1.2k likes | 1.59k Views
การจัดการพื้นที่ต้นน้ำ อย่างยั่งยืนแบบมีส่วนร่วม. พื้นที่ต้นน้ำ. พื้นที่ตอนบนของลุ่มน้ำ ( Head Watershed ). อยู่บนพื้นที่สูง มีความลาดชันสูง. พื้นที่เป็นภูเขา (Mountainous Watershed). เป็นแหล่งที่มีความหลากหลายทางชีวภาพ. พื้นที่ที่มีความสำคัญต่อองค์ประกอบ บทบาท และหน้าที่.
E N D
การจัดการพื้นที่ต้นน้ำอย่างยั่งยืนแบบมีส่วนร่วมการจัดการพื้นที่ต้นน้ำอย่างยั่งยืนแบบมีส่วนร่วม
พื้นที่ต้นน้ำ พื้นที่ตอนบนของลุ่มน้ำ (Head Watershed) อยู่บนพื้นที่สูง มีความลาดชันสูง พื้นที่เป็นภูเขา (Mountainous Watershed) เป็นแหล่งที่มีความหลากหลายทางชีวภาพ พื้นที่ที่มีความสำคัญต่อองค์ประกอบ บทบาท และหน้าที่ ของระบบนิเวศที่เปราะบางหากถูกทำลายหรือเสื่อมสภาพ เกิดผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมได้ง่าย และรุนแรง เป็นการยากที่จะฟื้นฟู ให้กลับสู่สภาพเดิม
ลักษณะเฉพาะของพื้นที่ต้นน้ำลักษณะเฉพาะของพื้นที่ต้นน้ำ ๑ ส่วนมากเป็นที่สูง ชัน หรือมีสิ่งแวดล้อมที่มีคุณค่า ๒ ดินพังทลายง่าย แต่ มีสมรรถนะการอุ้มน้ำสูง และ สามารถปลดปล่อยสู่ลำห้วยลำธารตลอดปี จึงเปรียบเสมือนอ่างเก็บน้ำธรรมชาติ ๓ มีฝนตกมาก แต่มีการระเหยน้ำน้อย เมื่อเทียบกับ พื้นที่ตอนล่าง รวมทั้งพื้นที่มีหมอกปกคลุม ๔ มีพืชและสัตว์ป่าอยู่หลากหลายและหนาแน่น ๕ เป็นพื้นที่ที่ให้น้ำ ในพื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ ชั้น๑ ชั้น๒ และ/หรือ ชั้น๓ รวมทั้งพื้นที่ที่เป็น เทือกเขาแนวยาว
บทบาทที่สำคัญของพื้นที่ป่าต้นน้ำลำธารบทบาทที่สำคัญของพื้นที่ป่าต้นน้ำลำธาร ๑. เป็นแหล่งรองรับ กักเก็บ ระบาย และควบคุมการไหลของน้ำฝน สู่ลำห้วย ลำธาร และแม่น้ำ ๒. เป็นแหล่งรองรับและสกัดกั้นน้ำฝน ไม่ให้ กัดชะและพัดพาดินไปทับถมในลำห้วย ลำธาร ให้ตื้นเขิน ๓. เป็นแหล่งควบคุมความสมดุลของลมฟ้า อากาศ ๔. ป้องกันมิให้เกิดอุทกภัยที่รุนแรง
บทบาทที่สำคัญของพื้นที่ป่าต้นน้ำลำธาร (ต่อ) เป็นพื้นที่ที่ควรสงวนรักษาไว้เป็นแหล่งต้นน้ำลำธาร เพื่อเอื้ออำนวยประโยชน์ของน้ำที่ดี เพื่อบรรเทา ปัญหาอุทกภัย ภัยแล้ง รักษาเสถียรภาพของดิน เป็นแหล่งอนุรักษ์ ความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อเอื้ออำนวยผลผลิต ที่ตอบสนองความต้องการ ของมวลมนุษย์
การพัฒนา และการจัดการพื้นที่ป่าต้นน้ำ หลักนิติศาสตร์ ป้องกัน ปราบปราม อพยพเคลื่อนย้าย รัฐศาสตร์ + หลักนิติศาสตร์ มติ ครม. ๓๐มิถุนายน ๒๕๔๑ สอบสวนสิทธิ์ สังคมศาสตร์ + รัฐศาสตร์ +หลักนิติศาสตร์ คนอยู่กับป่า ภายใต้ : การมีส่วนร่วมทุกฝ่าย
กฎหมาย และนโยบาย ที่เกี่ยวข้อง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ กฎหมายว่าด้วยการป่าไม้ กฎหมายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ฯลฯ พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. ๒๕๓๗ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๐ (พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๔) นโยบายรัฐบาล และมติคณะรัฐมนตรี นโยบายกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๖ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบัญญัติใดของกฎหมาย กฎ หรือข้อบังคับ ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้ บทบัญญัตินั้นเป็นอันใช้บังคับมิได้ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับเจ้าหน้าที่ของรัฐ / การมีส่วนร่วม และทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับเจ้าหน้าที่ของรัฐ และการมีส่วนร่วม หมวด ๓ สิทธิ และเสรีภาพของชนชาวไทย ส่วนที่ ๒ ความเสมอภาค มาตรา ๓๑ ส่วนที่ ๑๐ สิทธิในข้อมูลข่าวสารและการร้องเรียน มาตรา ๕๘, ๕๙, ๖๐ และ ๖๒ ส่วนที่ ๑๑ เสรีภาพในการชุมนุมและการสมาคม มาตรา ๖๔ หมวด ๔ หน้าที่ของชนชาวไทย มาตรา ๗๔ หมวด ๕ แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ ส่วนที่ ๓ แนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดิน มาตรา ๗๘ ส่วนที่ ๕ แนวนโยบายด้านกฎหมายและการยุติธรรม มาตรา ๘๑ ส่วนที่ ๗ แนวนโยบายด้านเศรษฐกิจ มาตรา ๘๓ และ ๘๔ ส่วนที่ ๑๐ แนวนโยบายด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน มาตรา ๘๗ หมวด ๑๓ จริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง มาตรา ๒๗๙ และ ๒๘๐
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หมวด ๓ สิทธิ และเสรีภาพของชนชาวไทย ส่วนที่ ๕ สิทธิในทรัพย์สิน มาตรา ๔๒ ส่วนที่ ๖ สิทธิเสรีภาพในการประกอบอาชีพ มาตรา ๔๓ ส่วนที่ ๑๐ สิทธิในข้อมูลข่าวสารและการร้องเรียน มาตรา ๕๗ ส่วนที่ ๑๒ สิทธิชุมชน มาตรา ๖๖ และ มาตรา ๖๗ หมวด ๔ หน้าที่ของชนชาวไทย มาตรา ๗๓ หมวด ๕ แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ ส่วนที่ ๘ แนวนโยบายด้านที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มาตรา ๘๕ หมวด ๑๔ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มาตรา ๒๙๐
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๐ (พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๔)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๐ (พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๔) แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๘ (พ.ศ.๒๕๔๐-๒๕๔๔) การมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนในสังคม และมุ่งให้ คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๙ (พ.ศ.๒๕๔๕-๒๕๔๙) ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บูรณาการเป็นองค์รวมที่มีคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๐ (พ.ศ.๒๕๕๐-๒๕๕๔) การเตรียมพร้อมของคน และระบบให้สามารถปรับตัว พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง ในอนาคตและแสวงหา ประโยชน์อย่างรู้เท่าทันโลกาภิวัตน์ และสร้างภูมิคุ้มกัน ให้กับทุกภาคส่วนมุ่งสู่ “สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน” ภายใต้แนวปฏิบัติของ“ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”
นโยบายรัฐบาลเมื่อ วันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๑ณ กระทรวงการต่างประเทศข้อ ๕. นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมข้อ ๕.๑ - ๕.๖ …………
