310 likes | 505 Views
อบรมหลักสูตร ครู ค (หลักสูตร ๓ วัน). โดยโครงการกองทุนโลกด้านวัณโรค รอบที่ ๑๐ ปีที่ ๓ ระหว่างวันที่ ๒๘ – ๓๐ พ.ค. ๒๕๕๗ ณ ห้องประชุมศูนย์แพทย์โนนหนามแท่ง. ประชุมติดตามการดำเนินงานวัณโรค โครงการกองทุนโลกด้านวัณโรค รอบที่ ๑๐ ปีที่ ๓.
E N D
อบรมหลักสูตร ครู ค (หลักสูตร ๓ วัน) โดยโครงการกองทุนโลกด้านวัณโรค รอบที่ ๑๐ ปีที่ ๓ ระหว่างวันที่ ๒๘ – ๓๐ พ.ค. ๒๕๕๗ ณ ห้องประชุมศูนย์แพทย์โนนหนามแท่ง
ประชุมติดตามการดำเนินงานวัณโรคโครงการกองทุนโลกด้านวัณโรค รอบที่ ๑๐ ปีที่ ๓
อัตราค้นพบผู้ป่วยรายใหม่เสมหะแพร่เชื้อ จ.อำนาจเจริญ ปี 2552-2555 ร้อยละ ปี พ.ศ. สูตรคำนวณ New M+ ปชก. x 62 ÷ 100000 สูตรคำนวณ TB ทุกประเภท ปชก. x 142 ÷ 100000
อัตราค้นพบผู้ป่วยรายใหม่เสมหะแพร่เชื้อ อำเภอเมือง ปี 2552-2556 ร้อยละ ปี
อัตราค้นพบผู้ป่วยรายใหม่เสมหะแพร่เชื้อ อำเภอเสนางคนิคม ปี 2552-2556 ร้อยละ ปี
อัตราค้นพบผู้ป่วยรายใหม่เสมหะแพร่เชื้อ อำเภอหัวตะพาน ปี 2552-2556 ร้อยละ
อัตราการรักษาหายผู้ป่วยวัณโรค New M+ จ.อำนาจเจริญ ปี 2549-2555 ร้อยละ
อัตราการรักษาสำเร็จผู้ป่วย New M+ อำเภอเมือง ปี 2551-2555 ร้อยละ ปี
อัตราการรักษาสำเร็จผู้ป่วย New M+ อำเภอเสนางคนิคม ปี 2551-2555 ร้อยละ ปี
อัตราการรักษาสำเร็จผู้ป่วย New M+ อำเภอหัวตะพาน ปี 2551-2555 ร้อยละ ปี
สถานการณ์วัณโรคดื้อยา จ.อำนาจเจริญ จำนวน/ราย
แนวทางการดำเนินงานวัณโรค ปี 2557
ให้ผู้ป่วยกลับบ้านโดยไม่ให้ยากลับไปด้วยให้ผู้ป่วยกลับบ้านโดยไม่ให้ยากลับไปด้วย ยากับสมุดประจำตัวผู้ป่วยให้ จนท.รพ.สต.มารับกลับ
ติดตามงานจากการประชุมครั้งที่แล้วติดตามงานจากการประชุมครั้งที่แล้ว
การจัดทำบันทึกความร่วมมือของ อปท. • กิจกรรมที่ต้องดำเนินการ • จัดทำคำสั่งความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน รพ.สต.และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อการดำเนินงานวัณโรค • หรือถ้ามีคำสั่งในกองทุนหลักประกันสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับวัณโรคแล้ว สามารถถ่ายสำเนาส่งให้จังหวัดแทนได้โดยไม่ต้องทำคำสั่งใหม่ • ขอให้มีวาระประชุมที่เกี่ยวกับวัณโรคเข้าประชุมทุกครั้ง และส่งวาระประชุมให้ สสจ.ด้วย เพื่อส่งหลักฐานให้สำนักวัณโรค ภายในเดือนพฤษภาคม 2557
การจัดทำบันทึกความร่วมมือของ อปท. • ได้รับหลักฐาน ตำบลบุ่ง และ ตำบลรัตนวารี • ขอให้ส่งภายใน 2 มิถุนายน 2557ประกอบด้วย • คำสั่งความร่วมมือ • วาระการประชุม
