1 / 46

โดย นางนลินี จาริกภากร นักวิชาการเกษตรเชี่ยวชาญ

รู้พืช รู้ปลอดภัย ปลูกกิน ใช้ให้พอเพียง. โดย นางนลินี จาริกภากร นักวิชาการเกษตรเชี่ยวชาญ ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการพืชที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่(ภาคใต้ตอนล่าง) สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 8 กรมวิชาการเกษตร. WWW.soard8.com.

maille
Download Presentation

โดย นางนลินี จาริกภากร นักวิชาการเกษตรเชี่ยวชาญ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รู้พืช รู้ปลอดภัย ปลูกกิน ใช้ให้พอเพียง โดย นางนลินี จาริกภากร นักวิชาการเกษตรเชี่ยวชาญ ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการพืชที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่(ภาคใต้ตอนล่าง) สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 8 กรมวิชาการเกษตร WWW.soard8.com

  2. ระบบการจัดการคุณภาพด้านพืช( Plant Quality Management System : PQMS ) WWW.soard8.com หลักการ ยึดมั่นในหลักการจัดการผลผลิต ให้ผลผลิตที่ได้มีความปลอดภัย ได้รับความพึงพอใจจากคู่ค้า และสามารถตรวจสอบย้อนกลับได้ตลอดทั้งกระบวนการผลิต

  3. ระบบการวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤติที่ต้องควบคุมในการผลิตอาหาร( HAZARD ANALYSIS AND CRITICAL CONTROL POINT (HACCP) SYSTEM AND GUIDELINES FOR ITS APPLICATION ) WWW.soard8.com อาศัยพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และมีการดำเนินการอย่างเป็นระบบ มีการระบุอันตรายและกำหนดมาตรการในการควบคุมเพื่อให้เกิดความมั่นใจในปลอดภัยของผลิตภัณฑ์อาหาร

  4. ระบบมาตรฐาน CODEX วัตถุประสงค์ 1. คุ้มครองสุขอนามัยของผู้บริโภคและประกันการปฏิบัติที่เป็นธรรมในการค้าระหว่างประเทศ 2. ส่งเสริมความร่วมมือประสานงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐานสินค้าอาหารทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน 3. พิจารณากำหนดและจัดลำดับความสำคัญ ริเริ่มและแนะนำในการจัดเตรียมมาตรฐานโดยความช่วยเหลือจากองค์กรที่เกี่ยวข้อง 4. พิจารณากำหนดมาตรฐานและจัดพิมพ์เกณฑ์มาตรฐานในเอกสาร codex tarious หลังจากเป็นที่ยอมรับของรัฐบาลประเทศต่างๆแล้ว 5.แก้ไขปรับปรุงเกณฑ์มาตรฐานที่จัดพิมพ์ไปแล้ว หลังจากมีการสำรวจตรวจพบข้อบกพร่อง โดยเน้นที่การพัฒนามาตรฐานคุณภาพ

  5. ระบบมาตรฐานISO 9000 WWW.soard8.com ISO 9001 * ว่าด้วยมาตรฐานสำหรับระบบคุณภาพ การประกัน คุณภาพในการออกแบบพัฒนาการผลิต การติดตั้ง การบริการ ใช้กับธุรกิจที่เริ่มต้นตั้งแต่การออกแบบ การผลิตและการส่งมอบให้ลูกค้า

  6. ระบบมาตรฐานISO 9000 WWW.soard8.com ISO 9002 * ว่าด้วยมาตรฐานสำหรับระบบคุณภาพ การประกัน คุณภาพในการผลิตและการติดตั้ง ใช้กับการผลิต ทั่วไป

  7. ระบบมาตรฐานISO 9000 WWW.soard8.com ISO 9003 * ว่าด้วยมาตรฐานสำหรับระบบคุณภาพ การประกัน คุณภาพในการตรวจและการทดสอบขั้นสุดท้าย

  8. ระบบมาตรฐานISO/IEC 17025 WWW.soard8.com ว่าด้วยความสามารถของห้องปฏิบัติการทดสอบและห้องปฏิบัติการสอบเทียบซึ่งกำหนดเกณฑ์สำหรับห้องปฏิบัติการทดสอบและห้องปฏิบัติการสอบเทียบที่ต้องแสดงให้เห็นว่าห้องปฏิบัติการมีการดำเนินงานด้วยระบบคุณภาพ มีความสามารถทางวิชาการ

  9. ระบบมาตรฐานISO/IEC Guide 62 : 1996 WWW.soard8.com ข้อกำหนดทั่วไปสำหรับหน่วยงานที่ทำหน้าที่ประเมินและให้การรับรอง/การจดทะเบียนเกี่ยวกับระบบคุณภาพ

  10. ระบบมาตรฐานผลิตภัณฑ์ มอก. WWW.soard8.com ระบบมาตรฐานสินค้าของประเทศไทยใช้ระบบมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่ใช้ชื่อย่อว่า มอก.( Thai Industrial Stands : TIS )

