280 likes | 536 Views
“ทศวรรษ ใหม่ วัฒนธรรมนำ ไทย”. นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม นายสนธยา คุณปลื้ม 22 สิงหาคม 2556. ยุทธศาสตร์ประเทศ ( Country Strategy ) ของรัฐบาล. 1. ยุทธศาสตร์ที่ 1 การ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เพื่อ หลุดพ้นจากประเทศรายได้ปานกลาง (Growth & Competitiveness)
E N D
“ทศวรรษใหม่ วัฒนธรรมนำไทย” นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม นายสนธยา คุณปลื้ม 22 สิงหาคม 2556
ยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) ของรัฐบาล 1 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เพื่อหลุดพ้นจากประเทศรายได้ปานกลาง (Growth & Competitiveness) ยุทธศาสตร์ที่ 2 การลดความเหลื่อมล้ำ (Inclusive Growth) ยุทธศาสตร์ที่ 3 การเติบโตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Growth) ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างสมดุลและปรับระบบบริหารจัดการภายในภาครัฐ (Internal Process) 4 2 3
ยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับงานด้านวัฒนธรรม ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เพื่อหลุดพ้นจากประเทศรายได้ปานกลาง (Growth & Competitiveness) ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การลดความเหลื่อมล้ำ (Inclusive Growth) 1.1.3 การจัดทำแผนที่การจัดกลุ่มเมืองท่องเที่ยว เพื่อจัดทำระบบฐานข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวในเชิงกลุ่มพื้นที่ที่มีศักยภาพ รวมทั้งแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ประวัติศาสตร์ และมีเอกลักษณ์ และนวัตกรรมในระดับสากล 1.2.5 การนำทุนทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นมาเพิ่มมูลค่า เพื่อสร้างรายได้ให้กับท้องถิ่นและชุมชน รวมทั้งเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าทั้งในภาคการผลิตและบริการ โดยให้ความสำคัญกับการใช้ทุนทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นผสมผสานการใช้เทคโนโลยี เพื่อสร้างความแตกต่างและความโดดเด่นของสินค้าและบริการที่ตรงกับความต้องการของตลาด 2.6.3 การสร้างองค์ความรู้เรื่องอาเซียน เพื่อเตรียมความพร้อมและลดผลกระทบต่อกำลังประชาชน/แรงงาน/ผู้ประกอบการ/บุคลากรภาครัฐในประเทศสมาชิกอาเซียน โดยสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องของศิลปวัฒนธรรม และเอกลักษณ์ของแต่ละประเทศ และพัฒนาความร่วมมือและความเชื่อมโยงด้านศิลปวัฒนธรรมกับประเทศอาเซียน เมืองท่องเที่ยววัฒนธรรม สินค้าและบริการด้านวัฒนธรรม การเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจในศิลปวัฒนธรรมอาเซียน
เพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์ประเทศและนโยบายด้านวัฒนธรรม ดังนั้น กระทรวงวัฒนธรรมจำเป็นต้องปรับบทบาทไปสู่กระทรวงกึ่งเศรษฐกิจ ใน 3 มิติสำคัญ การปรับบทบาทกระทรวงวัฒนธรรมไปสู่กระทรวงกึ่งเศรษฐกิจ • มิติการบริหารจัดการวัฒนธรรม • นำทุน/มรดกทางวัฒนธรรม มาใช้เพื่อสร้างคุณค่า/มูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด • สร้างความมั่นคงและยั่งยืนทางเศรษฐกิจ • บนฐานวัฒนธรรมในพื้นที่ ด้วยการมีส่วนร่วมของชุมชน/ประชาชนอย่างเต็มรูปแบบ • ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง • ทำให้หน่วยงานภาครัฐ มีโครงสร้างและระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ เอื้อต่อการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจบนฐานวัฒนธรรม • มิติการผลักดันเศรษฐกิจ • บนฐานวัฒนธรรม • มิติการปรับโครงสร้าง • และระบบบริหารจัดการภาครัฐ