นโยบายรัฐบาลด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมนโยบายรัฐบาลด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๕.๑ คุ้มครองและอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า....เร่งจัดทำแนวเขตการใช้ประโยชน์ที่ดิน.....เร่งประกาศพื้นที่ป่าอนุรักษ์ กำหนดเขตและส่งเสริมการปลูกป่า ป่าชุมชน เพิ่มฝายต้นน้ำและฝายชะลอการไหลของน้ำตามแนวพระราชดำริ.....ป้องกันการเกิดไฟป่า ปราบปรามการบุกรุกทำลายป่าอย่างจริงจัง ส่งเสริมการปลูกหญ้าแฝกเพื่อลดการชะล้างพังทลายของดิน ลดการใช้สารเคมี..... ๕.๒ คุ้มครองและฟื้นฟูพื้นที่อนุรักษ์...ความหลากหลายทางชีวภาพ....อนุรักษ์ พัฒนา และใช้ประโยชน์....บนฐานภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่น...อย่างเป็นธรรม...ให้เกิดความปลอดภัยทางชีวภาพ ๕.๓ จัดให้มีระบบป้องกัน รวมทั้งเตือนภัยและบรรเทาความเดือดร้อนแก่ผู้ประสบภัยธรรมชาติ......น้ำท่วม แผ่นดินหรือโคลนถล่ม น้ำแล้ง......โดยเฉพาะในทุกแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ
ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำรัส ชี้แนะแนวทาง การดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า ๓๐ ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้ำ แนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้น และสามารถดำรงอยู่ได้ อย่างมั่นคง และยั่งยืน ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ และความเปลี่ยนแปลง กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดำรงอยู่ และ ปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็น โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัยและวิกฤติ เพื่อความมั่นคงและความยั่งยืนของการพัฒนา
เศรษฐกิจพอเพียง สายกลาง ความพอประมาณ ไม่น้อยเกินไป ไม่มากเกิน ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น ความมีเหตุผล การตัดสินใจจากเหตุปัจจัย และคำนึงถึงผล ที่คาดว่าจะเกิดอย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว เตรียมพร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลง โดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล เงื่อนไข คุณธรรม ความรู้ ความรอบรู้ ความรอบคอบ ความระมัดระวัง ความตระหนัก ความซื่อสัตย์สุจริต ความอดทน ความหมั่นเพียร สติปัญญา ชีวิต / เศรษฐกิจ / สังคม สมดุล / มั่นคง / ยั่งยืน
วิสัยทัศน์ คงความสมบูรณ์ของธรรมชาติ พัฒนาและสนับสนุนส่งเสริมให้ประชาชนอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี สู่การเป็นฐานการพัฒนาที่ยั่งยืน ผืนป่าหลากหลาย สัตว์ป่ามากมาย ป่าไม้ยั่งยืน ระบบนิเวศต้นน้ำสมบูรณ์และยั่งยืน พันธกิจตามภารกิจ - อนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเวศต้นน้ำ - ศึกษาวิจัย และพัฒนาองค์ความรู้เพื่อนำไปสาธิตและประยุกต์ใช้ในการ อนุรักษ์ฟื้นฟูพื้นที่ต้นน้ำ - จัดระเบียบชุมชนในพื้นที่ต้นน้ำและส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการบริหาร จัดการพื้นที่ต้นน้ำ ค่านิยม มุ่งพัฒนา สามัคคี เทคโนโลยี มีส่วนร่วม วัฒนธรรมองค์กร ร่วมมือร่วมใจ ใช้คุณธรรมนำองค์กร มุ่งพัฒนายึดวิชาการ เน้นการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ
ค่านิยมองค์การ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช “PROTECT” หมายถึง คุ้มครองรักษา Participation ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม Relevance งานที่ทำตรงภารกิจ Outcome มุ่งเน้นผลลัพธ์จากการดำเนินงานเป็นหลัก Team ทำงานเป็นทีม Efficiency ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ Conservation อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติให้คงความสมบูรณ์สามารถ ใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน Technology นำวิทยาการมาใช้ในการปฏิบัติงาน
