1 / 55

นางนงนุช ศิ ริธรรม ครูชำนาญการ

นางนงนุช ศิ ริธรรม ครูชำนาญการ. โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต ๓. การแต่งคำประพันธ์. เรื่องที่ ๑ ร้อยกรองและหลักเกณฑ์ ทั่วไป. จุดประสงค์ การเรียนรู้ เรื่อง ร้อยกรองและหลักเกณฑ์ทั่วไป.

major
Download Presentation

นางนงนุช ศิ ริธรรม ครูชำนาญการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นางนงนุช ศิริธรรมครูชำนาญการ โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต ๓

  2. การแต่งคำประพันธ์ เรื่องที่ ๑ ร้อยกรองและหลักเกณฑ์ทั่วไป

  3. จุดประสงค์การเรียนรู้ เรื่อง ร้อยกรองและหลักเกณฑ์ทั่วไป ๑ . นักเรียนบอกกำเนิดของร้อยกรองได้ถูกต้อง ๒. นักเรียนบอกความหมายของคำว่าร้อยแก้วและร้อยกรองได้ถูกต้อง ๓. นักเรียนอธิบายความแตกต่างระหว่างร้อยแก้วกับร้อยกรองได้ ๔. นักเรียนบอกชนิดของคำประพันธ์พร้อมทั้งยกตัวอย่างได้ถูกต้อง ๕. นักเรียนบอกลักษณะบังคับที่แตกต่างของคำประพันธ์ได้

  4. กำเนิดและที่มาของร้อยกรองกำเนิดและที่มาของร้อยกรอง บทร้อยกรองน่าจะมีกำเนิดมาก่อนหรืออาจเกิดขึ้นพร้อมๆกันกับ พ่อขุนรามคำแหงมหาราชทรงประดิษฐ์อักษรไทยในปี พ.ศ. ๑๘๒๖ ทั้งนี้ สันนิษฐานจากบทร้องเล่น การละเล่นต่าง ๆ ที่ชาวบ้านจะเรียงร้อยถ้อยคำ ออกมาในรูปคำคล้องจอง เช่น พ่อกูชื่อศรีอินทราทิตย์ แม่กูชื่อนางเสือง พี่กูชื่อบานเมือง เป็นต้น กลอนน่าจะเป็นบทร้อยกรองที่เกิดขึ้นก่อน เพราะแต่งง่ายไม่ต้องมีกฎเกณฑ์หรือข้อบังคับทางฉันทลักษณ์มากมาย เหมือนคำประพันธ์ชนิดอื่น ๆ

  5. ความหมายของร้อยกรอง

  6. หาความแตกต่างของประโยคที่กำหนดหาความแตกต่างของประโยคที่กำหนด ประโยคที่ ๑ ฉันตั้งใจเรียนอ่านเขียนทุกวัน ประโยคที่ ๒ ฉันตั้งใจเรียนหนังสือทุกวัน

  7. ความแตกต่าง ประโยคที่ ๑ “ฉันตั้งใจเรียนอ่านเขียนทุกวัน” ถ้าสังเกตดูให้ดีจะมีคำที่ออกเสียงคล้องจองกัน คือ คำว่าเรียน กับ เขียน ทำให้ประโยคเกิดความไพเราะน่าฟังขึ้น ดังนั้น ถ้อยคำที่เรียบเรียงขึ้นอย่างไพเราะและถูกต้อง ตามลักษณะบังคับของคำประพันธ์ เรียกว่า ร้อยกรอง

  8. ร้อยกรอง มี ๕ ชนิด คือ ๑. โคลง ๒. ฉันท์ ๓. กาพย์ ๔. กลอน ๕. ร่าย ร้อยกรองเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า คำประพันธ์

  9. ร้อยแก้ว คือ...ความเรียงที่ไม่มีลักษณะบังคับ ร้อยกรอง คือ... ถ้อยคำที่เรียบเรียงขึ้นตามแผนบังคับของคำประพันธ์นั้น ๆ

  10. ผู้ที่แต่งบทร้อยกรอง หรือร้อยแก้ว เราเรียกว่าอะไร ก. กวีข. กวีนิพนธ์ ค. บทกานต์ง. บทกลอน

  11. คำตอบคือ... ก. กวี

  12. ร้อยแก้ว คือ ... ความเรียงที่ไม่มีแบบแผนบังคับ เช่น นิทาน จดหมายเหตุ นิยาย พงศาวดาร ความเรียง

