภณ ชุมชนโสภณ
การติดตั้งเครื่องตรวจวัด พีพีบี แร 3000ณ ศูนย์บริการสาธารณสุขตากวน ชุมชนตากวน
ผลการศึกษาใน 3 ชุมชน เก็บข้อมูล 31ครั้ง (7 พ.ค. 52 ถึง 6 มิ.ย. 52)
ปริมาณสาร TVOC ที่ตรวจวัดได้ใน 3 ชุมชน หน่วยเป็น พีพีบี (ppb)
ประชากรตัวอย่าง 2,046คน มีอาการปวดศีรษะ 125 คน (6.1%) 44 53 40 58 125
ประชากรตัวอย่าง 2,046 คน มีอาการเวียนศีรษะ 125 คน(5.2%) 47 37 39 33 35 107
ชุมชนที่มีประชากรตัวอย่างชุมชนที่มีประชากรตัวอย่าง • ปวดศีรษะ • ตากวน (58 คน) • บ้านพลง(40 คน) • โสภณ (27 คน) • ชุมชนที่มีประชากรตัวอย่าง • เวียนศีรษะ • บ้านพลง(39 คน) • ตากวน (35 คน) • โสภณ (33 คน) 39 40 บ้านพลง ชุมชนโสภณ 33 27 บ้านตากวน 58 35 32
ผลของสารTVOC ต่ออาการปวดศีรษะ เวียนศีรษะ ปริมาณสารวีโอซีทั้งหมดในบรรยากาศ ไม่มีความสัมพันธ์กับอาการปวดศีรษะของประชาชน ในพื้นที่ชุมชนโสภณ ตากวน และบ้านพลง ปริมาณสารวีโอซีทั้งหมดในบรรยากาศ มีความสัมพันธ์กับอาการเวียนศีรษะของประชาชนในพื้นที่ชุมชนตากวน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ p-value < 0.05
10.00 - 11.00 น. 7.00 – 8.00 น. ปริมาณ TVOCใน1 วัน ของตากวน
9.00 - 10.00 น. 6.00 - 7.00 น. ปริมาณ TVOCใน1 วัน ของโสภณ
20.00 - 21.00 น. 21.00 - 22.00 น. ปริมาณ TVOCใน1 วัน ของบ้านพลง
แผนภูมิแสดงผลการตรวจวัด(เฉลี่ย) ปริมาณสารวีโอซีทั้งหมด ในบรรยากาศ เฉลี่ย24 ชั่วโมง ของชุมชนโสภณ ตากวน บ้านพลง ตากวน บ้านพลง โสภณ ปริมาณ TVOCใน1เดือน
แผนภูมิแสดงจำนวนประชากรตัวอย่างแผนภูมิแสดงจำนวนประชากรตัวอย่าง ที่มีอาการปวดศีรษะและเวียนศีรษะของชุมชนตากวน ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ จำนวน ผู้ปวดศีรษะ ผู้เวียนศีรษะ ใน 1เดือนตากวน
แผนภูมิแสดงจำนวนประชากรตัวอย่างแผนภูมิแสดงจำนวนประชากรตัวอย่าง ที่มีอาการปวดศีรษะและเวียนศีรษะของชุมชนโสภณ ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ จำนวน ผู้ปวดศีรษะ ผู้เวียนศีรษะ ใน1เดือนโสภณ
แผนภูมิแสดงจำนวนประชากรตัวอย่างแผนภูมิแสดงจำนวนประชากรตัวอย่าง ที่มีอาการปวดศีรษะและเวียนศีรษะของชุมชนบ้านพลง ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ จำนวน ผู้ปวดศีรษะ ผู้เวียนศีรษะ ใน1เดือนบ้านพลง
แบบที่ 3 ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผลกระทบต่อสุขภาพ และสารวีโอซีในบรรยากาศ ที่เก็บตัวอย่างด้วย เครื่องมือแบบแพร่ชนิดท่อส่งตรวจห้อง LAB เครื่องมือ แบบแพร่ชนิดท่อ (Passive sampler)
พื้นที่ดำเนินการ 6 ชุมชน ทิศทางลม ช่วง 14 – 19 ก.ค. 52 ลมพัดไปทาง ทิศตะวันตกเฉียงใต้ ชุมชนมาบชลูด บ้านพลง ชุมชนโสภณ ชุมชนซอยร่วมฯ บ้านหนองแฟบ บ้านตากวน 42
ปริมาณสารวีโอซี 8 ชนิดในบรรยากาศ อาการปวดศีรษะ และเวียนศีรษะ วิเคราะห์ผล สรุปการเก็บข้อมูล แบบสัมภาษณ์อาการ
สารวีโอซี 8ชนิด • สารวีโอซีตามมาตรฐาน กก.วล. ( 5 ชนิด จาก 9ชนิด) • เบนซีน • 1,2-ไดคลอโรอีเทน • ไตรคลอโรเอทธิลีน • เตตระคลอโรเอทธิลีน • คลอโรฟอร์ม • สารวีโอซีที่ไม่ได้อยู่ในมาตรฐาน กก.วล. • โทลูอีน • ไซลีน • เอทธิลเบนซีน
ประชากรตัวอย่างใน 6 ชุมชน สัมภาษณ์ ประชากร 60 ตัวอย่าง ทุกวัน เป็นเวลา 6 วัน (14-19 กรกฎาคม 2552) โดยเจ้าหน้าที่กรมอนามัย
ขั้นตอนการติดตั้งเครื่องมือแบบแพร่ชนิดท่อ ณ ห้องประชุมเทศบาลเมืองมาบตาพุด14 กรกฎาคม2552 ชี้แจง ขั้นตอนการติดเครื่องมือแบบแพร่ชนิดท่อ และการปฏิบัติตนขณะติดเครื่องมือกับประชากรตัวอย่าง
นำเครื่องมือแบบแพร่ชนิดท่อมาติดกับตัวประชากรตัวอย่างนำเครื่องมือแบบแพร่ชนิดท่อมาติดกับตัวประชากรตัวอย่าง ขั้นตอนการติดตั้งเครื่องมือแบบแพร่ชนิดท่อ
เจ้าหน้าที่ติดบัตรประตัวที่มีชื่อและชุมชนกับประชากรตัวอย่าง ขั้นตอนการติดตั้งเครื่องมือแบบแพร่ชนิดท่อ
ขั้นตอนการติดตั้งเครื่องมือแบบแพร่ชนิดท่อขั้นตอนการติดตั้งเครื่องมือแบบแพร่ชนิดท่อ ประชากรตัวอย่างที่ติดตั้งเครื่องมือแบบแพร่ชนิดท่อเรียบร้อยแล้ว
ผลการศึกษาใน 6 ชุมชน เก็บข้อมูล 6ครั้ง (14 ก.ค. 52 ถึง 19 ก.ค. 52) โดยเก็บซ้ำคนเดิม ต่อเนื่องกัน 6 วัน ๆ ละ 1 ครั้ง จำนวนตัวอย่างทั้งสิ้น 360 ตัวอย่าง