ทำไมจึงต้องมีการจัดการทรัพยากรลุ่มน้ำทำไมจึงต้องมีการจัดการทรัพยากรลุ่มน้ำ ภายใต้การมีส่วนร่วม ? • ภาครัฐฯ ไม่สามารถดำเนินการให้เกิดประโยชน์ต่อทั้งสังคม ส่วนรวมและชุมชนผู้ใช้ทรัพยากรของประเทศได้เต็มที่ • ภาคเอกชน/ชุมชนชนบท/ผู้คนที่ใช้ประโยชน์ทรัพยากร ต่างคนต่างทำ ยังคิดถึงประโยชน์ของส่วนรวมไม่มากนัก • รัฐธรรมนูญกำหนดให้ทุกภาคส่วน ร่วมมือกันในการบริหาร จัดการ ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๐
ปรัชญาของการบริหารจัดการลุ่มน้ำภายใต้การมีส่วนร่วมปรัชญาของการบริหารจัดการลุ่มน้ำภายใต้การมีส่วนร่วม ให้ประชาชนในแต่ละลุ่มน้ำ มีส่วนร่วมในกระบวนการ ตัดสินใจต่อการใช้ประโยชน์และทำนุบำรุงทรัพยากรลุ่มน้ำ โดย มีผู้แทนของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกแขนงเข้าร่วมเป็นคณะทำงาน หรือคณะกรรมการในแต่ละระดับ เพื่อกำหนดแนวทาง และ วางแผนการบริหารจัดการทรัพยากรในลุ่มน้ำโดยมีผู้แทนของ หน่วยราชการ ทำหน้าที่ให้การสนับสนุน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ลุ่มน้ำ/ต้นน้ำทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ลุ่มน้ำ/ต้นน้ำ ดิน น้ำ ป่า สัตว์ คน ฟ้า
สรุปการจัดการต้นน้ำ คุณภาพ สร้างจิตสำนึก ประชาสัมพันธ์ ฝึกอบรม/ศึกษาดูงาน ค่ายเยาวชน เวทีชาวบ้าน เวทีประชาคมหมู่บ้าน ทรัพยากรน้ำ ควบคุมการพังทลายของดิน คนอยู่กับป่า ปริมาณ ระยะเวลา ป่าไม้ วัตถุประสงค์ กายภาพ ชีวภาพ การใช้ที่ดิน ชุมชน การวิจัย วิชาการ เกษตร การมีส่วนร่วม วิกฤติ ประชากร ข้อมูล ของชุมชน เศรษฐกิจสังคม การจัดการ ต้นน้ำ/ลุ่มน้ำ ไม้ผล/วนเกษตร เกษตรเชิงอนุรักษ์ พื้นที่ทำกิน อนุรักษ์ดินและน้ำ ทำกิน/อยู่อาศัย พื้นที่ฟื้นฟู ป่าไม้หมู่บ้าน วางแผน การใช้ที่ดิน ป่าไม้หมู่บ้าน ฟื้นฟู ป่าพื้นบ้านอาหารชุมชน ปลูกฟื้นฟู ทำฝาย ปลูกแฝก อนุรักษ์ องค์กร ป้องกันการบุกรุก ป้องกันไฟป่า ป้องกันการพังทลาย (พื้นที่วิกฤติ) องค์กรชุมชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการลุ่มน้ำ องค์กรเครือข่ายลุ่มน้ำ ทสม.สสอ.
กิจกรรมของ สตน. ในการจัดการต้นน้ำ วิจัย ฝาย แฝก ฟื้นฟู ชุมชน ฟื้นฟูในพื้นที่ ป่าเสื่อมโทรม เพื่อให้พื้นที่มีศักยภาพในการอนุรักษ์ดิน และน้ำ ป่าสามอย่างประโยชน์สี่อย่าง ปลูกโดยไม่ต้องปลูก การปลูกแฝกเพื่อ ยึดดินให้อยู่กับที่ ป้องกันการกัดชะพังทลายของดิน สร้างความอุดมสมบูรณ์ให้กับดิน ในการฟื้นฟูป่าและพื้นที่ทำกิน ก่อสร้างฝายเพื่อ ชะลอการไหล ของน้ำ ดักตะกอน ยึดน้ำไว้ในดิน สร้างความชุมชื้น ให้กับป่าเพื่อลดการเกิดไฟป่าและเพิ่มความหลากหลายฯ เป็นแหล่งน้ำสำหรับคนและสัตว์ป่า ส่งเสริมให้ชุมชน ให้มีจิตสำนึก ผู้บุกรุกเป็น ผู้พิทักษ์ สร้างความร่วมมือ กับชุมชนและ องค์กรต่างๆ และ สร้างเครือข่าย ในการอนุรักษ์ฯ และวางแผนการใช้ประโยชน์ที่ดิน ค้นหาแนวทาง ปฏิบัติสำหรับแก้ไข ปัญหาและเป็นตัวชี้วัดผลสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม การจัดการลุ่มน้ำ งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น เพื่อให้เกิดความ ยั่งยืนของทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
