1.08k likes | 1.29k Views
ภัยผู้หญิง. โดย พ.ต.ท.โชติวิเชียร วิเชียรโชติ. เรื่อง จริง ที่ควรรู้. อาชญากรทั่วโลก เป็น ชาย มากกว่าหญิง. ผู้ได้รับผลจากอาชญากรรมทั่วโลก ส่วนใหญ่เป็น ผู้หญิง. สถิติคดีข่มขืนในประเทศไทย ปี54 ม.ค.-ธ.ค. 2554. แจ้งความ 3, 771 คดี จับกุมได้ 2,290 คน เฉลี่ย วันละ 10.3 ราย หรือทุกๆ 2.3 ชั่วโมง
E N D
ภัยผู้หญิง โดย พ.ต.ท.โชติวิเชียร วิเชียรโชติ
อาชญากรทั่วโลก เป็นชายมากกว่าหญิง
ผู้ได้รับผลจากอาชญากรรมทั่วโลกส่วนใหญ่เป็นผู้หญิงผู้ได้รับผลจากอาชญากรรมทั่วโลกส่วนใหญ่เป็นผู้หญิง
สถิติคดีข่มขืนในประเทศไทยปี54ม.ค.-ธ.ค.2554สถิติคดีข่มขืนในประเทศไทยปี54ม.ค.-ธ.ค.2554 แจ้งความ 3,771 คดี จับกุมได้ 2,290คน เฉลี่ย วันละ 10.3 ราย หรือทุกๆ 2.3 ชั่วโมง นักวิจัยต่างประเทศประเมินว่า มีผู้ถูกข่มขืน แล้วไม่แจ้งความสูงกว่า 6 เท่า
คนงานก่อสร้างต่างด้าว ฆ่าข่มขืน นศ. 9 ก.พ.52
ฆ่าข่มขืน นศ. ป.โท ที่ จ.เชียงใหม่ เมื่อ 6 พ.ย.55
อย่าให้รายต่อไปเป็น “คุณ” หรือ “ คนที่คุณรัก”
ปัจจัยที่ทำให้เกิดภัยปัจจัยที่ทำให้เกิดภัย 1 ปัจจัยภายใน 1.1 สรีระร่างกาย บอบบางกว่าผู้ชาย 1.2 ความคิดของผู้หญิงเอง -มักคิดว่าเรื่องภัยที่เกิดขึ้นทุกวันเป็นเรื่องไกลตัว คงไม่เกิดขึ้นกับตัวเรา จึงไม่เคยเตรียมหาวิธีป้องกันตัวไว้เลย - ขี้สงสาร ขี้เกรงใจ มองโลกในแง่ดี
2. ปัจจัยภายนอกคือการพาตัวเองไปอยู่ในสถานการณ์เสี่ยง 3 อย่าง 2.1 สถานที่เสี่ยง - ซอยเปลี่ยว, เธค, ผับ โรงแรมม่านรูด ชายทะเลเปลี่ยว, ห้องพักของเพื่อนชาย 2.2 เวลาเสี่ยง - เวลากลางคืน, เวลาปิดทำการของออฟฟิศ 2.3 บุคคลเสี่ยง - บุคคลวิกลจริต, บุคคลแปลกหน้า, พ่อเลี้ยง, ขี้เหล้า,ขี้ยา ,เพื่อนชายของคุณเองด้วย
ความคิดของอาชญากร ก่อนลงมือกระทำผิด 1.คิดแล้วว่าสามารถลงมือกระทำ ต่อเหยื่อได้โดยไม่มีการขัดขวาง หรือถึงจะมีการขัดขวางก็สามารถ กระทำได้จนสำเร็จ 2. คิดว่าเมื่อกระทำผิดสำเร็จแล้ว สามารถหลบหนีได้โดยไม่มีใครรู้ว่าตนเป็นผู้กระทำ หรือถึงรู้ก็ไม่สามารถติดตามจับกุมตัวได้
วิธีป้องกันภัยในบ้านพักอาศัยวิธีป้องกันภัยในบ้านพักอาศัย
1.สำรวจ ซ่อมแซม ติดตั้ง รั้ว กลอนประตู หลอดไฟ
2.ติดตั้งเหล็กดัด ระบบเตือนภัย เลี้ยงสุนัข
3. เมื่ออยู่บ้านคนเดียวไม่ควรให้ใครเข้าบ้าน • พ่อค้าเร่ คนรับซื้อของเก่า • พนักงานส่งเอกสาร • ช่างซ่อมไฟฟ้า ประปา ดูดส้วม • บุคคลที่อ้างตัวเป็นเจ้าหน้าที่ • เพื่อนบ้านชาย
4.ในห้องนอนควรมีอุปกรณ์ให้พร้อม4.ในห้องนอนควรมีอุปกรณ์ให้พร้อม
5.ปิดไฟในบ้านแต่เปิดไฟรอบบริเวณบ้านให้สว่างปลอดภัย5.ปิดไฟในบ้านแต่เปิดไฟรอบบริเวณบ้านให้สว่างปลอดภัย
เปิดไฟในบ้านสว่างแต่รอบบ้านมืด อันตราย
6.หากรู้สึกว่ามีคนร้ายเข้ามาในบ้าน อย่าเปิดประตูออกมาดู ให้รีบล็อคประตูห้อง แล้วโทรแจ้งตำรวจ โทร. 191 ตลอด 24 ชม. ทั่วไทย
7. ถ้ากำลังจะเข้าบ้านแล้วสงสัยว่ามีคนร้ายอยู่ในบ้าน อย่าเข้าไป!ให้รีบแจ้งเพื่อนบ้าน แล้วรีบโทรแจ้งตำรวจ
วิธีป้องกันภัยในอพาร์ตเม้นต์วิธีป้องกันภัยในอพาร์ตเม้นต์
1. เลือกอพาร์ตเม้นต์ที่มีระบบรักษาความปลอดภัยดี
2.เลือกห้องพักที่ไม่มีระเบียงติดกับห้องอื่น และไม่อยู่ชั้นบนสุดติดกับดาดฟ้า
อพาร์ทเมนต์ที่มีระเบียงไม่ติดกัน (ปลอดภัย)
3. ควรเปลี่ยนลูกบิดใหม่ ป้องกันการปั๊มกุญแจของผู้อาศัยเดิม
4.ติดตั้งกลอนประตู หรือโซ่คล้องด้านในป้องกันการจู่โจมเลนส์ตาแมวเพื่อสังเกตผู้ที่มาเคาะประตู
5.สำรวจผนังห้องน้ำและฝ้าเพดานห้องน้ำ5.สำรวจผนังห้องน้ำและฝ้าเพดานห้องน้ำ
ฝ้าเพดานห้องพัก (ห้องน้ำ)
6.หมั่นสังเกตพฤติกรรมผู้พักอาศัยห้องข้างเคียง6.หมั่นสังเกตพฤติกรรมผู้พักอาศัยห้องข้างเคียง
7. ห้ามเปิดประตูออกไปพูดคุยกับผู้ที่มาเคาะประตู โดยปราศจากการคล้องโซ่ประตู แม้ว่าบุคคลนั้นจะเป็น รปภ.ก็ตาม