1 / 31

การดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง Individual-Family-Community care

การดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง Individual-Family-Community care. พญ. ปิยฉัตร ดีสุวรรณ วว. เวชศาสตร์ครอบครัว กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลแพร่. คำจำกัดความ. Disease of long duration and generally slow progression ( WHO) Leading cause of mortality

makan
Download Presentation

การดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง Individual-Family-Community care

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังIndividual-Family-Community care พญ.ปิยฉัตร ดีสุวรรณ วว.เวชศาสตร์ครอบครัว กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลแพร่

  2. คำจำกัดความ • Disease of long duration and generally slow progression (WHO) • Leading cause of mortality • Main types: Cardiovascular disease, stroke, cancer, diabetes, chronic respiratory disease

  3. การดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 3 มิติ • การดูแลแบบองค์รวม (Holistic care) • การดูแลระดับบุคคล (Patient centred care) • การดูแลครอบครัว (Family oriented care /The family as a patient) • การดูแลชุมชน (Community oriented care/The community as a patient)

  4. พญ.สายพิณ หัตถีรัตน์, ศูนย์การเรียนรู้เวชศาสตร์ครอบครัว รามาธิบดี

  5. Patient’s experience of chronic illness • สูญเสียความสามารถในการพึ่งพาตนเอง • เศร้า, เสียใจ, ผิดหวัง, กังวล, เบื่อหน่าย • แปลกจากคนอื่น แปลกแยกจากสังคม (Stigma) • ขาดเหตุผล, เชื่อเรื่องเหนือธรรมชาติหรือ พิสูจน์ไม่ได้ • อ่อนไหว เปราะบาง ถูกชักจูงได้ง่าย

  6. Chronic illness and effects on family • Family members adjust and adopt new roles • Increase risks to other family members McWhinney 1997 • Families,not health care providers,are the primary care givers for patients with chronic illness. • RCT : family psychoeducation dramatically improves the course of schizophrenia and other chronic illness. Rakel

  7. Family oriented care เครื่องมือต่างๆ ที่ทำให้มองเห็นภาพครอบครัวในตัวผู้ป่วย • Basic communication skill • Family system • Family genogram • Family life cycle • Home visit • Family folder

  8. แผนภูมิครอบครัว (Geogram) สัญลักษณ์ต่างๆ

  9. การวาดแผนภูมิครอบครัวการวาดแผนภูมิครอบครัว • วาดข้อมูลครอบครัวอย่างน้อย 3 ชั่วอายุคน • ใส่ชื่อและอายุ (หรือปีเกิด) ของสมาชิกทุกคนในครอบครัว • ใส่อายุและสาเหตุการตายของสมาชิกในครอบครัว • ระบุโรคหรือปัญหาความเจ็บป่วยที่สำคัญของสมาชิกในครอบครัว • วาดวงล้อมรอบสมาชิกที่อาศัยอยู่ในบ้านเดียวกัน พร้อมบ่งชี้ว่าผู้ป่วยอยู่ที่ตำแหน่งใดของแผนภูมิ • ระบุวันที่การแต่งงานหรือหย่าร้างของสมาชิกในครอบครัว • เรียงสมาชิกที่เกิดตามลำดับก่อนและหลัง จากซ้ายไปขวา • ถ้าทราบความสัมพันธ์ในครอบครัว ใช้ลากเส้นแสดงลงในแผนภูมิ

  10. Family genogram TB รักษาหาย TB สายใจ 50 ปี TB, DM, HT Poor controlled DM สมใจ 30 ปี TB รักษาหาย 11 ปี 8 ปี

  11. ประโยชน์ของแผนภูมิครอบครัวประโยชน์ของแผนภูมิครอบครัว • สร้างสัมพันธภาพ • หาความเสี่ยง • ใช้เป็นแนวทางให้คำแนะนำเพื่อปรับพฤติกรรมสุขภาพ • ทำให้ผู้รักษาเข้าใจชีวิตผู้ป่วยและครอบครัว

