540 likes | 892 Views
การพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศไทย. รศ.ดร.ชนินทร์ มีโภคี ศูนย์ศึกษาความร่วมมือระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 21 มิถุนายน 2556. หัวข้อ. 1. ความหมายของ Industrialization 2. กระบวนการ Industrialization ของโลก 3. กระบวนการ Industrialization ของไทย 4. ผลของ Industrialization.
E N D
การพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศไทยการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศไทย รศ.ดร.ชนินทร์ มีโภคี ศูนย์ศึกษาความร่วมมือระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 21มิถุนายน 2556
หัวข้อ • 1. ความหมายของ Industrialization • 2. กระบวนการ Industrialization ของโลก • 3. กระบวนการ Industrialization ของไทย • 4. ผลของ Industrialization
Industrialization กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทำให้โลกเปลี่ยนแปลงจากการผลิตทางการเกษตรเพื่อยังชีพ มาเป็นการผลิตสินค้าที่พัฒนาคุณภาพชีวิต ส่งผลให้ทัศนะคติที่มีต่อธรรมชาติเปลี่ยนแปลงไป
การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 1 1. ในช่วงปลายศตวรรษที่ 18 และต้นทศวรรษที่ 19 ประเทศในยุโรป โดยเริ่มจากอังกฤษ ได้พัฒนาเทคโนโลยีการเกษตร (British Agricultural Revolution) มีการใช้เครื่องทุ่นแรงทางการเกษตรมากขึ้น เครื่องจักรไอน้ำ (James Watt, 1770s) 2.การพัฒนาการใช้พลังงานถ่านหิน 3.เครื่องจักรไอน้ำ • การพัฒนาการคมนาคม • (เรือกลไฟ, Fitch 1787) • (รถไฟ, Stephenson, 1829) • เครื่องจักร • อุตสาหกรรม 4.การใช้ประโยชน์จากสินแร่ เหล็ก 5.ทำงานที่บ้านหรือร้าน โรงงาน
การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 2 (ปลายศตวรรษที่ 19) การใช้พลังงานไฟฟ้า การใช้พลังงานจากน้ำมันและเครื่องยนต์สันดาปภายใน (Karl Benz, 1879) การใช้ระบบสายพานในการผลิต (Ford, 1913)
Industrialization New World Western World Far East การค้า อาณานิคม การค้า อาณานิคม USA (1800’s) Japan (1870s) เสือเอเชีย (1960s)
Industrializationของไทย • 1. การเปิดประเทศ 2393 - 2460 • 2. เศรษฐกิจชาตินิยม 2470 - 2490 • 3. อุตสาหกรรมทดแทนการนำเข้า 2500 - 2528 • 4. อุตสาหกรรมเพื่อการส่งออก 2528 - 2538 • 5. ฟองสบู่แตก 2539 - 2540 • 6. ปัจจุบัน
การเข้ามาของชาติตะวันตก (2393 - 2460) • 1. หัตถอุตสาหกรรมก่อนสนธิสัญญาบาวริ่ง • แปรรูปอาหาร สิ่งทอ เครื่องปั้นดินเผา เครื่องเงินเครื่องทอง • 2. สนธิสัญญาบาวริ่ง • การเปิดเสรีการค้า ด้วยภาษีนำเข้าร้อยละ 3 • สินค้าอุตสาหกรรมนำเข้าจากต่างชาติ • สินค้าทุนนำเข้า โรงสีไฟ กิจการส่งออกข้าว • การลงทุนจากต่างประเทศด้านทรัพยากร ไม้สัก ดีบุก • รัฐบาลขาดรายได้ หันมาขึ้นภาษีในประเทศ • 3. พ.ศ. 2469 ยกเลิกสัญญาบาวริ่ง เพิ่มอัตราภาษีนำเข้า
