420 likes | 1.03k Views
งานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ( NCD ). สำนักงานสาธารณสุขอำเภอมหาชนะชัย. วันที่ ๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗. การดำเนินงาน ป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ประจำปี ๒๕๕๗. อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจลดลง. คนไทยมีพฤติกรรมสุขภาพดี ปัจจัยเสี่ยงลดลง.
E N D
งานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) สำนักงานสาธารณสุขอำเภอมหาชนะชัย วันที่ ๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗
การดำเนินงาน ป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ประจำปี ๒๕๕๗
อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจลดลงอัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจลดลง คนไทยมีพฤติกรรมสุขภาพดี ปัจจัยเสี่ยงลดลง กลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคหัวใจ ได้รับการคัดกรองและปรับพฤติกรรม ผู้ป่วยโรคหัวใจ เข้าถึงบริการได้รับการรักษาตามมาตรฐาน ผู้ป่วยโรคหัวใจ ได้รับการฟื้นฟู ลดอัตราการเป็นซ้ำ 3.ค้นหาผู้ที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิด IHD/CVD -รู้อาการเตือน -ปรับพฤติกรรม -ให้ยาตามข้อบ่งชี้ 4.พัฒนาคุณภาพระบบบริการ ระบบส่งต่อ -พัฒนาระบบคลินิก NCD -พัฒนาศักยภาพบุคลากร -ผป . STEMI ได้รับยาทันท่วงที -ผป.โรคหัวใจได้รับการฟื้นฟู 2.สนับสนุนการประเมินและจัดการปัจจัยเสี่ยงของNCD รายบุคคล 1.ลดปัจจัยเสี่ยงในประชากรทั่วไปและชุมชนสนับสนุนสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คลินิก DPAC มาตรการหลัก • สุขภาพดี เริ่มต้นที่นี่ • ลดการบริโภคเกลือ • บังคับใช้กฎหมายควบคุมยาสูบ และสถานที่สาธารณะปลอดบุหรี่ • บังคับใช้ ฉลาก GDA • ตำบลจัดการสุขภาพดี • หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯ • ศูนย์การเรียนรู้องค์กร • ต้นแบบไร้พุง • สถานประกอบการปลอดโรคปลอดภัย กายใจเป็นสุข 1.ลดปัจจัยเสี่ยงในประชากรทั่วไปและสนับสนุนสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ 2.สนับสนุนการประเมินและจัดการปัจจัยเสี่ยงของNCD รายบุคคล 3.ค้นหาผู้ที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิด IHD/CVD 4.พัฒนาคุณภาพระบบบริการ • คัดกรอง DM,HT • ผู้ป่วย DM,HTควบคุมระดับน้ำตาล และความดันได้ดี • ประเมินความเสี่ยง CVD • คลินิก NCD คุณภาพ • มาตรฐานการรักษา(STEMI fastTrack , Cardiac Rehabilitation /secondary Prevention) • มาตรฐาน คุณภาพของยา IHD กรมควบคุมโรค กรมวิชาการต่างๆ
ภารกิจที่ต้องดำเนินการภารกิจที่ต้องดำเนินการ 1. สื่อสารเตือนภัยสนับสนุนการลดปัจจัยเสี่ยงในประชากรทั่วไป 3อ 2ส เน้นลดบริโภคอาหารที่เกลือและไขมันสูง เพิ่มผัก หยุดบุหรี่ และสนับสนุนการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ ในหมู่บ้าน ตำบล ชุมชน สถานประกอบการ สถานที่ทำงาน 2. ให้บริการประเมินและจัดการปัจจัยเสี่ยงของโรคไม่ติดต่อรายบุคคล 3.ผู้ป่วย DMHT ได้รับการประเมินความเสี่ยง CVD รู้อาการเตือนของโรคหัวใจขาดเลือดและโรคหลอดเลือดสมอง ปรับพฤติกรรมและได้ยาที่เหมาะสมตามข้อบ่งชี้ เป้าหมายเพื่อให้หยุดบุหรี่ควบคุมระดับน้ำตาล ไขมันในเลือด ความดันโลหิตได้ 4. พัฒนาคุณภาพระบบบริการ ได้แก่ • STEMI fasttrack • รพ.ระดับ M2-F2 สามารถให้ยาละลายลิ่มเลือดได้มากกว่าร้อยละ 70 • ผู้ป่วยโรคหัวใจได้รับการฟื้นฟูหัวใจ ตามมาตรฐาน Cardiac Rehabilitation เพื่อป้องกันการเกิดโรคซ้ำ(secondary prevention)