  13. การแต่งคำประพันธ์ เรื่องที่ ๒ คำคล้องจอง

  14. จุดประสงค์การเรียนรู้จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. นักเรียนบอกความหมายของคำคล้องจองได้ ๒. นักเรียนบอกลักษณะคำคล้องจองได้ถูกต้อง ๓. นักเรียนเติมคำคล้องจองที่กำหนดให้ได้ถูกต้อง ๔. นักเรียนเติมคำหรือข้อความในประโยคให้สมบูรณ์ได้ ๕. นักเรียนเขียนคำคล้องจองในบทร้อยกรองได้ ๖. นักเรียนใช้คำคล้องจองแต่งบทร้อยกรองอย่างง่าย ๆ ได้

  15. คำคล้องจอง เป็นคำที่ใช้สระเสียงเดียวกัน หรือมีตัวสะกดมาตราเดียวกัน เช่น & พราว – ดาว / เดือน – เลือน & หมูไป – ไก่มา / ตายาย – ขายผัก & มอญซ่อนผ้า – ตุ๊กตาอยู่ข้างหลัง / ระวังดีดี – ฉันจะตีหลังแตก อย่างนี้เป็นต้น ลักษณะการคล้องจองจะเป็นดังนี้ O O / O OOO / O OOOOOOO /

  16. ฝึกเขียนคำคล้องจอง คำสั่ง เติมคำลงในช่องว่างต่อไปนี้ให้ได้ความที่เหมาะสม ๑. ลูก ___ ___ เธอ ๒. หนัก ___ ___ สู้ ๓. ท่า ___ ___ เหลว ๔. ชั่วช่าง ___ ___ ช่างสงฆ์ ๕. กำแพงมี ___ ประ ___ มีช่อง

  17. คำตอบคือ... ๑. ท่าน – หลาน ๒. เอา – เบา ๓. ดี – ที ๔. ชี – ดี ๕. หู – ตู

  18. คำคล้องจองที่มี ๑ พยางค์ กลุ่มที่ ๑ ใจ – ใครตี – ดีเพลีย – เปีย เป็นคำที่มีสระเสียงเดียวกัน กลุ่มที่ ๒ กิน – สินวาย – กายพาน – จาน เป็นคำที่มีสระเสียงเดียวกัน มีตัวสะกดมาตราเดียวกัน กลุ่มที่ ๓ สิ้น – กลิ่นหลั่ง – ดั่ง ปลื้ม – ดื่ม เป็นคำที่มีสระเสียงเดียวกัน มีตัวสะกดมาตราเดียวกัน แต่มีเสียงวรรณยุกต์ต่างกัน

  19. แยกกลุ่มคำ คำสั่ง ให้นักเรียนนำคำที่อยู่ในกรอบมาจัดเป็น ๓ กลุ่มตามตัวอย่าง พลัน กลัว เสีย เหลือ เปลี่ยน แฝก โค้ง ไป ตัว เบือนรั้น คราว หวั่นข้าว เตียน

  20. คำตอบคือ... ๑. ไป ตัวกลัวเหลือ เสีย ๒. พลัน แฝกเตียนเบือนคราว ๓. รั้นหวั่นข้าวเปลี่ยนโค้ง

  21. คำคล้องจอง ๒ พยางค์ กลุ่มที่ ๑ คำคล้องจอง ๒ พยางค์ มีดังนี้ พยางค์หลังของกลุ่มแรก มีเสียงคล้องจองกับพยางค์แรกของกลุ่มหลัง เช่น สมศรี – ปรีดา / พาขวัญ – จันทร์เพ็ญ / เด่นเดือน – เหมือนฝัน กลุ่มที่ ๒ คำคล้องจอง ๒ พยางค์ ที่เสียงพยางค์หลังของกลุ่มแรก มีเสียงคล้องจองกับพยางค์หลังของกลุ่มหลัง เช่น ช่วยเหลือ – จุนเจือ (เหลือ มีเสียงคล้องจองกับคำว่า เจือ) อุดหนุน – ค้ำจุน (หนุน มีเสียงคล้องจองกับคำว่า จุน)

  22. หาคำคล้องจอง ๒ พยางค์ คำสั่ง ให้นักเรียนเลือกคำที่มีเสียงคล้องจองกับคำที่กำหนดให้เติมลงในช่องว่างให้ เหมาะสม ๑. นกร้อง O O (เสียงดัง , น้องช้ำ , อึกทึก) ๒. แก้วตา O O (ขวัญใจ , อยู่บ้าน , ยาใจ) ๓. ลายไทย O O (วิไล , ใจเย็น , ผ้าฝ้าย) ๔. เบิกบาน O O (สราญใจ, ตระการ, วิ่งพล่าน)

  23. คำตอบคือ... ๑. น้องช้ำ ๒. ยาใจ ๓. วิไล ๔. ตระการ

  24. คำคล้องจอง ๓ พยางค์ กลุ่มที่ ๑ เสียงพยางค์คำหลังของกลุ่มแรก มีเสียงคล้องจองกับพยางค์แรก ของกลุ่มหลัง เช่น ครูใจดีมีความรู้ / นักเรียนดี มีวิชา ต่อความยาว สาวความยืด