สนธิสัญญาบาวริ่ง • กับสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 • สาระสำคัญของสนธิสัญญาบาวริงซึ่งมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจ และการเมืองไทย คือ ข้อตกลงว่าด้วยสิทธิสภาพนอกอาณาเขต ซึ่งทำให้ไทยต้องเสียเอกราชด้านตุลาการ กล่าวคือ คนอังกฤษจะต้องขึ้นต่อกงสุลอังกฤษ และถ้าคนอังกฤษมีข้อพิพาทคนไทย กงสุลอังกฤษกับพนักงานฝ่ายไทยจะร่วมกันตัดสินคดี ข้อตกลงว่าด้วยการค้า และการเก็บภาษีขาเข้าและขาออก ทำให้ไทยต้องยกเลิกการผูกขาดการค้าโดยพระคลังสินค้า คนอังกฤษสามารถทำการซื้อขายในประเทศไทยได้โดยเสรี โดยไม่ต้องผ่านกรมพระคลังสินค้า การเก็บภาษีขาเข้าให้เก็บในอัตราร้อยละ 3 ของมูลค่าสินค้านำเข้า และภาษีขาออกก็ให้เป็นไปตามอัตราที่กำหนดไว้ท้ายสนธิสัญญา รัฐบาลไทยไม่มีอิสระในการกำหนดอัตราภาษีศุลกากร รวมทั้งการแก้ไขข้อความใด ๆ ในสนธิสัญญาจะต้องได้รับการยินยอมจากคู่สัญญาก่อน
เศรษฐกิจชาตินิยม (2470 - 2490) • 1. การปฏิวัติ 2475 • 2. เศรษฐกิจชาตินิยม ป.พิบูลสงคราม • จำกัดการประกอบอาชีพของคนต่างด้าว • อุตสาหกรรมรัฐวิสาหกิจ (86 แห่ง) • คุ้มครองอุตสาหกรรมภายในประเทศ (กำแพงภาษี) • พัฒนาอุตสาหกรรม • 3. สัดส่วนของอุตสาหกรรมใน GDP เท่ากับร้อยละ 13 ในปี 2503
อุตสาหกรรมเพื่อทดแทนการนำเข้า (2500 - 2528) • 1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ • 2. นโยบายคุ้มครองอุตสาหกรรมทารกที่เป็น อุตสากรรมปลายน้ำ • 3. นโยบายพัฒนาอุตสาหกรรมแรงงานราคาถูก • 4. สัดส่วนของอุตสาหกรรมใน GDP เท่ากับ ร้อยละ 22 ในปี 2527
นโยบายพัฒนาอุตสาหกรรมแรงงานราคาถูกนโยบายพัฒนาอุตสาหกรรมแรงงานราคาถูก • 1. มีอุปทานแรงงานราคาถูกมากพอ • 2. ค่าครองชีพของแรงงานต่ำพอ • การเก็บภาษีส่งออกสินค้าเกษตร เช่น พรีเมี่ยมข้าว ช่วยลดราคาข้าวในประเทศให้ต่ำกว่าราคาตลาดโลก • การพัฒนาอุตสาหกรรมแบบลงโทษภาคเกษตร
อุตสาหกรรมเพื่อการส่งออกและเติบโตแบบก้าวกระโดด (2528 - 2538) • 1. Plaza Accord และการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ • 2. ประเทศไทยเป็นฐานการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมที่เน้นการใช้แรงงานฝีมือราคาถูกของต่างชาติ • 3. การส่งออกภาคอุตสาหกรรมขยายตัวอย่างรวดเร็ว จากร้อยละ 24.7 ในช่วงปี 2527 - 28 เป็นร้อยละ 30.7 ในปี 2529 - 33 ในขณะที่การส่งออกสินค้าเกษตร ขยายตัวร้อยละ 6.5 และ 5.8 ในช่วงเวลาเดียวกัน • 4. ปี 2538 เป็นปีแรกที่ส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมมากกว่าเกษตร • 5. สัดส่วนมูลค่าการส่งออกเกษตร จากร้อยละ 38 ในปี 2528 เป็นร้อยละ 11.4 ในปี 2538 ขณะที่สินค้าอุตสาหกรรมจากร้อยละ 49.5 ในปี 2528 เป็น 81.9 ในปี 2538