กิจกรรมค่าเดินทางผู้ป่วย New M+และค่าป้อนยาข้อมูล ณ 30 มี.ค.57 1.ผู้ป่วยวัณโรค ทุกประเภท จะได้รับค่าเดินทาง คนละ 1,200 บาท โดยแบ่งจ่าย ดังนี้ อำเภอเมือง 49/57,59/57 ยังไม่ส่งเบิก 2.เหมาจ่ายค่าเดินทางกำกับการกินยาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เสมหะพบเชื้อ คนละ 600 บาท / ราย อำเภอเมือง 49/57,59/57 ยังไม่ส่งเบิก
การนิเทศเจ้าหน้าที่กำกับการกินยาการนิเทศเจ้าหน้าที่กำกับการกินยา โดยเจ้าหน้าที่ระดับอำเภอ TB Clinic ค่าตอบแทน 650 บาทต่อเดือน นำเอกสารการเบิกเงินให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ทุกเดือน ยังไม่ส่งเบิก อำเภอเมือง เดือน เม.ย.-พ.ค.57 อำเภอหัวตะพาน เดือน เม.ย.-พ.ค.57 อำเภอเสนางคนิคม ยังไม่เคยส่งเลย
หลักสูตรอบรมอาสาสมัครสาธารณสุข เพื่อเป็นพี่เลี้ยงป้อนยาวัณโรค จังหวัดอำนาจเจริญ 27/8/2556
ทำไม ต้อง มีพี่เลี้ยง • การรักษาวัณโรคทั่วไป 1 ราย ค่ารักษา 2,500 บาท • หากมีการทำDOTรักษาหาย ˜ 95% แต่ถ้าไม่ทำDOT จะเกิด MDR ˜25% • MDR-TB 1 ราย ค่ารักษา 200,000 บาท การรักษาหาย ˜ 50% • ประเทศไทย ทุกๆ 20 รายของผู้ป่วย MDR-TB จะมี 1 รายที่เป็น XDR-TB • XDR-TB 1 ราย ค่ารักษา 1,200,000 บาท การรักษาหาย˜25%
วัณโรค คืออะไร...... • เป็นโรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ชื่อ มัยโคแบคทีเรียมทูเบอร์คูโลซิส มีรูปร่างเป็นแท่ง ขนาดเล็กมากมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า สามารถเป็นได้กับอวัยวะทุกส่วนของร่างกาย เช่น ปอด ลำไส้ กระดูด ผิวหนัง ต่อมน้ำเหลือง เยื้อหุ้มสมอง • เป็นปัญหามากที่สุด คือ วัณโรคปอด
วัณโรค ติดต่อได้อย่างไร....... • ติดต่อโดยการแพร่กระจายจากคนหนึ่งสู่อีกคนหนึ่ง ทางระบบหายใจ โดยผู้ป่วยที่มีเชื้อในเสมหะ พูด คุย ไอ จาม โดยไม่ปิดปาก ผู้ที่สูดหายใจเอาเชื้อวัณโรคเข้าร่างกาย ทำให้มีโอกาสติดเชื้อและป่วยเป็นวัณโรคได้ • การทำลายเชื้อวัณโรค ทำได้โดยการเผาทิ้ง การฝังกลบ การเทลงส้วม แต่วิธีที่ดีที่สุด คือการใช้ความร้อน คือ การเผาทิ้ง
เป้าหมายยุทธศาสตร์ • เป้าหมายยุทธศาสตร์การควบคุมวัณโรคแห่งชาติ ที่สำคัญ คือ ผู้ป่วยวัณโรคทุกรายมีพี่เลี้ยงป้อนยาวัณโรคทุกวัน
วัณโรค มีอาการอย่างไร.......... • อาการที่สงสัยว่าป่วยเป็นวัณโรค คือ ไอติดต่อกันเกิน 2 สัปดาห์ • อาการอื่นๆที่อาจพบได้ เช่น - ไอแห้งหรือไอมีเสมหะหรือไอปนเลือด - เจ็บหน้าอก เหนื่อยหอบ - มีไข้ต่ำๆตอนบ่ายหรือค่ำ - เบื่ออาหาร น้ำหนักลด อ่อนเพลีย ถ้าพบว่ามีอาการเหล่านี้ให้ไปพบแพทย์ เพื่อตรวจหาวัณโรค