ประเทศไทย มีจุดแข็งทางด้านมรดกทางวัฒนธรรม • จับต้องได้ • (โบราณสถาน/โบราณวัตถุ/ศิลปวัตถุ) • จับต้องไม่ได้ • (ขนบธรรมเนียมประเพณี/ศิลปวัฒนธรรม/ภูมิปัญญาท้องถิ่น) • จำเป็นต้องมีการบริหารจัดการที่ดี • เพื่อสร้างคุณค่าทางเศรษฐกิจและสังคม
นโยบายด้านวัฒนธรรม สืบสาน สร้างสรรค์ บูรณาการ ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมที่สร้างความร่วมมือขององค์กรและสถาบันด้านศิลปวัฒนธรรม ของภาครัฐและเอกชน ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมอย่างเต็มรูปแบบของประชาชน/ชุมชนในพื้นที่ สร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐ เพื่อขับเคลื่อนและผลักดันภารกิจสืบสานและสร้างสรรค์ทางวัฒนธรรม ศึกษา วิจัย รวบรวมและพัฒนาองค์ความรู้ อนุรักษ์และฟื้นฟูมรดกทางวัฒนธรรม จัดการแสดงและจัดนิทรรศการ จัดการเรียนการสอนแก่นักศึกษาและเยาวชน ส่งเสริมการพัฒนา/เชิดชูเกียรติบุคคลสำคัญ ส่งเสริมและสนับสนุนการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหว่างประเทศ เผยแพร่ และประชาสัมพันธ์งานด้านวัฒนธรรม สนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนและภาคส่วนต่างๆ วิจัยและพัฒนา เพื่อสร้างคุณค่า/มูลค่าเพิ่ม จากมรดกทางวัฒนธรรม ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาสินค้าและบริการเชิงวัฒนธรรม บนพื้นฐานเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน ที่เกิดจากมรดกทางวัฒนธรรม ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาการแสดง เพื่อสร้างคุณค่าเพิ่ม ปรับปรุงและพัฒนาเมือง/แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านการบริหารจัดการ
โครงการสำคัญด้านวัฒนธรรมโครงการสำคัญด้านวัฒนธรรม เชิงการบริหารจัดการ เชิงสังคม เชิงเศรษฐกิจ • สืบสานวัฒนธรรมอันดีงามของไทย โดยการปลูกจิตสำนึกและเผยแพร่ศาสนา ศิลปวัฒนธรรมขนบธรรมเนียม ประเพณีของชาติ • นำทุน/มรดกทางวัฒนธรรม • มาใช้เพื่อสร้างคุณค่า/มูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ • ให้เกิดประโยชน์สูงสุด • ปรับปรุงระบบบริหารจัดการ เพื่อยกระดับการมีส่วนร่วมและการบูรณาการอย่างเต็มรูปแบบจากทุกภาคส่วน • โครงการสำคัญ • โครงการพัฒนาระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ เอื้อต่อการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจบนฐานวัฒนธรรม • โครงการสำคัญ • โครงการรากวัฒนธรรมที่ภาคภูมิใจในทุกพื้นที่ • โครงการเมืองหน้าด่านวัฒนธรรมอาเซียน • โครงการค่ายศิลปวัฒนธรรมเยาวชนในช่วงปิดภาคเรียนทั่วประเทศ • โครงการสุดยอดการแสดงศิลปวัฒนธรรมและดนตรีไทยในแต่ละภาค • การสร้างภูมิคุ้มกันของสังคมในมิติวัฒนธรรม • โครงการสำคัญ • โครงการพัฒนาเมืองวัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยว ในพื้นที่ที่มีศักยภาพ • โครงการผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาวัฒนธรรม (OTOP วัฒนธรรม) • โครงการอุตสาหกรรมวัฒนธรรมสร้างสรรค์ • โครงการท่องเที่ยวชุมชนเชิงวัฒนธรรม ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง • โครงการส่งเสริมการท่องเที่ยวในงานประเพณีและวัฒนธรรมที่สำคัญ • โครงการปรับปรุงพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ/โบราณสถาน ให้เป็นแหล่งความรู้และแหล่งท่องเที่ยว