  11. ระบบการผลิตทางการเกษตรที่ถูกต้องและเหมาะสม( Good Agricultural Practice : GAP ) WWW.soard8.com แนวทางในการทำการเกษตรกรรม เพื่อให้ได้ผลผลิตดีที่มีคุณภาพดี ตรงตามมาตรฐานที่กำหนด ผลผลิตคุ้มค่าการลงทุน และขบวนการผลิตจะต้องปลอดภัยต่อเกษตรกร และผู้บริโภค มีการใช้ทรัพยากรที่เกิดประโยชน์สูงสุด เกิดความยั่งยืนทางการเกษตร และไม่ทำให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม

  12. WWW.soard8.com ทำไม ? ต้องเป็นระบบจัดการคุณภาพ GAP: พืช สำหรับประเทศไทย

  13. WWW.soard8.com ระบบจัดการคุณภาพ GAP: พืช

  14. WWW.soard8.com ระบบจัดการคุณภาพ GAP : พืช พัฒนาจากข้อดีของระบบสากล (HACCP ISO GMP และ QA) ให้เหมาะสมกับเกษตรกรไทยและเงื่อนไขทางการค้า

  15. นโยบายคุณภาพ WWW.soard8.com องค์ประกอบของระบบฯ วัตถุประสงค์คุณภาพ แผนควบคุม คุณภาพ ระเบียบปฏิบัติ GAP พืช เอกสารสนับสนุน

  16. WWW.soard8.com ประโยชน์การทำ GAP • เป็นเครื่องมือ • : การเจรจาการค้าระหว่างประเทศ • : สร้างความเชื่อมั่น • : เพิ่มอำนาจต่อรองราคาสินค้า • สร้างความมั่นใจ • : ผู้บริโภคโดยตรง • : ผู้ใช้วัตถุดิบเพื่ออุตสาหกรรม

  17. WWW.soard8.com การรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร

  18. WWW.soard8.com คำนิยาม มาตรฐาน ข้อกำหนดคุณลักษณะสำหรับผลิตภัณฑ์หรือแนวทางสำหรับกระบวนการผลิตรวมทั้งวิธีการผลิตที่เกี่ยวข้องประกาศโดยหน่วยงานที่มีอำนาจหน้าที่ในระดับประเทศหรือระดับสากล และเผยแพร่ให้ผู้เกี่ยวข้องได้ทราบ

  19. WWW.soard8.com คำนิยาม เครื่องหมายรับรอง “Q” เครื่องหมายที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ประกาศใช้เพื่อแสดงถึงการให้การรับรองสินค้าเกษตรและอาหารว่าเป็นไปตามมาตรฐานที่ประกาศโดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ ในด้านความปลอดภัยอาหาร (food safety ) และด้านคุณภาพที่จำเป็น (essential quality)

  20. WWW.soard8.com คำนิยาม สินค้า สินค้าเกษตรและอาหาร

  21. WWW.soard8.com เครื่องหมายรับรอง “Q”

  22. WWW.soard8.com ประเภทของการรับรอง 1.รับรองสินค้า (Product Certification) เกษตรอินทรีย์ (Organic) มาตรฐาน GAP

  23. WWW.soard8.com ประเภทของการรับรอง 1.รับรองสินค้า (Product Certification) เนื้อสัตว์อนามัย ผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ

  24. WWW.soard8.com ประเภทของการรับรอง 2.รับรองระบบ GMP/HACCP ระบบ HACCP

  25. WWW.soard8.com หลักเกณฑ์การใช้เครื่องหมายรับรอง “Q ” การผลิตในระดับฟาร์มต้องสอดคล้องกับมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) สำหรับการผลิตสินค้านั้นและได้รับการตรวจสอบรับรองโดยหน่วยรับรองทีมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวข้อง การผลิตในระดับโรงงานรวมทั้งโรงคัดบรรจุผักผลไม้ โรงฆ่าสัตว์ ต้องสอดคล้องกับมาตรฐานการปฏิบัติในการผลิตที่ดี (GMP) มาตรฐานการวิเคราะห์ อันตรายและจุดควบคุมวิกฤต (HACCP) และได้รับการรับรองโดยหน่วยรับรองที่มีอำนาจเกี่ยวข้อง ผู้ขออนุญาตใช้เครื่องหมายต้องมีระบบการเรียกคืนหรือติดตามสินค้าได้ กรณีที่พบว่าสินค้ามีปัญหา

  26. WWW.soard8.com บทบาทและหน้าที่ของหน่วยรับรองและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมวิชาการเกษตร ตรวจสอบ กำกับดูแลให้การรับรองสินค้าและ ระบบที่เกี่ยวข้องกับพืชและผลิตภัณฑ์ กรมประมง ตรวจสอบ กำกับดูแลให้การรับรองสินค้าและ ระบบที่เกี่ยวข้องกับสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์ และอาหารสัตว์น้ำ กรมปศุสัตว์ ตรวจสอบ กำกับดูแลให้การรับรองสินค้าและ ระบบที่เกี่ยวข้องกับปศุสัตว์และผลิตภัณฑ์ และ อาหารสัตว์

