230 likes | 381 Views
About me. Mr.Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya My Academic Profile B.Sc in Chemical Industrial CMU (Silicate Technology ) 1992 MBA. in Marketing PYU 1998 MITM ( Master of Information Technology and Management ) , CMU 2004 MKIS , Retailing Mng. , Dummy Production Management
E N D
About me • Mr.Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya My Academic Profile • B.Sc in Chemical Industrial CMU (Silicate Technology ) 1992 • MBA. in Marketing PYU 1998 • MITM (Master of Information Technology and Management) , CMU2004 • MKIS , Retailing Mng. , Dummy • Production Management • Logistic & Supply chain Marketing Dept. Business Admin Fac.Payap university Email : kulachatrakul@gmail.com : kulachatr@payap.ac.th
Logistic ManagementIntroduction & Strategy Aj-Kulachatr C. Na Ayudhya Naresuan University Payao Campus Semester 1/50
นักบริหารจัดการโลจิสติกส์ระดับโลกนักบริหารจัดการโลจิสติกส์ระดับโลก
Logistics Management Section 1 Ch1 ความสำคัญเชิงกลยุทธ์ของโลจิสติกส์ Ch2 การจัดการโลจิสติกส์ระดับโลก Ch 3 กิจกรรมด้านโลจิสติกส์ Ch 4 โลจิสติกส์ และ การจัดการซัพพลายเชน
Logistics Management Section 2 Ch5 การพยากรณ์ความต้องการ Ch6 การจัดการสินค้าคงคลัง Ch 7 การจัดการการผลิตและการไหลของพัสดุ Ch 8 การจัดการคลังสินค้าและบรรจุภัณฑ์ Ch9 อุปกรณ์การจัดเก็บและเคลื่อนย้ายในโลจิสติกส์ Ch10 การจัดการการขนส่ง Ch 11การวางแผนเครือข่ายและการเลือกทำเลที่ตั้ง Ch 12เทคโนโลยีสารสนเทศในโลจิสติกส์
Logistics Management Section 3 Ch13 การเงินกับการจัดการโลจิสติกส์ Ch14 การวางแผนกลยุทธ์สำหรับโลจิสติกส์ Ch 15 การควบคุมด้านโลจิสติกส์ Ch 16 การลดต้นทุน สร้างกำไรจากกิจกรรมโลจิสติกส์
Strategic Logistics Chapter 1 ความหมาย พัฒนาการ และ ความเป็นมา The Important of Strategic Logistics ประโยชน์ ของ โลจิสติกส์ กลยุทธ์องค์กรและ การจัดการ การเพิ่มขีด ความสามารถ ในการแข่งขัน
Aviation Ship Truck Transportation Business Warehouse Traffic
ความสำคัญเชิงกลยุทธ์ของระบบโลจิสติกส์ความสำคัญเชิงกลยุทธ์ของระบบโลจิสติกส์ ความหมายของการจัดการโลจิสติกส์ : กระบวนการเคลื่อนย้ายและจัดเก็บสินค้า วัตถุดิบจากแหล่งกำเนิดจนถึงผู้บริโภคคนสุดท้าย Management of process of moving and storing goods and materials from the original source to ultimate user (Logistics Training International Limited , 2001) 1950-1964 ใช้ในกิจการทหารเพื่อการส่งกำลังบำรุง 1965-1979 นำระบบโลจิสติกส์มาใช้ในการจัดการวัสดุและกระบวน การกระจายสินค้า เริ่มมีกระบวนการทางการตลาด การจัดซื้อ การ พยากรณ์ความต้องการสินค้าและให้ความสำคัญกับต้นทุน กำไรและ ผลตอบแทนการลงทุน
ความสำคัญเชิงกลยุทธ์ของระบบโลจิสติกส์ความสำคัญเชิงกลยุทธ์ของระบบโลจิสติกส์ 1980-1990 เป็นช่วงเศรษฐกิจถดถอยเกิดความผิดพลาดเรื่องการ จัดการกระจายสินค้าและการจัดการวัสดุคงคลังในบริษัทธุรกิจเริ่ม ข้ามชาติกันมากขึ้นผู้บริหารเริ่มหันมาให้ความสนใจโลจิสติกส์เพื่อ ลดต้นทุนบริหารจัดการมากขึ้นแต่ยุคนี้ยังขาดข้อมูลสารสนเทศจึง ไม่มีใครสนใจความต้องการของลูกค้าอย่างแท้จริง 1990เป็นยุคของเทคโนโลยีสารสนเทศมีข้อมูลข่าวสารกระจาย และเข้าถึงได้ง่ายมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างองค์กรด้วยEDI (Electronic Data Interchange)ทำให้มีการไหลของสารสนเทศเร็ว และถูกต้องมากยิ่งขึ้นใช้ข้อมูลชุดเดียวเพื่อลดการซ้ำซ้อนของงาน กระแสเงินสดไหลเวียนดีขึ้นด้วยEFT (Electronic Fund Transfer) ปัจจุบันมีเครือข่ายอินเทอร์เนตที่ให้ความเร็วสูงต้นทุนต่ำสามารถ เพิ่มขีดความสามารถในระดับโลกและทำให้ทราบความต้องการของ ลูกค้าปลายน้ำ(down-stream) เพื่อวางแผนบริหารการผลิตต้นน้ำ (up-stream) ในระบบโซ่อุปทาน(Supply Chain) ได้