ประเด็นการตรวจราชการและติดตามประเมินผลประเด็นการตรวจราชการและติดตามประเมินผล ระบบและกระบวนการ 1.คลินิก NCD คุณภาพ เน้นการบูรณาการการป้องกัน จัดการปัจจัยเสี่ยงในการรักษา ความเชื่อมโยงระบบส่งต่อที่มีคุณภาพ ระบบข้อมูลและการนำไปใช้ในการวางแผน พัฒนาการบริหารจัดการและปรับระบบบริการ 2.การคัดกรองโรค DM HT CVD ที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน มีการลงทะเบียนกลุ่มเสี่ยง และให้คำปรึกษาที่มีคุณภาพ 3.รพ.A,S,M1,M2,F1,F2สามารถให้การขยายหลอดเลือด(ยาละลายลิ่มเลือด /PCI)ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจได้
ประเด็นการตรวจราชการและติดตามประเมินผลประเด็นการตรวจราชการและติดตามประเมินผล ผลลัพธ์ 4.ผู้ป่วย DM, HT ควบคุมระดับน้ำตาล และความดันได้ดี 5.ผู้ป่วย DM,HT ได้รับการประเมินความเสี่ยง CVD 6.ผู้ป่วย DM,HT ที่สูบบุหรี่ เลิกสูบบุหรี่ได้ 7.ผู้ป่วย DM,HT ปรับพฤติกรรมและจัดการตนเองเพื่อลดเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ 8.ผู้ป่วย STEMI ได้รับการรักษาขยายหลอดเลือดหัวใจ (ยาละลายลิ่มเลือด/PCI) มากกว่าร้อยละ 50 9.ผู้ป่วย โรคหลอดเลือดหัวใจ ได้รับการรักษาขยายหลอดเลือดหัวใจ (ยาละลายลิ่มเลือด/PCI) มากกว่าร้อยละ 70 10. อัตราตายในโรงพยาบาลจาก STEMI น้อยกว่า ร้อยละ 10
ตัวชี้วัด งานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อ ประจำปี ๒๕๕๗
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย • กลุ่มเด็กวัยรุ่น/นักศึกษา (15-21 ปี) 1.ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ใน ปชก.อายุ 15 - 19 ปี • กลุ่มวัยทางาน (15 – 59 ปี) 2. อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ • กลุ่มผู้สูงอายุ(60 ปีขึ้นไป) และผู้พิการ 3. อัตราการตายจากโรคหลอดเลือดสมอง
ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุม ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้ • การเข้าถึงบริการ 4.ร้อยละของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือเฉียบพลัน (STEMI) • คุณภาพบริการ 5.ร้อยละของคลินิก NCD คุณภาพ • คุณภาพการบำบัดรักษา 6. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานได้รับการคัดกรองเบาหวานเข้าจอประสาทตา 7. ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้าตาลได้ดี 8. ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี 9. ร้อยละของผู้ป่วย Ischemic Stroke ได้รับยาละลายลิ่มเลือดเพิ่มขึ้น
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการ -ไม่มี-