Plaza Accord (1985) • เป็นการตกลงร่วมของ 5 ประเทศ ได้แก่ ฝรั่งเศส เยอรมัน ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา และ อังกฤษ ที่โรงแรม Plaza ในเมือง New York • 5 ประเทศ ได้ตกลงร่วมกันที่จะลดค่าเงินดอลล่าร์ และขึ้นค่าเงินเยนและเงินมาร์ค โดยการแทรกแซงตลาดอัตราแลกเปลี่ยน • เงินเยนที่สูงขึ้น ทำให้การส่งออกของญี่ปุ่นมีปัญหา จำต้องไปลงทุนเพื่อการส่งออกในประเทศที่มีต้นทุนถูกกว่า • ประเทศไทย เป็นเป้าหมายหนึ่งที่เป็นแหล่งลงทุนของญี่ปุ่น
ฟองสบู่แตก (2539 - 2540) • 1. การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมลดลง (ร้อยละ -0.1) ในปี 2539 ปัจจัยภายนอก วัฏจักรเศรษฐกิจโลก ปัจจัยภายใน โครงสร้างอุตสาหกรรมไทยล้าหลัง • 2. ฟองสบู่แตกในปี 2540 • หนี้ต่างประเทศร้อยละ 40 ของ GDP • หนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPL) สูง • เงินทุนไหลออกนอกประเทศ ค่าเงินบาท
สภาวะอุตสาหกรรมไทยในปัจจุบันสภาวะอุตสาหกรรมไทยในปัจจุบัน • 1. โครงสร้างผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ • 2. โครงสร้างการจ้างงาน • 3. โครงสร้างการค้าระหว่างประเทศ • 4. บทบาทของบริษัทต่างชาติอุตสาหกรรมไทย
โครงสร้างผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) หน่วย: ร้อยละ ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) (ร้อยละ) ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
โครงสร้างการจ้างงาน หน่วย:ล้านคน ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
โครงสร้างการส่งออก สัดส่วน: ร้อยละ ที่มา: ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร
สินค้าส่งออกสำคัญ 5 รายการแรกของไทย หน่วย : ร้อยละ ที่มา : moc.go.th
ตลาดส่งออกสำคัญของไทยตลาดส่งออกสำคัญของไทย ที่มา : moc.go.th
ตลาดส่งออกสำคัญของไทยตลาดส่งออกสำคัญของไทย
โครงสร้างสินค้านำเข้าของไทยโครงสร้างสินค้านำเข้าของไทย สัดส่วน: ร้อยละ ที่มา : moc.go.th
สินค้านำเข้าสำคัญ 5 รายการแรกของไทย สัดส่วน: ร้อยละ ที่มา : moc.go.th
แหล่งนำเข้าสำคัญของไทย ปี 2552 - 2555(ม.ค. - ก.ค.)แหล่งนำเข้าสำคัญของไทย ปี 2552 - 2555(ม.ค. - ก.ค.) อัตราการขยายตัว:ร้อยละ สัดส่วน:ร้อยละ
แหล่งนำเข้าสำคัญของไทยแหล่งนำเข้าสำคัญของไทย
บทบาทของบริษัทต่างชาติบทบาทของบริษัทต่างชาติ ที่มา : BOI.go.th
บทบาทของบริษัทต่างชาติบทบาทของบริษัทต่างชาติ ที่มา : BOI.go.th
บทบาทของบริษัทต่างชาติบทบาทของบริษัทต่างชาติ 1) มูลค่าและโครงสร้างการนำเข้าและการส่งออก 2) การพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุนภายในประเทศ 3) การเผยแพร่และการกระจายเทคโนโลยี 4) ความสามารถในการแข่งขัน 5) พฤติกรรมการบริโภค
ผลของการพัฒนาอุตสาหกรรมผลของการพัฒนาอุตสาหกรรม • กระบวนการโลกาภิวัตน์
Globalization 1. โลกาภิวัตน์ทางเศรษฐกิจ • ระบบทุนนิยม 2. โลกาภิวัตน์ทางการเมือง • ระบบประชาธิปไตย 3. โลกาภิวัตน์ทางวัฒนธรรม • วัฒนธรรมตะวันตก