  25. กลุ่มที่ ๒ เสียงพยางค์หลังของกลุ่มแรก มีเสียงคล้องจองกับพยางค์ที่ ๒ ของกลุ่มหลัง เช่น ทำตามใจ คือไทยแท้ / ความรู้ดี เป็นศรีศักดิ์ ต่อตระกูล สมบูรณ์ทรัพย์

  26. หาคำคล้องจอง ๓ พยางค์ • แดดออกจ้า O OOก. สูงลิบลิ่ว • ดาวบนฟ้า O OOข. ผีผ้าอ้อม • เจ็บในจิต O OOค. จ้าบรรเจิด • ผาน้ำทิพย์ O OOง. เพราะคิดมาก ๕. ต้นไม้สูง O OOจ. สักยูงยาง

  27. คำตอบคือ... ๑. ข ๒. ค ๓. ง ๔. ก ๕. จ

  28. กลุ่มที่ ๓ เสียงพยางค์หลังของกลุ่มแรก มีเสียงคล้องจองกับพยางค์สุดท้ายของกลุ่มหลัง เช่น พอลืมตาปากก็อ้า / ไปทะเล ฟังคลื่นเห่ ฟังเสียงเพลงฉันครื้นเครง / เธอหาเสียง อย่าลำเอียง

  29. ช่วยหาคำตอบ คำสั่ง ให้หาคำคล้องจอง ๓ พยางค์ มาเติมในช่องว่างโดยเสรี แต่ต้องไม่ขัดกับความจริง มีความเป็นไปได้ ไม่เป็นคำหยาบ ๑. เห็นแมวลาย O OO ๒. ทะเลงาม O OO ๓. คนไทยดี O OO ๔. ขึ้นปีใหม่ O OO

  30. คำตอบคือ... • หายวับไป อยู่ท้ายสวน ดูคล้ายเสือ • สีครามสวย ยามอัสดงห้ามไว้ใจ • มีน้ำใจ รักพี่น้องเยี่ยมที่สุด • ไปอวยพร ให้มีสุขเที่ยวไหนดี

  31. คำคล้องจอง ๔ พยางค์ กลุ่มที่ ๑ เสียงพยางค์หลังกลุ่มแรก มีเสียงคล้องจองกับพยางค์แรกของกลุ่มหลัง เช่น ฉันชื่อกานดาหน้าสวยรวยทรัพย์ ในน้ำมีปลานาต้องมีข้าว ผีเสื้อบินไปไกลสุดสายตา

  32. คำคล้องจอง ๔ พยางค์ กลุ่มที่ ๒ เสียงพยางค์หลังกลุ่มแรก จะเลื่อนมาสัมผัสกับพยางค์ที่สอง ของกลุ่มหลัง เช่น ฉันชื่อบุษบาแม่ว่าเพราะดี ในน้ำมีปลาในนามีข้าว ผีเสื้อบินไปหนใดนะเออ

  33. ทบทวน คำคล้องจอง ๔ พยางค์ จะคล้ายกลอนสุภาพ ชนิดใดเอ่ย

  34. คำตอบคือ... กลอนสี่

  35. ฝึกเล่นคำคล้องจองต่อ...ฝึกเล่นคำคล้องจองต่อ... ฝึกเล่นคำคล้องจองต่อไป • ย่างเข้าพรรษา O OOO ๒. ฉันรักคุณครู O OOO • ฝนตกนกร้อง O OOO ๔. ตั้งใจเล่าเรียน O OOO

  36. คำตอบคือ... • ท้องฟ้าแจ่มใสตกกล้าปลูกข้าว ชาวนาเตรียมไถ • ดูแลสอนสั่งอุ้มชูสอนศิษย์ผู้มีเมตตา • แหงนมองท้องฟ้ายืนมองท้องนานวลน้องอยู่ไหน ๔. อ่านเขียนหนังสือพากเพียรวิชาปรับเปลี่ยนแนวคิด

  37. คำคล้องจอง ๔ พยางค์ กลุ่มที่ ๓ คำคล้องจอง ๔ พยางค์ เสียงพยางค์หลังกลุ่มแรกเลื่อนมาสัมผัสคล้องจองกับคำที่ ๓ ของกลุ่มหลัง เช่น ร่วมด้วยช่วยกัน ผลลัพธ์นั้นดี ดอกไม้สีแดง เป็นสื่อแห่งรัก

  38. คำคล้องจอง ๔ พยางค์ กลุ่มที่ ๔ คำคล้องจอง ๔ พยางค์ ที่มีเสียงพยางค์หลังกลุ่มแรกเลื่อนมา สัมผัสคล้องจองกับคำที่ ๔ ของกลุ่มหลัง เช่น โอ้ความรักเอย สุดชื่นสุดเชย เมฆลอยคล้อยต่ำ เห็นฝนตกพรำ รู้มากยากนาน รู้น้อยรำคาญ

