310 likes | 696 Views
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ กศน. อัญชลี ธรรมะวิธีกุล ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ. เนื้อหาสาระ. ความสำคัญ ความหมาย ขอบเขตในการทำวิจัย กระบวนการทำวิจัย. ความสำคัญ. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม ( ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545
E N D
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ กศน. อัญชลี ธรรมะวิธีกุล ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ
เนื้อหาสาระ • ความสำคัญ • ความหมาย • ขอบเขตในการทำวิจัย • กระบวนการทำวิจัย
ความสำคัญ • พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่2) พ.ศ. 2545 • มาตรา 24(5) การจัดกระบวนการเรียนรู้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และอำนวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกัน จากสื่อการเรียนการสอนและแหล่งวิทยาการประเภทต่าง ๆ • มาตรา 30 กำหนดให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งการส่งเสริมให้ผู้สอนวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละระดับการศึกษา
ความสำคัญ(ต่อ) • การใช้การวิจัยในกระบวนการเรียนรู้ • การวิจัยพัฒนาการเรียนรู้ • การวิจัยพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
ความหมาย • การวิจัย (Research) หมายถึง กระบวนการค้นคว้าหาข้อมูล หาคำตอบ การแก้ปัญหา โดยวิธีการที่เป็นระบบ หรือวิธีการทางวิทยาศาสตร์ หรือวิธีการที่เชื่อถือได้ • การวิจัยกลุ่มเรียน คือกิจกรรมที่เกิดขึ้นระหว่างครูและผู้เรียนในขณะจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เป็นกิจกรรมเพื่อหาวิธีการแก้ปัญหา นำไปทดลองใช้จนได้ผล และพัฒนาเป็นนวัตกรรม สามารถนำไปเผยแพร่ได้
ลักษณะการวิจัยในกลุ่มเรียนลักษณะการวิจัยในกลุ่มเรียน • เป็นการวิจัยจากปัญหาที่เกิดขึ้นในกลุ่มเรียนเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ • ทำการวิจัยเพื่อนำผลวิจัยไปพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ • ทำการวิจัยควบคู่กับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
แนวคิดการวิจัยกลุ่มเรียนแบบง่ายแนวคิดการวิจัยกลุ่มเรียนแบบง่าย • เป็นการพัฒนาผู้เรียนอย่างเป็นระบบ เชื่อถือได้ • ดำเนินการในสภาพการทำงานตามปกติของครูโดยครูเป็นผู้วิจัย
หลักการการวิจัยกลุ่มเรียนหลักการการวิจัยกลุ่มเรียน • เป็นกระบวนการแก้ปัญหา และพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยมีเป้าหมายที่สำคัญคือ การพัฒนาผู้เรียน • การวิจัยในกลุ่มเรียน มุ่งแก้ปัญหาที่เป็นปัญหาที่เกิดจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในกลุ่มเรียน • การวิจัยเพื่อสร้างและพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน และพัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษา และองค์ความรู้ในศาสตร์สาขาต่าง ๆ
ขอบเขตการทำวิจัยในกลุ่มเรียนขอบเขตการทำวิจัยในกลุ่มเรียน • ใช้ศึกษาในกลุ่มเรียนใดกลุ่มเรียนหนึ่งและมีเป้าหมายคือการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ • เป็นการวิจัยโดยครูในกลุ่มเรียนกับผู้เรียนเพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในกลุ่มเรียนที่ครูรับผิดชอบ
กระบวนการจัดทำการวิจัยในกลุ่มเรียนกระบวนการจัดทำการวิจัยในกลุ่มเรียน • การวิเคราะห์ปัญหาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ • การศึกษาแนวคิด ทฤษฎี งานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง • การพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา • การออกแบบการทดลอง • การสร้างและพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล • การทดลอง รวบรวม วิเคราะห์ และสรุปผลข้อมูล • การเขียนรายงานการวิจัยในกลุ่มเรียน • การนำผลการวิจัยไปใช้
1. การวิเคราะห์ปัญหาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ • ความหมายของปัญหา ปัญหา คือความแตกต่างระหว่างสิ่งที่คาดหวังหรือผลที่ต้องการให้เกิด • ที่มาของปัญหาการวิจัยในกลุ่มเรียน มาจากสภาพการปฏิบัติงานของครู เช่น • สภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ • การใช้สื่อประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ • วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้ในวิชาต่าง ๆ • พฤติกรรมของผู้เรียนที่เป็นปัญหาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ • ผลสัมฤทธิ์ตามจุดประสงค์ในรายวิชา
ตัวอย่างการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบผังก้างปลา (The Fish Bone) สาเหตุใหญ่ สาเหตุใหญ่ สาเหตุย่อย ๆ สาเหตุย่อย สาเหตุย่อย สาเหตุย่อย ๆ สาเหตุย่อย ๆ ข้อความปัญหา สาเหตุย่อย ๆ สาเหตุย่อย ๆ สาเหตุย่อย สาเหตุย่อย สาเหตุย่อย ๆ สาเหตุใหญ่ สาเหตุใหญ่
2. การศึกษาแนวคิด ทฤษฎี งานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง • เพื่อให้การวิจัยมีความเชื่อมโยงกับทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง • เป็นการยืนยันความต่อเนื่องทางวิชาการ • ทำให้ได้เทคนิคในการแก้ปัญหาที่สอดคล้องกับหลักการ
3. การพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา • นวัตกรรม (Innovation) หมายถึง แนวความคิด การปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ที่ยังไม่เคยมีใช้มาก่อน หรือเป็นการพัฒนาดัดแปลงจากของเดิม • นวัตกรรมทางการศึกษา (Educational innovation) หมายถึง นวัตกรรมที่จะช่วยให้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิ ผลสูงกว่าเดิม
ประโยชน์ของนวัตกรรมทางการศึกษาประโยชน์ของนวัตกรรมทางการศึกษา • ช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้เร็วขึ้น • ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนเป็นรูปธรรม • ช่วยให้บรรยากาศการเรียนรู้สนุกสนาน • ช่วยให้บทเรียนน่าสนใจ • ช่วยลดเวลาในจัดกิจกรรมการเรียนรู้ • ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย
ประเภทของนวัตกรรมทางการศึกษาประเภทของนวัตกรรมทางการศึกษา ประเภทของนวัตกรรมทางการศึกษา สื่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เทคนิคการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อสิ่งพิมพ์ - เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ - บทเรียนสำเร็จรูป - ชุดการสอน/ชุดการเรียน - รายงานการศึกษาค้นคว้า - รายงานโครงการ - ฯลฯ สื่อโสต - ภาพยนตร์ วีดิทัศน์ - สไลด์ แผ่นใส - คอมพิวเตอร์ช่วยสอน - เทปเพลง เทปเสียง - หุ่นจำลอง - ฯลฯ - การเรียนรู้ด้วยการพบกลุ่ม - การเรียนรู้ด้วยตนเอง - การเรียนรู้ด้วยการจัดชั้นเรียน - การเรียนรู้ด้วยการสอนเสริม - การเรียนรู้ด้วยการทำโครงการ - การเรียนรู้โดยการทำกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) - ฯลฯ
ลักษณะของนวัตกรรมทางการศึกษาที่ดีลักษณะของนวัตกรรมทางการศึกษาที่ดี • ตรงกับความจำเป็นของสถานการณ์การจัดการศึกษา • มีความน่าเชื่อถือและเป็นไปได้ที่จะแก้ปัญหาในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ • สามารถนำไปใช้ได้จริงในสถานการณ์จริง • มีผลการพิสูจน์เชิงประจักษ์ว่าได้ทดลองในสถานการณ์จริงแล้ว
กระบวนการสร้างนวัตกรรมทางการศึกษากระบวนการสร้างนวัตกรรมทางการศึกษา กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ กำหนดกรอบแนวคิดของกระบวนการเรียนรู้ สร้างต้นแบบนวัตกรรม ทดลองใช้นวัตกรรม NO YES เผยแพร่นวัตกรรม
การออกแบบการทดลอง • หมายถึง การวางแผนเพื่อสร้างนวัตกรรมโดยนำไปทดลองใช้ในสถานการณ์จริง แล้วเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินนวัตกรรมนั้นว่าสามารถแก้ปัญหาที่มีอยู่ หรือสามารถพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้หรือไม่ • ความสำคัญของการออกแบบการทดลอง เป็นการวางแผนกำหนดวิธีการและเทคนิคในการทดลอง กำหนดไว้ล่วงหน้า อาจเกิดปัญหาระหว่างดำเนินการทดลอง หรือภายหลังดำเนินการทดลอง
5. การสร้างและพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล • การสอบ • การสอบถาม • การสังเกต
6. การทดลอง รวบรวม วิเคราะห์ และสรุปผลข้อมูล แบบสอบถาม • ข้อมูลที่มีระดับการวัด • นามบัญญัติ • เรียงลำดับ • อันตรภาค • อัตราส่วน ผลการวิเคราะห์ แบบทดสอบ เลือกใช้สถิติในการวิเคราะห์ แบบสัมภาษณ์ แบบสังเกต
7. การเขียนรายงานการวิจัยในกลุ่มเรียน • ส่วนนำ • ปกนอกปกใน บทคัดย่อ คำนำ สารบัญ • ส่วนเนื้อเรื่อง • บทที่ 1 บทนำ • บทที่ 2 ชื่อบท วรรณคดีที่เกี่ยวข้อง หรือ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง หรือ แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย • บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล • บทที่ 5 บทสรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ • ส่วนอ้างอิง • การอ้างอิงในเนื้อเรื่อง บรรณานุกรมภาคผนวก
8. การนำผลการวิจัยไปใช้ • นำไปใช้ในการพัฒนา ปรับปรุงการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ • นำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ • นำไปใช้ในการพัฒนาวิชาชีพ
สรุปขั้นตอนการดำเนินการวิจัยในกลุ่มเรียนสรุปขั้นตอนการดำเนินการวิจัยในกลุ่มเรียน วิเคราะห์ปัญหาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ พิจารณาผลจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในกลุ่มเรียน • ศึกษาแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องนำปัญหามาเชื่อมโยงกับทฤษฎีและหลักการต่าง ๆ • สร้าง/พัฒนานวัตกรรม • วางแผนการวิจัย • กลุ่มผู้เรียนที่ต้องได้รับการแก้ปัญหา • วิธีการและเครื่องมือ • การรวบรวมข้อมูล • การวิเคราะห์ข้อมูล กำหนดวิธีการที่จะแก้ปัญหาหรือพัฒนาในเรื่องนั้น ๆ อย่างมีเหตุผล ดำเนินการตามวิธีการ ขั้นตอนที่กำหนด และรวบรวมข้อมูล ผลการวิเคราะห์ข้อมูล และสรุปผล • ชื่อเรื่อง/ประเด็นที่ทำการวิจัย • ที่มาของปัญหา หรือสิ่งที่ต้องการพัฒนา • เป้าหมายของการวิจัย • วิธีการหรือขั้นตอนสำคัญของการแก้ปัญหาหรือการพัฒนา • ผลของการแก้ไขหรือพัฒนา • ข้อเสนอแนะ เขียนรายงานการวิจัย