190 likes | 300 Views
การดำเนินการจัดทำ โครงการพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อธิการบดี แจ้งที่ประชุม กบม. เพื่อทราบ 19 สิงหาคม 2552.
E N D
การดำเนินการจัดทำโครงการพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติมหาวิทยาลัยเชียงใหม่อธิการบดีแจ้งที่ประชุม กบม. เพื่อทราบ19 สิงหาคม 2552
“อุดมศึกษาไทยควรมีมหาวิทยาลัยกลุมตางๆ ที่สร้างผลผลิต อยางหลากหลาย และสอดคลองกับความต้องการของประเทศ” กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว15 ป ฉบับที่2 (2551-2565) 1) กลุมมหาวิทยาลัยวิจัยและบัณฑิตศึกษา • (ผลิตดัชนีกลุมผลักดันประเทศสูโลกาภิวัตน) 2) กลุมมหาวิทยาลัยเฉพาะทาง • (ผลิตดัชนีกลุมสรางสมรรถนะการผลิตดานอุตสาหกรรม) 3) กลุมมหาวิทยาลัยที่เนนระดับปริญญาตรี • (ผลิตดัชนีกลุมขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงทองถิ่นและกําลังความรู้) 4) กลุมวิทยาลัยชุมชน • (ผลิตดัชนีกลุมสรางกําลังคนภาคการผลิตจริงในทองถิ่น)
โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและ การพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแหงชาติ • โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา ~ 12,000 ลานบาท และการพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแหงชาติ • โครงการพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแหงชาติ ~ 9,000 ลานบาท • โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาทั้งระบบ ~ 3,000 ลานบาท
สาระสำคัญของการประเมินโครงการสาระสำคัญของการประเมินโครงการ • การจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลกใน 400 อันดับ หรืออันดับที่ดีขึ้น กว่าเดิม (THE-QS) –มช. อยู่ในอันดับ 401-500 • การที่มหาวิทยาลัยมีกลุ่ม/ศูนย์วิจัยที่สามารถระบุด้วยผลงานว่าเป็น อันดับ 1ในประเทศ อย่างน้อย 3กลุ่ม/ศูนย์ในระยะเวลา 3ปี โดยจะ ต้องมีผลงานตีพิมพ์ • ในวารสารนานาชาติที่มีค่าผลกระทบการอ้างอิงสูง ให้มากที่สุด • นำไปสู่การจดสิทธิบัตร • ที่ทำให้นักวิจัยได้รับการยอมรับในวงวิชาการระดับชาติและนานาชาติ เช่น Invited Speaker/ Committee/ Editor/ Editorial Board/ Reviewer/ Awards • ที่ตอบโจทย์การพัฒนาประเทศ • ผลิตกำลังคนระดับปริญญาเอก และหลังปริญญาเอก
มช. อยู่ในอันดับ 3 ของประเทศ มีกำลังการผลิตผลงานระดับนานาชาติจากฐานข้อมูล Scopus 2199ชิ้นใน 5 ปี
สิ่งที่มหาวิทยาลัยดำเนินการแล้ว • นำส่งแบบเสนอข้อมูลคัดกรองเบื้องต้น โครงการพัฒนา • มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553-2555 • เป็นการรวบรวมข้อมูลพื้นฐานด้านศักยภาพการวิจัยของมหาวิทยาลัย • โดยใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูล SCOPUS (www.scopus.com) • นำส่งเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม 2552 • สกอ. แจ้งผลตอบรับให้เสนอโครงการได้เมื่อ 3 ก.ค. 2552
มหาวิทยาลัยได้จัดทำ • แผนปฏิบัติการหลัก(Action Plan) • ทิศทางการวิจัยที่มีอัตลักษณ์อย่างแท้จริง • แผนปฏิบัติการเพื่อพัฒนาโครงการวิจัยริเริ่มแบบมุ่งเป้า(Targeted Research Initiatives)อย่างน้อย 3โครงการ โดยกลุ่มวิจัยที่มีความพร้อมด้านบุคลากร โครงสร้างพื้นฐาน และทุนวิจัยเดิม ตอบสนองต่อโจทย์ของประเทศ ทั้งในภาคการผลิต เศรษฐกิจ และสังคม งบฯ ของโครงการฯ รวมทั้งงบฯ วิจัย ครุภัณฑ์ พัฒนาบุคลากร และงบฯ บริหารจัดการ