-ต่อ- • ตัวชี้วัดหมวดที่ 3 คุณภาพและผลงานด้านการพัฒนาองค์กร การเชื่อมโยงบริการระบบส่งต่อ และการบริหารระบบ -ไม่มี- • ตัวชี้วัดหมวดที่ 4 คุณภาพและผลงานของบริการที่จำเป็นตอบสนองปัญหาสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ และบริการเสริมในพื้นที่ 8. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรอง มะเร็งท่อน้ำดี 9. ร้อยละของผู้ที่มีผลผิดปกติได้รับการรักษาต่อ
ผลการประเมิน คุณภาพงาน DM –HT
ตัวชี้วัดในการประเมินคุณภาพตัวชี้วัดในการประเมินคุณภาพ • ด้านความครอบคลุมการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน 1.อัตราการตรวจ HbA1c อย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี 2.อัตราการตรวจ LDL หรือLipid Profile ใน DM อย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี 3.อัตราการตรวจ Microalbuminuriaอย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี 4.อัตราการตรวจจอประสาทตา อย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี 5.อัตราการตรวจเท้าอย่างละเอียด อย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี 6.อัตราการตรวจ LDL หรือLipid Profile ใน HT อย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี • ด้านคุณภาพการดูแล รักษา 1.อัตราผู้ป่วย DM ที่มีระดับ HbA1c ต่ำกว่า 7% 2.อัตราผู้ป่วย DM มีแผลที่เท้า 3.อัตราผู้ป่วย HT มีค่า BP ต่ำกว่า 140/90 mmHg
งบประมาณจัดสรร กองทุนโรคเรื้อรัง ประจำปี ๒๕๕๗ เขต ๑๐ อุบลราชธานี
งบบริการควบคุม ป้องกันความรุนแรงDM/HT (801.204 ลบ.) งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ (53.240 ลบ.) งบค่าบริการ2nd prevention (748 ลบ.) จัดสรรตามจำนวนผู้ป่วยที่มีในทะเบียน(60%) จัดสรรตามความครอบคลุมและคุณภาพบริการ(40%) ค่าบริการจัดสรรให้หน่วยบริการ (≥90%) ค่าบริการจัดสรรผ่านจังหวัด ค่าบริการดำเนินการร่วมกันระดับจังหวัด(<10%) งบบริการควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเรื้อรัง(บริการควบคุม ป้องกันความรุนแรงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง)งบประมาณ 2557 - นโยบาย ยุทธศาสตร์และแผนงาน- พัฒนาระบบบริการ- พัฒนาบุคลากร- ระบบสารสนเทศและ M&E
ข้อมูลการจัดสรรเงินระดับเขตข้อมูลการจัดสรรเงินระดับเขต
ด่วนที่สุด สั่งการให้จัดกิจกรรมวันเบาหวานโลก ปี ๒๕๕๖ (ปีงบประมาณ ๒๕๕๗) • จัดรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ในรูปแบบต่างๆ เพื่อรับรู้อันตรายและผลกระทบอันร้ายแรงของโรคเบาหวาน สาเหตุ ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค วิธีการป้องกัน และชะลอการเกิดโรค • จัดบริการคัดกรองเบาหวานแก่ประชาชนอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป พร้อมทั้งคำแนะนำและการดูแลที่เหมาะสม • จัดบริการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน พร้อมทั้งคำแนะนำการจัดการตนเองในการความคุมระดับน้ำตาลและ ความดันโลหิตสูงเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน
เรื่อง เสนอเพื่อพิจารณา
การประเมินคลินิก NCD ปี 57 • ระดับเขต สุ่มประเมิน 30 % โดยคณะกรรมการระดับเขต • ระดับจังหวัด ทุก รพ.ในเขตจังหวัดยโสธร ( ประมาณ มกราคม 2557 )