  27. WWW.soard8.com บทบาทและหน้าที่ของหน่วยรับรองและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมส่งเสริมการเกษตร ส่งเสริมให้ความรู้และให้กับแนะนำแก่ เกษตรกรและเป็นหน่วยประสานงานให้ เกษตรกร และกลุ่มเกษตรกร ขอการ รับรองเครื่องหมาย “Q” จากหน่วยงาน หลักที่เกี่ยวข้อง

  28. WWW.soard8.com บทบาทและหน้าที่ของหน่วยรับรองและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมส่งเสริมสหกรณ์ ส่งเสริมให้ความรู้และให้กับแนะนำแก่ เกษตรกรหรือประชาชนทั่วไปรวมกลุ่มกันจัดตั้งเป็นองค์กร เพื่อร่วมกันดำเนินกิจกรรมทาง เศรษฐกิจและส่งเสริมแนะนำองค์กรเหล่านั้นบริหารจัดการองค์กรตามหลักการ และวิธีการสหกรณ์ และเป็นหน่วยประสานงานให้สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกรและวิสาหกิจชุมชนขอการรับรองเครื่องหมาย “Q” จากหน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้อง

  29. WWW.soard8.com การจัดทำกระบวนการทวนสอบย้อนกลับหรือระบบสืบแหล่งที่มาของสินค้าเกษตร(Traceability)

  30. WWW.soard8.com การบันทึกข้อมูลระบบTraceability 1. ข้อมูลสำหรับกระบวนการผลิตระดับไร่นาและการจัดการหลังเก็บเกี่ยว - ข้อมูลเกษตรกร • ข้อมูลสถานที่ตั้งฟาร์ม - ข้อมูลการวิเคราะห์ดิน น้ำ - ข้อมูลแหล่งที่มาของปัจจัยการผลิต - บันทึกการใช้สารเคมีทางการเกษตร - ข้อมูลการตรวจสอบแปลงผลิต

  31. WWW.soard8.com การบันทึกข้อมูลระบบTraceability 2. ข้อมูลสำหรับกระบวนการแปรรูป - ข้อมูลผู้ประกอบการ • ข้อมูลแหล่งที่มาและการจำแนกกลุ่ม (batch identification) - ความปลอดภัยและคุณภาพของกระบวนการผลิต - ข้อมูลการแจกจ่าย

  32. WWW.soard8.com การบันทึกข้อมูลระบบTraceability 3. ข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการส่งออก/นำเข้า - ข้อมูลตัวแทน • ข้อมูลแหล่งที่มาของสิค้าและการจำแนกกลุ่ม (batch identification) - ข้อมูลการส่ง : ชื่อผู้รับ ชื่อผู้ส่ง - ข้อมูลปลายทาง

  33. WWW.soard8.com การบันทึกข้อมูลระบบTraceability 4. ข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการขายส่ง/ขายปลีก - ข้อมูลบริษัท • ข้อมูลแหล่งที่มาของสิค้าและการจำแนกกลุ่ม (batch identification) - ข้อมูลการขาย : ชื่อลูกค้า วันที่ซื้อขาย - สภาพโรงเก็บสินค้า

  34. หลักเกณฑ์และวิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร( Good Manufacturing Practice : GMP ) สาระสำคัญประกอบด้วย 1. สถานที่ตั้งและอาคารผลิต 2. เครื่องมือ เครื่องจักรและอุปกรณ์การผลิต 3. การควบคุมกระบวนการผลิต 4. การสุขาภิบาล 5. การบำรุงรักษาและทำความสะอาด 6. บุคลากร และ สุขลักษณะผู้ปฏิบัติงาน

  35. ระบบการจัดการคุณภาพด้านพืช( Plant Quality Management System : PQMS ) WWW.soard8.com ระบบการจัดการคุณภาพด้านพืชของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่ใช้เป็นเครื่องมือในการปรับปรุงมาตรฐานการผลิตพืชและเป็นเครื่องมือสำหรับตรวจสอบรับรองกระบวนการผลิตพืชของประเทศ

  36. WWW.soard8.com 9 พืชผสมผสานพอเพียง และ เกษตรผสมผสานพอเพียง

  37. พืชอาหาร WWW.soard8.com

  38. พืชรายได้ WWW.soard8.com

  39. พืชอาหารสัตว์ WWW.soard8.com

  40. พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพพืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ WWW.soard8.com

  41. พืชสมุนไพรเพื่อป้องกันกำจัดศัตรูพืชพืชสมุนไพรเพื่อป้องกันกำจัดศัตรูพืช WWW.soard8.com

  42. พืชใช้สอย WWW.soard8.com

  43. พืชอนุรักษ์ดินและน้ำ WWW.soard8.com

  44. พืชอนุรักษ์พันธุกรรมท้องถิ่นพืชอนุรักษ์พันธุกรรมท้องถิ่น WWW.soard8.com

  45. พืชพลังงาน WWW.soard8.com

  46. WWW.soard8.com จบการนำเสนอ

More Related