กลุ่มวิจัยที่มหาวิทยาลัยคัดเลือกให้เสนอโครงการและชื่อผู้ประสานงานกลุ่มวิจัยที่มหาวิทยาลัยคัดเลือกให้เสนอโครงการและชื่อผู้ประสานงาน กลุ่มวิจัยบูรณาการเพื่อพัฒนาศักยภาพในการวินิจฉัย การรักษา และการป้องกัน โรคเอดส์/โรคติดเชื้อเอชไอวี และโรคติดเชื้อฉวยโอกาสในผู้ป่วยโรคเอดส์ เพื่อเป็นต้นแบบสำหรับประเทศที่มีทรัพยากรจำกัด (รศ.นพ.สุวัฒน์ จริยาเลิศศักดิ์) กลุ่มวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีสำหรับโรคในภูมิภาค (รศ.นพ. พงษ์รักษ์ ศรีบัณฑิตมงคล) กลุ่มวิจัยและพัฒนาด้านวัสดุศาสตร์และเทคโนโลยีวัสดุ (รศ.ดร.สัมพันธ์ สิงหราชวราพันธ์) กลุ่มวิจัยด้านพลังงานสะอาดและการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน (ศ.ดร.ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์) กลุ่มวิจัยมูลค่าเพิ่มของการผลิตและแปรรูปพืชและสัตว์เศรษฐกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (รศ.ดร.สัญชัย จตุรสิทธา และ ผศ.ดร.ชรินทร์ เตชะพันธุ์) มีเพียงกลุ่ม HIV เท่านั้นที่สามารถแข่งขันได้ในระดับศูนย์วิจัยแห่งชาติ
มหาวิทยาลัยกำลังดำเนินการตรวจสอบมหาวิทยาลัยกำลังดำเนินการตรวจสอบ 1. ผลงานปี 2004-2008 ของคณาจารย์ที่มีรายชื่ออยู่ใน 5 กลุ่มที่เสนอโครงการ 2. ความซ้ำซ้อนของรายชื่อคณาจารย์ในแต่ละกลุ่ม เพื่อประเมินว่าจำนวนโครงการ ย่อยของผู้ที่มีรายชื่อซ้ำนั้น มีจำนวนเหมาะสมหรือไม่โดยเทียบกับผลงานเดิม 3. จำนวนผลงานที่เสนอว่าจะตีพิมพ์ในแต่ละปี ตลอด 3 ปีที่ได้รับงบฯ นั้น เป็นไปได้ จริงหรือไม่ เมื่อเทียบกับการเพิ่มขึ้นของผลงานเดิมแต่ละปี ใน 5 ปีที่ผ่านมา 4. จำนวนผลงาน ต่อจำนวนนักวิจัย 5 งบฯ ลงทุนในโครงการของแต่ละกลุ่ม ต่อจำนวนผลงานที่ผลิตได้ หรือ ต่อจำนวน จำนวนผลงานที่คณาจารย์ corresponding author ต่อปี 6. จำนวนผลงานที่คณาจารย์เป็นcorresponding author ที่เสนอผลิต ต่อจำนวน ผลงานลักษณะเดียวกันที่เคยผลิตได้ ต่อปี ผลงาน คิดการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติที่อยู่ในฐานฯ scopus
มหาวิทยาลัยได้จัดทำแผนปฏิบัติการประกอบ ดังนี้ • แผนปฏิบัติการประกอบ • แผนการปรับปรุงหรือพัฒนาหลักสูตรนานาชาติระดับปริญญาเอก • แผนการพัฒนาระบบนักวิจัยหลังปริญญาเอก ครอบคลุม • ระบบบริหารจัดการ/ การสรรหา/ การพัฒนา/ การดูแลบุคลากรนักวิจัยในระดับหลังปริญญาเอก • แผนการส่งเสริมการพัฒนาประเทศให้เป็นศูนย์กลางการศึกษา การวิจัยและพัฒนา และการฝึกอบรมนานาชาติ • เช่น กิจกรรมความร่วมมือ เครือข่ายกับต่างประเทศ การประชุมวิชาการนานาชาติ ฯลฯ • แผนการเก็บข้อมูลและการบริหารการจัดการฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ
มหาวิทยาลัยและกลุ่มวิจัยได้จัดทำมหาวิทยาลัยและกลุ่มวิจัยได้จัดทำ • แผนการใช้งบประมาณ ในระยะเวลา 3ปี ซึ่งต้องไม่ครอบคลุมการสร้างตึกและอาคาร หรือจัดซื้อครุภัณฑ์ที่มีราคาสูงมาก ขอให้ใช้งบฯ มหาวิทยาลัย) โดยแผนการใช้งบแบ่งเป็น • เงินทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในการวิจัย (Research Infrastructure) สอดคล้องกับโครงการวิจัยริเริ่มแบบมุ่งเป้า (ไม่เกินร้อยละ 30) • เงินทุนวิจัย (Research Fund) แก่โครงการวิจัยแบบมุ่งเป้า (70%) อยู่ในวงเงิน 400 ล้านบาทต่อปี