โครงการสำคัญเชิงสังคมโครงการสำคัญเชิงสังคม โครงการรากวัฒนธรรม ที่ภาคภูมิใจในทุกพื้นที่ โครงการค่ายศิลปวัฒนธรรมเยาวชน ในช่วงปิดภาคเรียนทั่วประเทศ • นำเสนอและคัดเลือก “ของดีบ้านฉัน” ที่มาจากความภาคภูมิใจของชุมชนทั่วประเทศ • เสริมสร้างความรัก/ความผูกพันในบ้านเกิดและวัฒนธรรมตนเอง • สนับสนุนให้วัฒนธรรมจังหวัดเป็นกลไกในการขับเคลื่อนชุมชนทั่วประเทศ • หน่วยงานภายในกระทรวงวัฒนธรรม จะบูรณาการในมิติพื้นที่ เพื่อจัดค่ายศิลปวัฒนธรรมเยาวชนในทุกจังหวัด • เริ่มดำเนินการในช่วงปิดภาคเรียน เดือนตุลาคม 2556 ในทุกจังหวัด
โครงการสำคัญเชิงสังคมโครงการสำคัญเชิงสังคม โครงการเมืองหน้าด่าน วัฒนธรรมอาเซียน โครงการสุดยอดการแสดงศิลปวัฒนธรรมและดนตรีไทยในแต่ละภาค • รณรงค์ให้ประชาชนตระหนักและสร้างความเข้าใจในวัฒนธรรมที่หลากหลายของประเทศในภูมิภาคอาเซียน • ส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชนในการรักษาวัฒนธรรมไทย บนพื้นที่เชื่อมต่อสำคัญกับภูมิภาคอาเซียน • ส่งเสริมกิจกรรมเพื่อสร้างความเข้าใจและความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมอันดี ระหว่างประเทศเพื่อนบ้าน • คัดเลือกการแสดงและดนตรีจากทั่วประเทศ เพื่อค้นหาสุดยอดสุดยอดการแสดงศิลปวัฒนธรรมและดนตรีไทย • ส่งเสริมให้มีการฟื้นฟูและประยุกต์การแสดงศิลปวัฒนธรรมและดนตรีไทยให้มีชีวิตชีวา และร่วมสมัย
ภารกิจสำคัญด้านสังคม การสร้างภูมิคุ้มกันของสังคมในมิติวัฒนธรรม • รณรงค์ให้ประชาชน ซึมซับและใช้วัฒนธรรมเป็นหลักในการสร้างภูมิคุ้มกัน เพื่อเตรียมพร้อมรับกระแสโลกภาวัฒน์ ผ่านศาสนาและวิถีชีวิตความเป็นไทย • ส่งเสริมกิจกรรมที่สร้างความเข้มแข็งให้กับประชาชนตั้งแต่ระดับครอบครัวสู่สังคม • สถาบันครอบครัว : ให้มีครอบครัวอบอุ่น • ระดับสังคม : ให้มีสังคมสร้างสรรค์
โครงการสำคัญเชิงเศรษฐกิจโครงการสำคัญเชิงเศรษฐกิจ โครงการพัฒนาเมืองวัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยว ในพื้นที่ที่มีศักยภาพ โครงการผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาวัฒนธรรม (OTOP วัฒนธรรม) • สุโขทัย-ศรีสัชนาลัย-กำแพงเพชร • เวียงกุมกาม • ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ/พื้นที่ คัดเลือกผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาวัฒนธรรมจากทั่วประเทศ • ส่งเสริม พัฒนาและนำเสนอ เพื่อให้เกิดคุณค่าทางเศรษฐกิจอย่างชัดเจน ใช้ทรัพยากรทางวัฒนธรรมเป็นทุน เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว ให้เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในพื้นที่อย่างยั่งยืน โครงการท่องเที่ยวชุมชนเชิงวัฒนธรรม ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับชุมชนในการนำจุดเด่นทางวัฒนธรรม มาส่งเสริมการท่องเที่ยว และพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง • เกาะเกร็ด
โครงการสำคัญเชิงเศรษฐกิจโครงการสำคัญเชิงเศรษฐกิจ โครงการส่งเสริมการท่องเที่ยว ในงานประเพณีและวัฒนธรรมที่สำคัญ โครงการอุตสาหกรรมวัฒนธรรมสร้างสรรค์ • ภาพยนต์ ครัวไทย สปา ฯลฯ • งานสงกรานต์ (13-15 เม.ย.) • งานสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ (21 เม.ย.) • งานเทศกาลออกพรรษา(19 ต.ค. 56) นำมรดกทางวัฒนธรรมที่มีคุณค่า มาผลักดันและสร้างสรรค์ ให้เกิดมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ ผ่านสินค้าและบริการ ที่แฝงไปด้วยวัฒนธรรมไทย เช่น ภาพยนต์ ครัวไทย สปา ฯลฯ จัดทำปฏิทินการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในทุกจังหวัด เพื่อกระตุ้นให้เกิด Appreciation ในวัฒนธรรมไทย และ ส่งเสริมให้เกิดการท่องเที่ยว ที่จะสร้างรายได้และมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจให้กับประเทศ
