1 / 17

Array

Array. อาร์เรย์. อาร์เรย์ คือ กลุ่มข้อมูลประเภทเดียวกันที่มีการอ้างอิงถึงชื่อตัวแปรชื่อเดียวกัน โดยการอ้างอิงข้อมูลแต่ละตัวในอาร์เรย์จะมีการใช้ตัวชี้เพื่ออ้างอิง ตัวชี้ (index) ไว้อ้างถึงข้อมูลในอาร์เรย์ สมาชิก (element) คือ สมาชิกในอาร์เรย์. การประกาศตัวแปรชนิดอาร์เรย์ 1 มิติ.

marcos
Download Presentation

Array

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Array

  2. อาร์เรย์ • อาร์เรย์ คือ กลุ่มข้อมูลประเภทเดียวกันที่มีการอ้างอิงถึงชื่อตัวแปรชื่อเดียวกัน โดยการอ้างอิงข้อมูลแต่ละตัวในอาร์เรย์จะมีการใช้ตัวชี้เพื่ออ้างอิง • ตัวชี้ (index) ไว้อ้างถึงข้อมูลในอาร์เรย์ • สมาชิก (element) คือ สมาชิกในอาร์เรย์

  3. การประกาศตัวแปรชนิดอาร์เรย์ 1 มิติ • รูปแบบ: <ประเภทข้อมูล> <ชื่ออาร์เรย์>[ขนาดของอาร์เรย์] • ตัวอย่าง • int score[10]; • char name[21]; • float x[20];

  4. การกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับอาร์เรย์ 1 มิติ • รูปแบบ: <ประเภทข้อมูล> <ชื่ออาร์เรย์> [ขนาดอาร์เรย์] = {ค่าของสมาชิกแต่ละตัว} • ตัวอย่างเช่น • int num[5] ={10, 20, 30, 40, 50}; • char character[3] ={‘a’, ‘b’, ‘c’}; • char st[6] = “Hello”; เท่ากับ char st[6] = {‘H’, ‘e’, ‘l’, ‘l’, ‘o’};

  5. การเข้าถึงสมาชิกในอาร์เรย์ 1 มิติ • การกำหนดค่าให้โดยตรง • รูปแบบ: <ชื่ออาร์เรย์>[ตัวชี้] = ค่าที่ต้องการกำหนดให้ • ตัวอย่างเช่น กำหนดให้ char ch[6]; inti[3]; • ch[0] = ‘H’; • ch[1] = ‘e’; • i[1]= 5; i[2] i[0] i[1] i ch[1] ch[2] ch[3] ch[4] ch[5] ch[0] ch

  6. การเข้าถึงสมาชิกในอาร์เรย์ 1 มิติ • การอ่านค่าเพื่อเก็บในอาร์เรย์ • ตัวอย่างเช่น • scanf(“%c”, character[1]); • scanf(“%c”, i[0]);

  7. การเข้าถึงสมาชิกในอาร์เรย์ 1 มิติ • การเก็บค่าให้กับสมาชิกในอาร์เรย์โดยใช้ loop • รูปแบบ: for (int index = 0; index < arraysize; ++index) <กำหนดค่าหรืออ่านค่าของสมาชิกที่มีตัวชี้อยู่> • ตัวอย่าง for (inti=0; i<10; ++i) scanf(“%d”, sample[i]);

  8. ตัวอย่างการใช้อาร์เรย์ 1 มิติ • เขียนโปแกรมเพื่อรับค่าจำนวนเต็มเข้ามา 10 จำนวน • เขียนโปรแกรมเพื่อแสดงผลลัพธ์ จำนวนเต็มในข้อ 1. • หาผลบวกของจำนวน 10 จำนวนในข้อ 1. • แสดงผลลัพธ์ของผลบวกในข้อ 3.

  9. แบบฝึกหัด • เขียนโปรแกรมเพื่อค้นหาตัวเลขในตัวแปรอาร์เรย์ โดยกำหนดให้ตัวแปรอาร์เรย์เก็บข้อมูลได้ 10 จำนวน และมีค่าดังนี้ 25, 100, 84, 43, 98, 0, 55, 38, 12, 7 • จากนั้นรับตัวเลขที่ต้องการค้นหาเข้ามา พื่อตรวจสอบว่าตัวเลขนั้นอยู่ที่ตำแหน่งใดภายในตัวแปรอาร์เรย์ • ถ้าไม่พบตัวเลขที่ต้องการค้น ให้แสดงข้อความ “Not found data”

  10. การส่งค่าจากอาร์เรย์ 1 มิติไปยังฟังก์ชัน • การเรียกใช้ • การนิยาม

  11. ตัวอย่าง

  12. อาร์เรย์หลายมิติ • รูปแบบ <ประเภทข้อมูล> ชื่อตัวแปร[ขนาด N] …[ขนาด 2][ขนาด 1]; • ตัวอย่างเช่น intm[4][3][6]; • การกำหนดค่าเริ่มต้น intxy[3][3] = {10,20,30,40,50,60,70,80,90};

  13. ตัวอย่าง

  14. ตัวอย่าง • เขียนโปรแกรมเพื่อรับคะแนน 4 วิชา ของนักเรียน 5 คน • พร้อมคำนวณหาค่าเฉลี่ยของคะแนนในแต่ละวิชา • และคำนวณคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนแต่ละคน • และหาว่านักเรียนสอบผ่านกี่คน โดยนักเรียนจะสอบผ่านก็ต่อเมื่อมีคะแนนเฉลี่ยมากกว่าหรือเท่ากับ 50 คะแนน

  15. รับคะแนน 4 วิชา ของนักเรียน 5 คน ตัวอย่างหน้าจอข้อมูลเข้า ตัวอย่างโปรแกรม

  16. คำนวณหาค่าเฉลี่ยของคะแนนในแต่ละวิชาคำนวณหาค่าเฉลี่ยของคะแนนในแต่ละวิชา ตัวอย่างหน้าจอแสดงผลลัพธ์ ตัวอย่างโปรแกรม

  17. และคำนวณคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนแต่ละคนและหาว่านักเรียนสอบผ่านกี่คน โดยนักเรียนจะสอบผ่านก็ต่อเมื่อมีคะแนนเฉลี่ยมากกว่าหรือเท่ากับ 50 คะแนน ตัวอย่างหน้าจอแสดงผลลัพธ์ ตัวอย่างโปรแกรม นับจำนวนนักศึกษาที่สอบผ่าน

More Related