130 likes | 301 Views
การประเมินความปลอดภัยด้านยา. โรงพยาบาลบุรีรัมย์ ข้อ 9 การประเมินการใช้ยา. ผลการประเมินตนเอง : 2. พิจารณาในแต่ละข้อกำหนด เนื้อหาเน้น DUE ปัจจุบันรพ.บุรีรัมย์ดำเนินการ DUR ระบบ DUE สะท้อนความปลอดภัยด้านยาน้อยกว่าข้ออื่น เนื่องจาก การดำเนินงานในระยะต้นไม่ได้ส่งผลต่อผู้ป่วยโดยตรง.
E N D
การประเมินความปลอดภัยด้านยาการประเมินความปลอดภัยด้านยา โรงพยาบาลบุรีรัมย์ ข้อ 9 การประเมินการใช้ยา
ผลการประเมินตนเอง : 2 • พิจารณาในแต่ละข้อกำหนด • เนื้อหาเน้น DUE • ปัจจุบันรพ.บุรีรัมย์ดำเนินการ DUR • ระบบ DUE สะท้อนความปลอดภัยด้านยาน้อยกว่าข้ออื่น เนื่องจาก • การดำเนินงานในระยะต้นไม่ได้ส่งผลต่อผู้ป่วยโดยตรง
ผลการประเมินตนเอง : 2 • มุ่งเน้นการควบคุมการใช้ยา (ลดมูลค่ายา) • ประโยชน์เกิดกับผู้ป่วยเมื่อสามารถได้ผลประเมินว่ามีการสั่งใช้ยาไม่เหมาะสม และสามารถสร้างแนวทางการสั่งใช้ยา การติดตามการใช้ยา และนำไปสู่การปฏิบัติได้ • Concurrent จะเกิดประโยชน์โดยตรงกับผู้ป่วย • แต่เพิ่มภาระงานมาก
การดำเนินงาน DUE รพ.บุรีรัมย์ • Concurrent DUE : Imipenem/Cilastatin, Meropenem, Cefepime, Cefpirome • หัวข้อประเมิน : Indication, Dose, ADR, ผลการรักษา • ปัญหาที่พบ : • มีความเห็นที่ขัดแย้งในเรื่องผลการประเมิน • แพทย์พิจารณาอาการทาง clinic ของผู้ป่วยเป็นสำคัญ • การปฏิบัติจริงขาดข้อมูลที่สำคัญ : sensitivity test, นน.ผู้ป่วย
การดำเนินงาน DUE รพ.บุรีรัมย์ • ผลการประเมิน : ใช้ยาเหมาะสม 80% • ไม่สามารถสร้างแนวทางการสั่งใช้ยาได้ • ต่อมายากลุ่มดังกล่าวไม่ใช่ปัญหาหลักของการสั่งใช้ยาในรพ. • ยาที่มูลค่าการสั่งใช้สูง
มูลค่าจ่ายยาจากคลัง Top 20 : 2552
มูลค่าจ่ายยาจากคลัง Top 20 Original 12 รายการ ED 10 รายการ NED 8 รายการ
แนวทางเรื่องสั่งใช้ยาที่เหมาะสมแนวทางเรื่องสั่งใช้ยาที่เหมาะสม • DUR : drug use review • ประมวลผลจากฐานข้อมูลการใช้ยา • สะท้อนการสั่งใช้ยาในรพ. เสนอต่อผู้บริหารรพ. • ลดภาระงานเภสัชกร แต่การติดตามการสั่งใช้ยายังคงดำเนินการ : acute care • สร้างมาตรฐานการสั่งใช้ยาในยาที่เกิดปัญหา
แนวทางเรื่องสั่งใช้ยาที่เหมาะสมแนวทางเรื่องสั่งใช้ยาที่เหมาะสม • Antibiotic : Restrict drug • IC ดำเนินการร่วมกับกลุ่มงานเภสัชกรรม • ติดตามการสั่งใช้ยาว่าเหมาะสมตรงตาม indication หรือไม่ • ตัวอย่างแบบบันทึก
ประชุมคณะกรรมการ PTCครั้งที่ 1 / 2553 22/01/53 ห้องประชุมเภสัชกรรม
4.1 มติคณะอนุกรรมการจัดทำบัญชียา • การดำเนินงาน Rational drug use • DUR : atrovastatin มีการใช้ยาเหมาะสมตาม NCEP III 30% • เสนอให้มีการทำ DUR ในยากลุ่มอื่นเพิ่มเติมโดยเฉพาะยาที่มีมูลค่าการใช้สูง • มอบหมายให้กลุ่มงานเภสัชกรรมพิจารณาดำเนินงาน
Rational drug use • Atrovastatin : step II กำหนดแนวทางการสั่งใช้ยา • ตัวอย่างการควบคุมการใช้ยา Antihyperlipidemia • ยารายการอื่นที่ควรทำ DUR • กลุ่มงานเภสัชกรรมพิจารณามูลค่าการใช้ยา + ข้อมูลกลุ่มงาน 8 กลุ่มที่กรมบัญชีกลางให้ความสนใจ • Celebrex