โครงการสำคัญเชิงเศรษฐกิจโครงการสำคัญเชิงเศรษฐกิจ โครงการปรับปรุงพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ /โบราณสถาน ให้เป็นแหล่งความรู้และแหล่งท่องเที่ยว พัฒนาระบบ IT เพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และเพื่อจัดการความรู้ด้านวัฒนธรรมออกสู่วงกว้าง ให้มีความทันสมัย น่าสนใจ และง่ายต่อการใช้งาน
โครงการสำคัญเชิงการบริหารจัดการโครงการสำคัญเชิงการบริหารจัดการ โครงการพัฒนาระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ เอื้อต่อการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจบนฐานวัฒนธรรม • 1. จัดตั้งหน่วยงานที่รับผิดชอบในการประสาน เชื่อมโยงและบูรณาการ เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจบนฐานวัฒนธรรม • 2. ปรับโครงสร้างหน่วยงานภายใต้กระทรวงวัฒนธรรม และหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง เพื่อลดความซ้ำซ้อนและเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน • 3. พัฒนาระบบบริหารจัดการ ที่สามารถติดตามและประเมินผลความสำเร็จได้ในทุกมิติ (มิติพื้นที่ (Area), มิติยุทธศาสตร์ (Agenda) และมิติหน่วยงาน (Function))
(แนวคิด) โครงสร้างการทำงานในระดับพื้นที่ สภาวัฒนธรรม จังหวัด ผวจ.และ สนง.จังหวัด สถาบัน การศึกษา/ วัด องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น หน่วยงาน วธ.ในพื้นที/ ส่วนกลาง จังหวัด วัฒนธรรมจังหวัด พัฒนาชุมชน จังหวัด และ หน่วยงาน มท. สภาหอการค้า/ สภาอุตสาหกรรม สมาคม/ชมรม ธุรกิจเอกชนต่างๆ ส่วนกลาง บทบาทของวัฒนธรรมจังหวัดเพื่อการขับเคลื่อนงานยุทธศาสตร์ของ วธ. ประสานงานและปฏิบัติหน้าที่ในฐานะตัวแทนของกระทรวงในส่วนภูมิภาค จัดทำแผนยุทธศาสตร์/แผนดำเนินงานด้านศิลปะ วัฒนธรรม ศาสนา และประสาน/ผลักดันเข้าสู่แผนการพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด บูรณาการการดำเนินงานของหน่วยงานต่างๆในระดับพื้นที่ทั้งภายในและภายนอกกระทรวง เพื่อผลักดันงานยุทธศาสตร์สำคัญของกระทรวงให้บรรลุผล ส่งเสริม สนับสนุนและประสานการดำเนินงานของสภาวัฒนธรรมจังหวัด สภาวัฒนธรรมอำเภอและสภาวัฒนธรรมตำบล
งานสำคัญของกระทรวงวัฒนธรรม ที่เหลือในปี 2556
ตัวอย่างโครงการนโยบายตัวอย่างโครงการนโยบาย แผนพัฒนา ‘เวียงกุมกาม’เป็นพื้นที่วัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยวโดย กระทรวงวัฒนธรรม
ตำแหน่งโบราณสถาน 28 แห่ง วัดธาตุขาว วัดอีค่าง แนวแม่น้ำปิงเดิม (สันนิษฐาน) วัดเจดีย์เหลี่ยม (วัดกู่คำ) แนวแม่น้ำปิงปัจจุบัน วัดกานโถม วัดกู่ป้าด้อม วัดปูเปี้ย ศูนย์ข้อมูลฯ
หลักการพัฒนาพื้นที่วัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยวที่ยั่งยืนหลักการพัฒนาพื้นที่วัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน ทรัพยากรทางวัฒนธรรม (Culture) อุตสาหกรรมและธุรกิจท่องเที่ยว (Commercial) การเชื่อมโยงพื้นที่ (Connectivity) เมืองวัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยว ชุมชนท้องถิ่น (Community) สิ่งแวดล้อม (Green)