การจัดการซัพพลายเชน Supply Chain Management ; กระบวนการบูรณาการ ประสานงาน และควบคุมการเคลื่อนย้ายสินค้าคงคลัง ได้แก่ วัตถุดิบ สินค้าสำเร็จรูปและ สารสนเทศที่เกี่ยวข้องในกระบวนการจากผู้ขายวัตถุดิบผ่านบริษัทไปยัง ผู้บริโภค เพื่อให้เป็นไปตามความต้องการของผู้บริโภค (The council of logistics Management ,2002) Supply Chain Information Flow การผลิต การกระจายสินค้า การตลาด การจัดซื้อ Up-stream Down-stream Logistics Physical Flow of products
การจัดการซัพพลายเชนกับระบบโลจิสติกส์การจัดการซัพพลายเชนกับระบบโลจิสติกส์ จากภาพจะพบว่ากิจกรรมใน Supply Chain ประกอบด้วย (Up-stream)การจัดซื้อ การผลิตหรือการดำเนินงาน การกระจายสินค้าการตลาด (Down-stream) ซึ่งจะดำเนินการเกี่ยวเนื่องสอดคล้องกันทั้งกระบวนการ (โซ่) การจัดการซัพพลายเชนที่ดีจะทำให้ล่วงรู้ความต้องการของ up-stream ซึ่งจะทำให้ down-stream เตรียมการได้ตามต้องการ ด้วยระบบสารสนเทศ (Information System) และเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) Up- stream จะเตรียมวัตถุดิบ ส่งผ่านไปผลิต กระจายสินค้าเข้าสู่ระบบการตลาดและขนส่งถึงลูกค้า Down-stream ในเวลาปริมาณและสถานที่อย่างถูกต้องก็ต่อเมื่อมีระบบ Logistics ที่ดี
การใช้ IT ในกระบวนการซัพพลายเชนและโลจิสติกส์
กลยุทธ์องค์กรกับการจัดการโลจิสติกส์กลยุทธ์องค์กรกับการจัดการโลจิสติกส์ • Logistics Process • Inputs • Man Money • Machine • Material • Management Conversion Process • Outputs • Products • Service Information Feedback Efficiency in logistic systems ควรใช้ทรัพยากรร่วมกันทั้งระบบ หล่อหลอมการทำงานเป็นหนึ่งเดียวกัน ยกเลิกระบบต่างคนต่างทำหรือแข่งกันทำ แต่ควรมีเป้าหมายระยะไกลร่วมกันในการทำงาน คือ ส่งมอบตรงเวลา ในปริมาณที่ลูกค้าต้องการ
กลยุทธ์ธุรกิจกับโลจิสติกส์กลยุทธ์ธุรกิจกับโลจิสติกส์ Best Practice “Delivery in 30 min”
โลจิสติกส์ : กลยุทธ์เพื่อการแข่งขัน • โลจิสติกส์ เป็น เครื่องมือเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน การขนส่งในเวลารวดเร็ว ตอบสนองความต้องการลูกค้าได้ ทั้งชนิด ปริมาณ เวลาและสถานที่ที่ถูกต้อง สร้างความพึงพอใจสูงสุดแก่ลูกค้า เช่น Pizza Company , DHL , FedEx , 7-11 • โลจิสติกส์สร้างกลยุทธ์การแข่งขันได้ ด้วยการตอบสนองลูกค้าในด้าน • Speed • On Time • Responsibility • Continuous Process • 5 R’s Right Quality Right Quantity Right Source Right Time Right Place
ประโยชน์ของโลจิสติกส์ประโยชน์ของโลจิสติกส์ • ลดต้นทุนและสร้างกำไรให้ธุรกิจ ทำให้ธุรกิจเติบโต • เป็นเครื่องมือเชิงกลยุทธ์ในการทำธุรกิจ • เปลี่ยนการทำงานแบบตามหน้าที่มาเป็นแบบกระบวนการ • ประสานงานให้บรรลุเป้าหมายและนโยบายองค์การ • ทำให้ใช้ทรัพย์สินที่คุ้มค่ามากกว่าเดิม • เพิ่มประสิทธิภาพในการบริการลูกค้า • สร้างความสัมพันธ์กับลูกค้าทั้งภายในและภายนอกองค์การ • มีความรวดเร็วในการสื่อสารด้วย IT
ข้อมูลบรรณานุกรม • http://mkpayap.payap.ac.th/course/myweb/logistics/logistic_main.htm • คำนาย อภิปรัชญาสกุล,โลจิสติกส์และการจัดการซัพพลายเชน “กลยุทธ์ทำให้รวยช่วยประหยัด”, --กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์นัฐพร , 2546. ISBN : 974-91639-5-8