460 likes | 641 Views
ความรู้ เรื่อง. การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ. ในรอบปี 2549 มีการเสนอขอดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จำนวน 3 ท่าน. คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง ผศ. จบปริญญาตรี ต้องดำรงตำแหน่งอาจารย์ประจำ ไม่น้อยกว่า 9 ปี จบปริญญาโท ต้องดำรงตำแหน่งอาจารย์ประจำ ไม่น้อยกว่า 5 ปี
E N D
ความรู้ เรื่อง การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
ในรอบปี 2549 มีการเสนอขอดำรงตำแหน่งทางวิชาการ • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จำนวน 3ท่าน
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง ผศ. • จบปริญญาตรี ต้องดำรงตำแหน่งอาจารย์ประจำ ไม่น้อยกว่า 9 ปี • จบปริญญาโท ต้องดำรงตำแหน่งอาจารย์ประจำ ไม่น้อยกว่า 5 ปี • จบปริญญาเอก ต้องดำรงตำแหน่งอาจารย์ประจำ ไม่น้อยกว่า 2 ปี
เงื่อนไขการนับเวลา • เคยเป็นอาจารย์ประจำในมหาวิทยาลัยมาก่อน และได้สอน ทั้งของรัฐหรือเอกชน นับเวลาได้เต็มเวลา • เคยเป็นอาจารย์พิเศษในมหาวิทยาลัย สอนไม่น้อยกว่า 2 หน่วยกิต นับเวลาได้ 3/4 ของเวลาที่สอน • ขณะเป็นอาจารย์ประจำได้รับคุณวุฒิสูงขึ้น สามารถนำเวลาก่อนและหลังมารวมกันตามอัตราส่วนได้
เงื่อนไขการนับเวลา (ต่อ) B = ระยะเวลาคุณวุฒิปริญญาตรี (ปี) M = ระยะเวลาคุณวุฒิปริญญาโท (ปี) D = ระยะเวลาคุณวุฒิปริญญาเอก (ปี)
เงื่อนไขการนับเวลา (ต่อ) • ไม่นับเวลาที่ลาศึกษาต่อ ลาฝึกอบรม • ช่วงเวลาที่ลา ไม่สามารถยื่นเรื่องเพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการได้ ยกเว้นยื่นเรื่องถึงสำนักงานมาตรฐานวิชาการก่อนลา
2. ผลการสอน • ตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ • มีชั่วโมงการสอนประจำวิชาใดวิชาหนึ่งของสถาบัน และมีความชำนาญในการสอน • เสนอเอกสารประกอบการสอนที่ผลิตขึ้นตามภาระการสอน
2. ผลการสอน (ต่อ) • ตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ • ในกรณีที่ทำการสอนหลายวิชาซึ่งแต่ละวิชามีผู้สอนร่วมหลายคน จะต้องเสนอเอกสารประกอบการสอนในทุกหัวข้อที่สอน • เอกสารประกอบการสอนต้องมีคุณภาพดี และใช้สอนมาแล้ว
3. ผลงานทางวิชาการ (ผศ.) 1) ผลงานวิจัยซึ่งมีคุณภาพดี และได้รับการเผยแพร่ หรือ 2) ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นซึ่งมีคุณภาพดีและ 3) งานแต่ง หรือเรียบเรียง ตำรา หนังสือ หรือบทความทางวิชาการซึ่งมีคุณภาพดีและได้รับการเผยแพร่