  12. วงจรชีวิตครอบครัว 1. เริ่มสร้างครอบครัว 2. เริ่มมีบุตร 3. มีบุตรเล็ก 4. มีบุตรวัยเรียน 5. มีบุตรวัยรุ่น 6. บุตรย้ายออกจากบ้าน 7. วัยเกษียณ 8. วัยชรา

  13. ประโยชน์ของวงจรชีวิตครอบครัวประโยชน์ของวงจรชีวิตครอบครัว • การเปลี่ยนแปลงระยะต่างๆ ของครอบครัวที่มีผลต่อสุขภาพและความเจ็บป่วย • ผู้ดูแลสามารถประเมินความเจ็บป่วย พยากรณ์ความเจ็บป่วยในอนาคต รวมทั้งวางแผนป้องกันและส่งเสริมสุขภาพให้เฉพาะกับผู้ป่วยและครอบครัว

  14. การเยี่ยมบ้าน : เหตุผลที่ต้องเยี่ยมบ้าน - เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติมีความมั่นใจและสามารถพึ่งตนเองในการดูแลสุขภาพที่บ้านได้ - เพื่อให้ญาติรู้วิธีในการอยู่ร่วมกับผู้ป่วยที่บ้าน และร่วมดูแลรักษาผู้ป่วย - เพื่อให้แพทย์สามารถประเมินทั้ง disease และ illness - เพื่อให้แพทย์ทำความรู้จักและสานต่อความสัมพันธ์อันดีกับผู้ป่วยและญาติในระยะยาว - แพทย์สามารถประเมินความเสี่ยงต่างๆต่อสุขภาพครอบครัวนั้นๆ

  15. พญ.สายพิณ หัตถีรัตน์

  16. พญ.สายพิณ หัตถีรัตน์

  17. พญ.สายพิณ หัตถีรัตน์

  18. พญ.สายพิณ หัตถีรัตน์

  19. ข้อควรระวัง เมื่อไปเยี่ยมบ้านผู้ป่วย • ผู้ป่วยคาดหวังมากเกินไป • การพึ่งพาการเยี่ยมบ้านมากเกินไป • ขอบเขตและขีดความสามารถในการเยี่ยมบ้าน

  20. หลักการดูแลครอบครัวผู้ป่วยโรคเรื้อรังหลักการดูแลครอบครัวผู้ป่วยโรคเรื้อรัง • เข้าใจกลไกครอบครัว (family dynamic) • วางแผนร่วมกันระหว่าง ผู้ป่วย ผู้รักษา ครอบครัว และผู้ดูแล • สื่อสารต่อเนื่องกันตลอดเวลา • หากลุ่มเพื่อนใหม่ให้ • อย่าให้ตกหนักใครคนเดียว • ถ้ามีโอกาส ควรพูดคุยเรื่องพินัยกรรมชีวิต (living will)

  21. กรณีศึกษา • ผู้ป่วยหญิงอายุ 50 ปี ป่วยเป็นเบาหวานประมาณ 5 ปี • ประมาณ 4 เดือนก่อน มีอาการไอเรื้อรัง ประมาณ 2 สัปดาห์ • เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ไปตรวจที่โรงพยาบาลแพร่ ตรวจปอดและเสมหะ • พบว่าป่วยเป็นวัณโรค

  22. Family genogram TB รักษาหาย TB สายใจ 50 ปี TB, DM, HT Poor controlled DM สมใจ 30 ปี TB รักษาหาย 11 ปี 8 ปี

  23. Community oriented care The systematic assessment of health care needs in the practice population, identification of community health problems, modification of practice procedures, and monitoring the impact of changes McWhinney 1997

  24. 4 ขั้นตอน • การนิยามประชากรที่รับผิดชอบและกำหนดกลุ่มชุมชน • การสำรวจและค้นหาปัญหาสุขภาพชุมชน • การจัดทำโครงการเพื่อแก้ไขปัญหา • การติดตามและประเมินผลโครงการ