ดัชนีชี้วัดโครงการวิจัยแบบมุ่งเป้าแต่ละโครงการต้องนำเสนอตัวเลขย้อนหลัง(2004-2008)และตั้งเป้า (2009-2012) จำนวนบทความวิจัยในฐานข้อมูล Scopus บทความวิจัยที่เป็นผู้วิจัยหลัก Impact factor รวมต่อจำนวนบทความ ทุนวิจัยจากแหล่งทุนภายนอก ทุนจากภาคอุตสาหกรรม สิทธิบัตรในประเทศ สิทธิบัตรต่างประเทศ จำนวนอาจารย์ทำวิจัยในกลุ่ม จำนวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จำนวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จำนวนนักศึกษาระดับหลังปริญญาเอก
งบประมาณของกลุ่มวิจัยที่เสนอโครงการงบประมาณของกลุ่มวิจัยที่เสนอโครงการ กลุ่มวิจัยบูรณาการเพื่อพัฒนาศักยภาพในการวินิจฉัย การรักษา และการป้องกัน โรคเอดส์/โรคติดเชื้อเอชไอวี และโรคติดเชื้อฉวยโอกาสในผู้ป่วยโรคเอดส์ เพื่อเป็นต้นแบบสำหรับประเทศที่มีทรัพยากรจำกัด (ปีละ 55 ล้านบาท) กลุ่มวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีสำหรับโรคในภูมิภาค (ปีละ 65 ล้านบาท) กลุ่มวิจัยและพัฒนาด้านวัสดุศาสตร์และเทคโนโลยีวัสดุ (ปีละ 80 ล้านบาท) กลุ่มวิจัยด้านพลังงานสะอาดและการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน (ปีละ 75 ล้านบาท) กลุ่มวิจัยมูลค่าเพิ่มของการผลิตและแปรรูปพืชและสัตว์เศรษฐกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (ปีละ 35 ล้านบาท) รวมงบฯ ของ 5 กลุ่มวิจัย 310 ล้านบาท - ต้องทำผลงานเพิ่มเป็น 1.3 เท่า มหาวิทยาลัยบริหารงบฯ 90 ล้านบาท
งบฯ 90 ล้านบาท สำหรับ (1) งบวิจัย 30% • คณาจารย์ที่เป็น signature researcher คือ มีผลงานวิจัยในระดับสูงสุด 100 ลำดับแรก ที่ไม่ได้เข้าร่วมในทั้ง 5 กลุ่ม (ประมาณ 50%) แต่มีโครงการวิจัยระดับดีมาก ตีพิมพ์ได้แน่ และประสงค์จะของบฯ (มหาวิทยาลัยส่งหนังสือเชิญชวนเพิ่มเติมแล้ว) • คณาจารย์ที่อยู่ใน crossing over และmutation groups และมีผลงานที่ดีมาแล้ว จะสามารถของบฯ กลางนี้ได้ • คณาจารย์และนักวิจัยที่ได้ส่งโครงการมาแล้ว แต่ไม่สอดคล้องกับกลุ่มทั้ง 5 จะผ่านการคัดเลือกจากคณะกรรมการกลั่นกรองของมหาวิทยาลัย ถ้าอยู่ในระดับดีมาก ตีพิมพ์ได้แน่ หรือตีพิมพ์ได้บางส่วน แต่มีประโยชน์ต่อสังคมที่เห็นได้ชัดเจน เป็นรูปธรรม จะได้รับการจัดสรรจากงบฯ ม.วิจัยนี้ • โครงการนอกเหนือจากที่กล่าวข้างต้น ให้ของบฯ ปกติของมหาวิทยาลัย ทั้งนี้ การของบฯ วิจัยภายนอกมหาวิทยาลัยควรดำเนินไปตามปกติอย่างเข้มแข็ง เพราะการประเมินของ สกอ. เป็นการประเมินภาพรวมของมหาวิทยาลัย คณาจารย์และนักวิจัยทุกคนควรสร้างผลงานได้ไม่น้อยกว่าเดิม
งบฯ 90 ล้านบาท สำหรับ (2) งบฯ อื่นๆ • งบฯ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในการวิจัย (30%) - IT, website, software สำหรับวิเคราะห์ข้อมูล, ครุภัณฑ์วิจัยนอกกลุ่ม • งบฯ บุคลากร (30%) - Chair Professor/Research Leader - Fellowship - Post-doctorate - Ph.D. • งบฯ บริหารจัดการกลาง (10%)
คณะกรรมการบริหารโครงการ 7-15 คน อธิการบดี รองอธิการบดี ฝ่ายวิจัยฯ ฝ่ายแผนงานฯ ศาสตราจารย์และผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก และ ภายใน ผู้ประสานงาน 5 กลุ่ม ผู้ช่วยอธิการบดี ฝ่ายวิจัยฯ ผอ. สำนักพัฒนาคุณภาพการศึกษา สำนักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ กองแผนงาน ศูนย์บริหารงานวิจัย กำหนดให้มีคณะกรรมการที่ปรึกษาต่างประเทศ 7-15 คน ด้วย