การรักษาวัณโรค • วัณโรครักษาหายขาดได้ แต่ต้องกินยาครบตามมาตรฐานการรักษา ใช้ระยะเวลารักษา 6-9 เดือน • ถ้ากินยาไม่ครบ จะเกิด “เชื้อดื้อยา” จะต้องใช้เวลารักษานานถึง 18 - 24 เดือน การรักษาจะยากขึ้น ค่าใช้จ่ายเรื่องยาจะแพงขึ้น โอกาสรักษาหายเพียง 50 % อีก 50%ตาย
อาการข้างเคียงจากยา • แบบไม่รุนแรง ผื่นคันเล็กน้อย อาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ชาตามปลายมือปลายเท้า ปัสสาวะหรือฉี่หรือเหงื่อเป็นสีส้มแดงส่วนใหญ่ไม่เป็นอันตราย พูดให้กำลังใจผู้ป่วยกินยาต่อไป พร้อมกับให้ยารักษาตามอาการ • แบบรุนแรง (ต้องหยุดยาทันทีและไปพบแพทย์) ผื่นเป็นเม็ดแดงนูนเต็มตัว หูอื้อฟังไม่ชัด ตัวเหลือง ตาเหลือง ตามัว เยื่อบุตาแดงบวม ปวดตามข้อ เดินเซ
ทำไม ต้องมีพี่เลี้ยง • ช่วยให้ผู้ป่วยกินยาทุกวันจนครบ ช่วยให้การรักษาได้ผล • ลดการแพร่เชื้อวัณโรคในชุมชน • ผู้ป่วยกินยาประมาณ 2 สัปดาห์ อาการไอและอาการต่างๆจะดีขึ้น รู้สึกสบายขึ้น ผู้ป่วยมักหยุดยาเอง เพราะคิดว่าหายแล้ว พี่เลี้ยงต้องคอยกระตุ้นให้กินยาต่อไป • พี่เลี้ยงได้ช่วยเหลือให้กำลังใจผู้ป่วย และเฝ้าระวังการแพ้ยาให้ผู้ป่วย
หน้าที่ที่สำคัญที่สุดของผู้ป้อนยา คือ ป้อนยาผู้ป่วยวัณโรคโดยกินยาต่อหน้าทุกวัน
DOT กับการรักษาวัณโรค DOT คือ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข หรือ อาสาสมัครสาธารณสุขทำหน้าที่ • ดูแลกำกับการกินยาผู้ป่วยวัณโรคพร้อมบันทึกการกินยาของผู้ป่วยวัณโรค • ให้กำลังใจให้ผู้ป่วยกินยาครบตามกำหนดการรักษา • แนะนำการปฏิบัติตนในการรักษาวัณโรค และป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ โดยใช้ผ้า ปิดปากปิดจมูก • สังเกต สอบถาม เมื่อผู้ป่วยเกิดอาการข้างเคียงหรืออาการแพ้ยา • หมั่นย้ำเรื่องการดูแลสุขภาพของผู้ป่วย เช่น ไม่ดื่มเหล้า ไม่สูบบุหรี่ • ให้ข้อมูลผู้ป่วยแก่เจ้าหน้าที่สาธารณสุข เช่น ความสม่ำเสมอในการกินยา
Standard Flow Chart (WHO) การคัดเลือกพี่เลี้ยงในการทำ DOTS 1.คัดเลือกจนท.ในรพ.สต.เป็นผู้ป้อนยา 2.ให้ผู้ป่วยมากินยาทุกวันในวันราชการให้ยา2-3วันสำหรับวันหยุด 3.ผู้ป่วยไปต่างจังหวัด จัดยาให้ผู้ป่วยตามจำนวนวันและแจ้งการกินยาการมารับยาตามนัด อันดับแรกผู้ป่วยสามารถมากินยาที่รพ.สต.ได้ทุกวัน ได้ ไม่ได้ 1.เอายาไว้ที่ รพ.สต.ทั้งหมด 2.ให้ จนท.หรือ อสม.เป็นผู้ป้อนยา 3.ให้ญาติ,ผู้ป่วย,พี่เลี้ยง ร่วมรับทราบแนวทางการรักษา 4.มอบยาแก่ผู้ป้อนยา ครั้งละ 7 ซอง 5.จนท.รพ.สต.ต้องออกเยี่ยมบ้านทุกสัปดาห์เพื่อประเมินการแพ้ยา ให้ จนท.หรือ อสม. เป็นผู้ป้อนยา ได้ ไม่ได้ ให้ญาติที่น่าเชื่อถือเป็นผู้ป้อนยา(ผู้ป่วยปิดตัว)