(ร่าง) แผนออกประเมินคลินิก NCD คุณภาพ
(ร่าง) แผนการตรวจคัดกรองเบาหวานเข้าจอตา เครื่องที่ 1 (เครื่อง รพ.กุดชุม) เครื่องที่ 2 (เครื่อง รพ.มหาชนะชัย)
(ร่าง)คำสั่งคณะทำงานตรวจคัดกรองจอประสาทตาประจำปี 2557 โดยแบ่งออกเป็น 2 ทีม ทีมที่ 1 ประกอบด้วย 1. พญ.รุ่งฤดี ตั้งวงษ์ไชย ประธาน 2. น.ส.กรองพุทธ พิมพ์หาญ เลขา 3. ผู้รับผิดชอบงาน รพ./สสอ. (อ.ทรายมูล กุดชุม ป่าติ้ว เลิงนกทา และไทยเจริญ) 4.นางส่งศรี มูลสาร ผู้ประสาน ทีมที่ 2 ประกอบด้วย 1. พญ.รัตน์ ครุสันต์ ประธาน 2. นางประภาพรรณ บุตรสมบัติ เลขา 3.ผู้รับผิดชอบงาน รพ./สสอ. (อ.เมือง คำเขื่อนแก้ว มหาชนะชัย และค้อวัง) 4.นางศุภรักษ์ สายเชื้อ ผู้ประสาน
การตรวจคัดกรองนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะการตรวจคัดกรองนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ • การดำเนินการตรวจคัดกรอง เหมือนเดิม • วัสดุ ดำเนินการ เขต ให้การสนับสนุน • รายงานปี 56 คงเหลือ อ.ป่าติ้ว อ.คำเขื่อนแก้ว อ.เลิงนกทา ขอให้รวบรวม ส่งให้กลุ่มงาน NCD สรุปภาพรวมจังหวัด ด่วนที่สุด
การพัฒนาศักยภาพบุคลากร • หลักสูตร พยาบาลเฉพาะทาง (Case Manager) 4 เดือน • หลักเกณฑ์ - อายุไม่เกิน ๕๐ ปี และต้องมีใบอนุญาตพยาบาลชั้นหนึ่ง - สำเร็จปริญญาโททุกสาขา/ปริญญาตรี ต้องมีประสบการณ์ ๕ ปี - มีประสบการณ์ทำงานเกี่ยวกับ DM/HT อย่างน้อย ๑-๒ ปี - กลับไปทำงานในพื้นที่ได้ อย่างน้อย ๒-๓ ปี - ไม่เป็นโรคที่เป็นอุปสรรคต่อการเข้ารับการอบรม • เป้าหมาย คัดเลือกจังหวัดละ ๕ คน โดย สสจ.เรียงลำดับ ระยะเวลาคัดเลือก ภายใน พฤศจิกายน ๕๖ นี้
โครงการตรวจติดตามความดันโลหิตด้วยตนเอง ในผู้ป่วย HT ของหน่วยบริการ ระยะที่ 1 วัตถุประสงค์ 1.เพื่อพัฒนาการดูแลรักษาภาวะความดันโลหิตสูงแบบมีส่วนร่วมใน การจัดการตนเองและสถานบริการ 2.พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการดูแล และป้องกันภาวะแทรกซ้อน จากภาวะความดันโลหิตสูง 3.เพื่อประเมินผลการดูแลรักษาภาวะความดันโลหิตสูงโดยการติดตาม ความดันโลหิตด้วยตนเอง เป้าหมาย 1.ผู้ป่วย HT ที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน ควบคุม BP ต่ำกว่า 140/90 mmHg 2.ผู้ป่วยอายุน้อย ผู้ป่วยDM ไตวายเรื้อรัง กล้ามเนื้อหัวใจตาย อัมพฤกษ์ อัมพาต ควรควบคุม BP ต่ำกว่า 130/80 mmHg
-ต่อ พื้นที่นำร่อง เครือข่ายอำเภอคำเขื่อนแก้ว และอำเภออื่นๆที่มีความต้องการจะเข้าร่วม ................. ตัวชี้วัด 1.อัตราผู้ป่วย HT ที่ควบคุม BP อยู่ในเกณฑ์ < 140/90 mmHg 2.อัตราผู้ป่วย HT ได้รับการติดตามอย่างน้อย 2 ครั้ง/ปี 3.อัตราผู้ป่วย HT ได้รับการตรวจร่างกายและตรวจทางห้องปฏิบัติการ 4.อัตราผู้ป่วย HT ที่มีภาวะแทรกซ้อนหัวใจและหลอดเลือด หลอดเลือดสมอง ไต 5. อัตราผู้ป่วย HT ที่สูบบุหรี่ ซึ่งได้รับคำแนะนำให้เลิกบุหรี่
การบริหารจัดการ สสจ. รพท. CUP CUP CUP CUP PCU PCU PCU PCU อสม. ผป.HT ผป.HT ผป.HT ผป.HT
การส่งข้อมูลเข้าระบบคลังโรคไม่ติดต่อ ปี 57 หน่วยบริการที่ยังไม่ส่ง ส่งทุก 25 ของเดือน