4. จริยธรรมและจรรยาบรรณ • ต้องมีความซื่อสัตย์ทางวิชาการ ไม่ลอกเลียนผลงานของผู้อื่น ไม่นำผลงานในเรื่องเดียวกันไปเผยแพร่ในวารสารมากกว่า 1 ฉบับ • ต้องให้เกียรติและอ้างถึงบุคคลหรือแหล่งที่มาของข้อมูล และแสดงหลักฐานของการค้นคว้า • ต้องไม่คำนึงถึงผลประโยชน์ทางวิชาการจนละเลยหรือละเมิดสิทธิส่วนบุคคลของผู้อื่น
4. จริยธรรมและจรรยาบรรณ • ผลงานทางวิชาการต้องได้มาจากการศึกษาโดยใช้หลักวิชาการเป็นเกณฑ์ ไม่มีอคติมาเกี่ยวข้อง และเสนอผลงานตามความจำเป็น ไม่จงใจเบี่ยงเบนผลงานวิจัยโดยหวังผลประโยชน์ส่วนตัว • ต้องนำผลงานไปใช้ประโยชน์ในทางที่ชอบธรรมและชอบด้วยกฎหมาย
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง รศ. • จะต้องดำรงตำแหน่ง ผศ. และปฏิบัติหน้าที่มาไม่น้อยกว่า 3 ปี
2. ผลการสอน • ตำแหน่งรองศาสตราจารย์ • มีชั่วโมงการสอนประจำวิชาใดวิชาหนึ่งของสถาบัน และมีความชำนาญพิเศษในการสอน • เสนอเอกสารคำสอนที่ผลิตขึ้นตามภาระการสอน
2. ผลการสอน • ตำแหน่งรองศาสตราจารย์ • ในกรณีที่ทำการสอนหลายวิชาซึ่งแต่ละวิชามีผู้สอนร่วมหลายคน จะต้องเสนอเอกสารประกอบการสอนในทุกหัวข้อที่สอน • เอกสารประกอบการสอนต้องมีคุณภาพดี และใช้สอนมาแล้ว
3. ผลงานทางวิชาการ (รศ.) 1) ผลงานวิจัยซึ่งมีคุณภาพดี และได้รับการเผยแพร่ หรือ 2) ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นซึ่งมีคุณภาพดีและ 3) งานแต่ง หรือเรียบเรียง ตำรา หรือหนังสือ ซึ่งมีคุณภาพดีและได้รับการเผยแพร่
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง ศ. • จะต้องดำรงตำแหน่ง รศ. และปฏิบัติหน้าที่มาไม่น้อยกว่า 2 ปี
2. ผลการสอน • ตำแหน่งศาสตราจารย์ • ต้องมีความเชี่ยวชาญในการสอน
3. ผลงานทางวิชาการ (ศ.) • แบบที่ 1 • 1) ผลงานวิจัยซึ่งมี คุณภาพดีมาก และได้รับการเผยแพร่ หรือ • 2) ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นซึ่งมีคุณภาพดีมาก และ • 3) งานแต่งตำรา หรือหนังสือ ซึ่งมีคุณภาพดีมาก และได้รับการเผยแพร่
3. ผลงานทางวิชาการ (ศ.) • แบบที่ 2 • 1) ผลงานวิจัยที่มี คุณภาพดีเด่น และได้รับการเผยแพร่ หรือ • 2) ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นที่มีคุณภาพดีเด่นหรือ • 3) งานแต่งตำรา หรือหนังสือที่มีคุณภาพดีเด่นและได้รับการเผยแพร่
การแต่งตั้งตำแหน่งทางวิชาการ โดยวิธีพิเศษ ในกรณีที่มีเหตุผลและความจำเป็นอย่างยิ่ง อาจแต่งตั้งผู้ที่มีคุณสมบัติแตกต่างไปจากที่กำหนด ให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้นได้ ผลการสอนต้องมีความเชี่ยวชาญพิเศษ และผลงานทางวิชาการต้องมีคุณภาพดีเด่น