  39. เติมคำคล้องจอง คำสั่ง ให้นักเรียนเติมคำคล้องจองจะสัมผัสกับคำใดในกลุ่มหลังก็ได้ให้ถูกต้องเหมาะสม ๑. ประดิษฐ์คิดค้น O OOO ๒. อย่านอนตื่นสาย O OOO ๓. หน้าแล้งอยู่ถ้ำ O OOO ๔. ประเทศเป็นบ้าน O OOO

  40. คำตอบคือ... ๑. เครื่องยนต์รุ่นใหม่หุ่นยนต์มนุษย์เพื่อช่วยเหลือคน ๒. อย่าอายทำกิน จะกลายเป็นหมู ตลาดจะวาย ๓. อย่าทำเสียงดัง หน้าน้ำอยู่ดอน มืดค่ำจุดไต้ ๔. ทหารเป็นรั้ว โอฬารยิ่งใหญ่ ต้องการคนดี

  41. บทสรุป การใช้คำคล้องจอง เป็นลักษณะหนึ่งของการเขียนบทร้อยกรอง ซึ่งทำให้เกิดความไพเราะและมีความหมาย คำคล้องจองเป็นคำที่ใช้ สระตัวเดียวกัน หรือมีตัวสะกดมาตราเดียวกัน รูปแบบของ คำคล้องจองที่พบโดยทั่วไป มีปริศนาคำทาย สำนวนโวหาร และสำนวนไทย เป็นต้น

  42. การแต่งคำประพันธ์ เรื่องที่ ๓ การแต่งกาพย์ยานี ๑๑

  43. จุดประสงค์การเรียนรู้เรื่อง การแต่งกาพย์ยานี ๑๑ ๑. นักเรียนบอกจำนวนคำที่ใช้ในการแต่งกาพย์ยานี ๑๑ ได้ ๒. นักเรียนอธิบายแผนผังและลักษณะบังคับของกาพย์ยานี ๑๑ ได้ ๓. นักเรียนเลือกคำมาเติมในกาพย์ยานี ๑๑ ได้ถูกต้อง ๔. นักเรียนสามารถแต่งกาพย์ยานี ๑๑ ได้อย่างน้อย ๔ บท ๕. นักเรียนอ่านทำนองเสนาะในกาพย์ยานี ๑๑ ได้ถูกต้อง ๖. นักเรียนจำบทร้อยกรองที่มีคุณค่าและนำไปใช้อ้างอิงได้

  44. ความหมายและลักษณะของกาพย์ยานี ๑๑ ความหมาย กาพย์ยานีเป็นบทร้อยกรองที่บังคับจำนวนคำ วรรค และสัมผัส เช่นเดียวกับการแต่งกลอน กาพย์ยานี ๑๑ คือ คำประพันธ์หรือบทร้อยกรองที่มีบังคับเฉพาะจำนวนคำ คือ ๑๑ คำ ดังนี้ O O / O OOเรียกว่า ๑ วรรค O O / O OOO OO / O OOเรียกว่า ๑ บาท หรือ บาทเอก นั่นเอง วรรคหน้ามี ๕ คำ วรรคหลังมี ๖ คำ รวมเป็น ๑๑ คำ

  45. ทบทวน แต่งกาพย์ยานี ๑๑ จำนวน ๑ บาท จะต้องเขียนกี่วรรค วรรคละกี่คำ

  46. คำตอบคือ... ๒ วรรค ประกอบด้วย วรรคหน้า ๕ คำ วรรคหลัง ๖ คำ

  47. คณะของกาพย์ยานี บาทโท มีจำนวน ๒ วรรค เช่นกัน O O / O OOOOO / O OO (เรียกว่า ๑ บาท ) มีจำนวนคำ คือ วรรคหน้ามี ๕ คำ วรรคหลังมี ๖ คำ รวมเป็น ๑๑ คำ

  48. ตอบคำถาม กาพย์ยานี ๑๑ จำนวน ๑ บทมีกี่คำ

  49. คำตอบคือ ๒๒ คำ

  50. สัมผัส กาพย์ยานี ๑๑ มีสัมผัสบังคับ ๒.๑ คำสุดท้ายของวรรคที่ ๑ สัมผัสกับคำที่ ๓ หรือ ๕ ของวรรคที่ ๒ O O / O OO O OO / O OO อ่านตัวอย่างครับ เป่าขลุ่ยให้ดาวฟัง ด้วยยังหวังให้ดาวหวาน เห็นไหมครับว่า คำสุดท้ายของวรรคที่ ๑ (ฟัง) สัมผัสกับคำที่ ๓ ของวรรคที่ ๒ (หวัง)

More Related