แนวคิดการดำเนินงาน (Concept) ระยะใกล้ (ตามแผนที่เสนอนี้) • เร่งปรับปรุงและยกระดับพื้นที่เวียงกุมกามให้รองรับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในช่วงฤดูท่องเที่ยวปลายปี 2556 - ต้นปี 2557 (ตุลาคม 2556-เมษายน 2557 รวม 7 เดือน) • ใช้พื้นที่ใจกลางเวียงกุมกาม (15 ไร่ - วธ.เป็นเจ้าของ) เป็นพื้นที่วัฒนธรรมที่มีชีวิต น่าสนใจตลอดระยะเวลาฤดูท่องเที่ยว (7 เดือน) ประกอบด้วย สวนไม้ดอก การแสดงศิลปวัฒนธรรมการจัดงาน/เทศกาลสำคัญเพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยว • เร่งปรับปรุงสถานที่ ภูมิทัศน์ ป้ายสัญลักษณ์ สิ่งอำนวยความสะดวก ความปลอดภัย ตลอดจนระบบการนำเสนอข้อมูลที่ได้มาตรฐาน • คัดสรรวัฒนธรรมประเพณี สินค้าและบริการทางวัฒนธรรมของชุมชน เพื่อจัดแสดง จำหน่ายและให้บริการ โดยให้ชุมชนมีส่วนร่วมดำเนินการ และได้รับประโยชน์ ระยะยาว (แผนในอนาคต) • พัฒนาให้เป็นพื้นที่วัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยวครบวงจร และยั่งยืน • พัฒนารูปแบบการพัฒนาพื้นที่ร่วมกันระหว่างรัฐและชุมชนในพื้นที่ โดยฐานของการได้ประโยชน์ร่วมกัน
องค์ประกอบของการพัฒนาองค์ประกอบของการพัฒนา องค์ประกอบของการพัฒนา “เวียงกุมกาม” ทรัพยากรทางวัฒนธรรม อุตสาหกรรม/ ธุรกิจท่องเที่ยว ชุมชนท้องถิ่น สภาพแวดล้อม การเชื่อมโยงทางกายภาพและข้อมูล โบราณสถานหลัก นักท่องเที่ยว องค์กร/เจ้าหน้าที่รัฐ (กลาง/ท้องถิ่น) ภูมิทัศน์ภายในเมือง ประวัติศาสตร์/เรื่องเล่า/องค์ความรู้ โบราณสถานรอง ธุรกิจโรงแรม ที่พักร้านอาหาร ร้านค้า ประชาชน/ชุมชน โครงสร้างพื้นฐานและป้ายสัญลักษณ์ การเดินทางเข้าถึงพื้นที่ โบราณวัตถุ สินค้า/บริการทางวัฒนธรรม บริษัทห้างร้านภาคเอกชน สิ่งแวดล้อม/มลพิษ เส้นทาง/การเดินทางภายใน เมืองวัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยว กิจกรรม/เทศกาลวัฒนธรรม
บริเวณจัดงานใจกลางพื้นที่เวียงกุมกามบริเวณจัดงานใจกลางพื้นที่เวียงกุมกาม มีพื้นที่ราบเพื่อการจัดงาน ประมาณ 15 ไร่ แนวแม่น้ำปิงเดิม (สันนิษฐาน) แนวแม่น้ำปิงปัจจุบัน มีอาคาร Glass House ปรับอากาศ ซึ่งก่อสร้างขึ้นเพื่อจัดงาน Water Summit (พ.ค.56) มีอาคารเอนกประสงค์ซึ่งในปัจจุบันมิได้ใช้ประโยชน์ ศูนย์ข้อมูลฯ วัดปูเปี้ย
งบประมาณรวมทั้งสิ้น 84.10 ล้านบาท งบประมาณดำเนินการ 18.6 ลบ. (ใช้สำหรับจัดกิจกรรม) งบประมาณลงทุน 65.5 ลบ. (ใช้ได้ระยะยาว)
เป้าหมาย (ระยะใกล้) ยกระดับ ‘เวียงกุมกาม’ ให้เป็นพื้นที่วัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยวที่มีชีวิตโดยใช้ทรัพยากรทางวัฒนธรรมเป็นทุน โดย ชุมชนท้องถิ่นเป็นผู้ร่วมดำเนินการและได้รับประโยชน์ • มีนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น 5.95 แสนคน ตลอดระยะเวลา 7 เดือน • ช่วงสุดสัปดาห์ 2 วัน (มีจัดงานแสดง+โบราณสถาน) สัปดาห์ละ 10,000 คน x 28 สัปดาห์ = 280,000 คน • ช่วงวันธรรมดา 5 วัน (มีสวนดอกไม้+โบราณสถาน) สัปดาห์ละ 10,000 คน x 28 สัปดาห์ =280,000 คน • ช่วงจัดงานเทศกาล 7 ครั้ง ครั้งละ 5,000 คน = 35,000 คน • นักท่องเที่ยวใช้จ่ายในพื้นที่ (ค่าอาหาร สินค้าและบริการทางวัฒนธรรม) • ใช้จ่ายเฉลี่ยคนละ 500 บาท คิดเป็นรายได้รวม 297.5 ล้านบาท • ชุมชนจะมีส่วนร่วมดำเนินการและได้รับประโยชน์ประมาณ 2/3 ของรายได้คิดเป็นมูลค่าประมาณ 200 ล้านบาท(70% ของ 297.5 ลบ.) หมายเหตุ: เชียงใหม่มีนักท่องเที่ยวปีละประมาณ 5.6 ล้านคน สร้างรายได้ 4.3 หมื่น ลบ. (ข้อมูลปี 2554 โดย ททท. สนง.เชียงใหม่)