การแต่งตั้งคณาจารย์พิเศษให้ดำรงตำแหน่งวิชาการ • ใช้เกณฑ์เช่นเดียวกับอาจารย์ประจำโดยได้รับการแต่งตั้งเป็น • ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิเศษ • รองศาสตราจารย์พิเศษ • ศาสตราจารย์พิเศษ
การแต่งตั้งผู้ที่เคยดำรงตำแหน่งทางวิชาการมาก่อนการแต่งตั้งผู้ที่เคยดำรงตำแหน่งทางวิชาการมาก่อน สถาบันอาจแต่งตั้งผู้ที่เคยดำรงตำแหน่งทางวิชาการในสถาบันอุดมศึกษาอื่น ให้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการในสาขาและระดับที่มาสูงกว่าที่เคยดำรงอยู่ก็ได้ โดยความเห็นชอบของสภาสถาบัน
การพิจารณาผลงานที่เคยประเมินมาแล้วการพิจารณาผลงานที่เคยประเมินมาแล้ว ในกรณีการขอตำแหน่งทางวิชาการในระดับและสาขาเดิม หากผลงานเดิมนั้นเคยผ่านการพิจารณามาแล้ว ไม่ต้องพิจารณาผลงานวิชาการนั้นใหม่อีก
ส่วนที่ 1 แบบประวัติส่วนตัวและผลงานทางวิชาการ ผลงานทางวิชาการ ส่วนที่ 2แบบประเมินผลการสอน ส่วนที่ 3แบบประเมินผลงานทางวิชาการ ส่วนที่ 4มติสภาสถาบันอุดมศึกษาเอกชน
ลักษณะการมีส่วนร่วมในผลงานทางวิชาการลักษณะการมีส่วนร่วมในผลงานทางวิชาการ 1. ผลงานทางวิชาการที่เสนอ ต้องเป็นงานที่ผู้ขอเป็นเจ้าของและเป็นผู้ดำเนินการเอง 2. ถ้าเป็นงานที่ผู้ขอมีส่วนร่วม ผู้ขอต้องมีส่วนร่วมไม่น้อยกว่า 50 % และต้องเป็นผู้ดำเนินการหลัก 3. สำหรับการมีส่วนร่วมในผลงานวิจัย ผู้ขอต้องมีส่วนร่วมไม่น้อยกว่า 50 % หรือผู้ขอต้องเป็นผู้ดำเนินการหลัก และต้องมีผลงานวิจัยอีกหลายเรื่องที่เกี่ยวเนื่องสอดคล้องกัน ซึ่งรวมแล้วไม่น้อยกว่า 50%
ลักษณะการมีส่วนร่วมในผลงานทางวิชาการลักษณะการมีส่วนร่วมในผลงานทางวิชาการ 4. ในกรณีงานวิจัยที่เป็นชุดโครงการผู้ขอจะต้องเป็นผู้ดำเนินการหลักในบางโครงการ อย่างน้อย 1 เรื่อง และมีปริมาณผลงานรวมแล้วไม่น้อยกว่า 50% 5. ในกรณีงานวิจัยที่ดำเนินการเป็นชุดต่อเนื่องกัน ผู้ขอต้องเป็นผู้ดำเนินการหลัก และมีปริมาณผลงานรวมแล้วไม่น้อยกว่า 50%
ผู้ดำเนินการหลักหมายถึง บุคคลที่มีบทบาท และความรับผิดชอบสำคัญในการออกแบบการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูล และการสรุปผลการวิจัย และให้ข้อเสนอแนะ การลงนามรับรองการมีส่วนร่วมในผลงานทางวิชาการ ต้องระบุบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบในผลงานด้วย
แบบแสดงหลักฐานการมีส่วนร่วมแบบแสดงหลักฐานการมีส่วนร่วม
แนวทางประเมินการสอน 1. มีการวางแผนการสอนอย่างเป็นระบบ 2. มีความสามารถสอนให้ผุ้เรียนรู้จักคิด วิเคราะห์ 3. มีเทคนิคการสอนต่างๆ เพื่อให้เกิดความสนใจ 4. มีความสามารถให้ผู้เรียนเห็นความสัมพันธ์ของวิชาที่เรียนกับวิชาอื่นๆ 5. แนะผู้เรียนให้รู้จักแหล่งค้นคว้าศึกษาเพิ่มเติม