  25. โครงการออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุที่คลินิกโรคเรื้อรังโครงการออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุที่คลินิกโรคเรื้อรัง ขั้นตอน 1: นิยามประชากรที่รับผิดชอบและกำหนดกลุ่มเป้าหมาย ได้สำรวจประชากรในชุมชน X พบว่ามีประชากร 7659 คน เป็นชาย 3716 คน และหญิง 3943 คน แบ่งเป็นประชากรอายุมากกว่า 60 ปี 579 คน เป็นชาย 268 คนและหญิง 311 คน ในจำนวนนี้มีผู้ป่วยเบาหวาน ความดัน ไขมันสูง ที่มารับบริการในรพ.สต. X จำนวน 152 คน คิดเป็นร้อยละ 26.25 ของผู้ที่อายุมากกว่า 60 ปีทั้งหมด

  26. ขั้นตอนที่ 2 : การสำรวจและค้นหาปัญหาสุขภาพของชุมชน สัมภาษณ์ผู้สูงอายุที่มารับบริการ 20 คน พบว่า ผู้สูงอายุที่มารับบริการ ขาดการออกกำลังกาย ไม่มีแรงจูงใจ ชมรมสูงอายุในชุมชน เพิ่งก่อตั้งยังไม่มีรูปแบบชัดเจน

  27. ขั้นตอน 3: การจัดทำโครงการเพื่อแก้ไขปัญหา หารูปแบบการออกกำลังกายที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ ทบทวนวรรณกรรม งานวิจัยต่างๆ…….ได้รูปแบบคือ ชี่กง วางแผนในทีมเพื่อจัดทำโครงการ เชิญอาจารย์พลศึกษามาเป็นวิทยากร กำหนดแผนการจัดกิจกรรม จัดสถานที่ ประชาสัมพันธ์ ผู้ดำเนินโครงการได้ตรวจร่างกายผู้สูงอายุทุกคนที่เข้าร่วมโครงการก่อนการออกกำลังกาย, กิจกรรมมีช่วงเช้า 08.00-09.00 น.ทุกวันพฤหัสบดี ในระยะแรกอาจารย์วิทยากรเป็นผู้นำ ต่อมา พยาบาลประจำรพ.สต X รับถ่ายทอดต่อ และเป็นผู้นำในการออกกำลังกายครั้งต่อไป ถ้าให้ดียิ่งขึ้นคือ ชาวบ้าน นำกันเอง……

  28. ขั้นตอน 4: การติดตามและประเมินผลโครงการ กิจกรรมนี้ดำเนินไปทุกเช้าวันพฤหัสบดี ก่อนแพทย์ตรวจ เมื่อสิ้นสุดโครงการ 1 เดือนแรก มีผู้เข้าร่วม ร้อยละ 50-75 ของผู้ป่วยที่แพทย์นัด เมื่อสิ้นสุดโครงการระยะเวลาครบ 4 เดือน พบว่า จำนวนผู้สูงอายุที่มาออกกำลังกายโดยเฉลี่ย 11 คนต่อครั้ง นอกจากนี้จากบันทึกประวัติการรักษาและการสัมภาษณ์พบว่า ผู้สูงอายุที่เข้าร่วม รู้สึกว่าตนเองแข็งแรงขึ้น ระดับน้ำตาลและไขมันในเลือดของผู้ป่วยลดลง สามารถควบคุมโรคดีขึ้น มีกำลังรักษามากขึ้นและ สร้างนิสัยการออกกำลังกายให้กับชุมชนกลุ่มนี้ ซึ่งสามารถกลับไปปฏิบัติต่อที่บ้านได้

  29. The steps in the COPC process Data source and surveys Define and characterize community Proceed with The next COPC initiative Health care providers Identify community Health problem Monitor impact or intervention Involve community Measure outcomes Community members/ groups Prioritize problems Of greatest interest /need Develop intervention A health care program addressing a specific health care need

  30. จุดเน้น!! Community participation

  31. สวัสดีค่ะ

More Related