แนวทางประเมินการสอน 6. ให้ผู้เรียนสามารถแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนประสบการณ์ 7. มีความสามารถใช้สื่อการสอนที่เหมาะสม 8. มีความสามารถในการประเมินความรู้ความเข้าใจ
เอกสารประกอบการสอน ผลงานทางวิชาการที่ใช้ประกอบการสอนวิชาใดวิชาหนึ่งตามหลักสูตรของมหาวิทยาลัย ที่สะท้อนให้เห็นเนื้อหาและวิธีการสอนอย่างเป็นระบบ การเผยแพร่ จัดทำเป็นรูปเล่ม หรือ ถ่ายสำเนาเย็บเล่ม
เอกสารประกอบการสอน • ปก • คำนำ • สารบัญ • แผนการสอน ได้แก่ • คำอธิบายรายวิชา • หัวเรื่อง • วัตถุประสงค์ • กิจกรรม • การประเมินผล • เนื้อหาวิชา มีรายละเอียดพอควร (อาจมีแผนภูมิ Slide ประกอบได้) • คำถามท้ายบท • บรรณานุกรม
เอกสารคำสอน ผลงานทางวิชาการที่ใช้สอนวิชาใดวิชาหนึ่งตามหลักสูตรของมหาวิทยาลัย ที่สะท้อนให้เนื้อหาวิชาที่สอน และวิธีการสอนอย่างเป็นระบบ โดยอาจจะมีการพัฒนาจากเอกสารประกอบการสอนจนมีความสมบูรณ์ การเผยแพร่ จัดทำเป็นรูปเล่มด้วยการพิมพ์ หรือ ถ่ายสำเนาเย็บเล่ม
เอกสารคำสอน • ปก • คำนำ • สารบัญ • แผนการสอน ได้แก่ • คำอธิบายรายวิชา • หัวเรื่อง • วัตถุประสงค์ • กิจกรรม • การประเมินผล • เนื้อหาวิชา ที่มีความสมบูรณ์ มีความละเอียด ครอบคลุมเนื้อหาในแต่ละเรื่อง • คำถามท้ายบท • บรรณานุกรม
บทความทางวิชาการ งานเขียนทางวิชาการที่มีการกำหนดประเด็น หรือวิเคราะห์อย่างชัดเจน ตามหลักวิชาการ อาจเป็นการนำความรู้จากแหล่งต่างๆ มาร้อยเรียงเพื่อวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ การเผยแพร่- วารสารทางวิชาการ - หนังสือรวมบทความ - หนังสือประมวลผลการประชุมวิชาการ
ตำรา ผลงานทางวิชาการที่เรียบเรียงขึ้นอย่างเป็นระบบ ครอบคลุมเนื้อหาสาระของวิชา หรือส่วนหนึ่งของวิชา ที่สะท้อนให้เห็นถึงความสามารถในการถ่ายทอดวิชาในระดับอุดมศึกษา การเผยแพร่- พิมพ์ โดยโรงพิมพ์ - สื่ออิเล็กทรอนิกส์
หนังสือ ผลงานทางวิชาการที่เรียบเรียงขึ้นโดยมีรากฐานทางวิชาการที่มั่นคง และให้ทัศนะของผู้เขียนที่เสริมสร้างปัญญาความคิด และสร้างความแข็งแกร่งทางวิชาการ เนื้อหาสาระทันสมัย ไม่จำเป็นต้องสอดคล้องวิชาใดวิชาหนึ่ง การเผยแพร่- พิมพ์ โดยโรงพิมพ์ - สื่ออิเล็กทรอนิกส์
ตำรา/หนังสือ • ปก • คำนำ • สารบัญ • เนื้อหาวิชา • คำถามท้ายบท • บรรณานุกรม • index ISBN สำนักพิมพ์ จำนวนพิมพ์
งานวิจัย ผลงานทางวิชาการที่เป็นการศึกษาหรือค้นคว้าอย่างมีระบบด้วยวิธีวิทยาการวิจัยที่เป็นที่ยอมรับในสาขาวิชานั้นๆ มีข้อสรุปที่จะนำไปสู่ความก้าวหน้าทางวิชาการ การเผยแพร่ - วารสารทางวิชาการ - หนังสือรวมบทความวิจัย - เสนอต่อที่ประชุมวิชาการ (Proceeding) - เผยแพร่งานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ไปยังวงวิชา และวิชาชีพในสาขานั้นๆ
ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ เช่น การประดิษฐ์เครื่องทุ่นแรง ผลงานการสร้างสิ่งมีชีวิตพันธ์ใหม่ วัคซีน สิ่งก่อสร้าง ผลงานด้านศิลปะ งานแปลจากตัวงานต้นแบบที่เป็นวรรณกรรม งานด้านปรัชญา ประวัติศาสตร์ หรือวิทยาการอื่นที่มีความสำคัญและทรงคุณค่า โดนเมื่อแปลแล้วจะเสริมสร้างความก้าวหน้าทางวิชาการที่ประจักษ์
ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น (ต่อ) โดยผลงานต้องประกอบด้วยบทวิเคราะห์ที่อธิบาย และชี้ให้เห็นว่างานดังกล่าวทำให้เกิดความก้าวหน้าทางวิชาการหรือเสริมสร้างองค์ความรู้ แสดงถึงความสามารถในการบุกเบิกในสาขานั้น การเผยแพร่ - ด้วยวิธีการพิมพ์ โดยโรงพิมพ์ - สื่ออิเล็กทรอนิกส์ - โดยการจัดนิทรรศการ การจัดแสดง การจัดการแสดง หรือมีการนำไปใช้ หรือ ประยุกต์ใช้อย่างแพร่หลาย
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ • เนื้อหามีความสมบูรณ์ครอบคลุม 1 รายวิชา • เป็นบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ที่ผ่านการประเมินของศูนย์ e-learning แล้ว • ต้องผ่านการเรียนการสอนไม่น้อยกว่า 1 ภาคการศึกษา • เป็นบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ที่ทั้งมีภาพ เสียง Animation คำถามท้ายบท สามารถ Interaction กับผู้เรียนได้
สรุปผลการประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิสรุปผลการประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิ • บทความทางวิชาการ ควรมีความทันสมัย มีการวิเคราะห์ในเชิงวิพากษ์ มีคุณค่าในเชิงวิชาการ • ควรระวังเรื่องการพิมพ์ผิด • ควรใช้คำภาษาไทย และวงเล็บภาษาอังกฤษ • หนังสือ ตำรา จะต้องพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ และมีการเผยแพร่ มิใช่ทำเพียงเพื่อขอตำแหน่งเท่านั้น • ผลงาน Minimum Requirement
สรุปผลการประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิ (ต่อ) • หนังสือควรมีความสมบูรณ์ถูกต้องของเนื้อหาสาระ • หนังสือควรมีบรรณานุกรมทุกบท • หนังสือควรต้องมีดัชนี • ควรมีคำถามท้ายบท • การคัดลอก หรือรูปภาพ ข้อความ ควรอ้างอิงให้ชัดเจน
ผลที่ได้รับในการดำรงตำแหน่งทางวิชาการผลที่ได้รับในการดำรงตำแหน่งทางวิชาการ • มีสิทธิในการใช้ตำแหน่งทางวิชาการที่ได้รับเป็นคำนำหน้านามได้ ในการลงชื่อ หนังสือ เอกสาร งานสารบรรณ หรือการเรียกขานใดๆเสมือนยศ • ได้รับเงินประจำตำแหน่งดังนี้ • ผศ. 5,600 บาท • รศ. 9,900 บาท • ศ. 13,000 บาท