แนวทางการดำเนินการบริหารจัดการลุ่มน้ำแนวทางการดำเนินการบริหารจัดการลุ่มน้ำ แนวทางการดำเนินการบริหารจัดการลุ่มน้ำ • ให้ประชาชนในพื้นที่ลุ่มน้ำมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาลุ่มน้ำ โดยเฉพาะในส่วนของการกำหนดหลักเกณฑ์การจัดสรรทรัพยากรลุ่มน้ำเพื่อการใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ การกำหนดสัดส่วนการใช้ที่ดิน การวางหลักเกณฑ์การบริหารและจัดการ ประสาน ดูแลโครงการและแผนงานของหน่วยปฏิบัติให้สอดคล้องกับนโยบายรัฐฯ และ แผนหลักของการพัฒนาลุ่มน้ำนั้นๆ • สำหรับหน่วยปฏิบัติ ทำหน้าที่สนับสนุนข้อมูลทางเทคนิคและเสนอแนะแผนงานโครงการที่สอดคล้องกับแผนการจัดสรรทรัพยากรในพื้นที่ลุ่มน้ำ ตลอดจนการกำหนดโครงการทำนุ บำรุง รักษา และใช้ประโยชน์ทรัพยากรให้เกิดความยั่งยืน
กลไกการดำเนินการพัฒนาลุ่มน้ำภายใต้การมีส่วนร่วมกลไกการดำเนินการพัฒนาลุ่มน้ำภายใต้การมีส่วนร่วม โดยที่แนวคิดและแนวทางการดำเนินการพัฒนาทรัพยากร ดิน น้ำ ป่าไม้ และอื่นๆใน ลุ่มน้ำเป็นเรื่องที่ริเริ่มดำเนินการใหม่สำหรับประเทศไทย จึงจำเป็นจะต้องมีการกำหนดยุทธศาสตร์ หรือกลวิธีในการดำเนินการ เพื่อให้การดำเนินการมีทิศทางและเป้าหมายที่ชัดเจน ทั้งนี้จำเป็น จะต้องมีการเตรียมแผนและกำหนดหลักเกณฑ์ในการปฏิบัติ ดังนี้ ๑. จัดตั้งคณะกรรมการจัดการลุ่มน้ำ เพื่อเป็นองค์กรหลักในการจัดทรัพยากรลุ่มน้ำและ ใช้ประโยชน์ทรัพยากรในแต่ละลุ่มน้ำ พร้อมกับกำหนดรูปแบบองค์กร และอำนาจหน้าที่ ๒. กำหนดแนวทางการจัดทำแผนหลัก เพื่อการพัฒนาทรัพยากรในแต่ละลุ่มน้ำ ๓. ปรับเปลี่ยนแนวทางการปฏิบัติของหน่วยปฏิบัติ เพื่อให้เกิดการประสานที่ดีกับ กรรมการแต่ละลุ่มน้ำ โดยเฉพาะในส่วนของการสนับสนุนข้อมูลและงานด้านเทคนิค ๔. จัดให้ประชาชนในลุ่มน้ำมีส่วนร่วมในกระบวนการให้มากที่สุด ซึ่งอาจรวมถึงการ ประชาสัมพันธ์และการฝึกอบรม
กลไกการดำเนินการพัฒนาลุ่มน้ำภายใต้การมีส่วนร่วม (ต่อ) บทบาทของคณะกรรมการจัดการลุ่มน้ำ บทบาทหลักของคณะกรรมการจัดการลุ่มน้ำ คือ • ดำเนินการจัดสรรทรัพยากร ที่ดิน น้ำ ป่าไม้ และอื่นๆในพื้นที่ให้เกิดความสอดคล้องกับการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจที่ยั่งยืน และกำกับดูแลการจัดทำแผนงาน สำหรับการออกแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินและโครงสร้างพื้นฐานเป็นความรับผิดชอบของหน่วยปฏิบัติที่มีความพร้อมด้านเทคนิคและมีความชำนาญ • การจัดสรรทรัพยากร ดิน น้ำ ป่าไม้ และอื่นๆนั้น ต้องคำนึงถึงความเป็นธรรมทางสังคม ความเหมาะสมกับศักยภาพการพัฒนา และผลประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นโดยรวม ซึ่งจำเป็นจะต้องอาศัยข้อมูลทางวิชาการหลายๆ ด้าน(สังคม เศรษฐกิจ การเมือง สิ่งแวดล้อม)ประกอบการพิจารณา หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะเป็นผู้สนับสนุนด้านข้อมูล พร้อมทั้งเสนอแนวทางการพัฒนา เพื่อให้คณะกรรมการฯ พิจารณา
การอนุรักษ์และการจัดการต้นน้ำแบบยั่งยืนการอนุรักษ์และการจัดการต้นน้ำแบบยั่งยืน การมีส่วนร่วม ความพอเพียง ยั่งยืน
การมีส่วนร่วม หมายถึง การที่ปัจเจกบุคคล กลุ่มคน ชุมชน องค์กรประชาชน ที่เห็นพ้องต้องกันเข้ามามีส่วนร่วม ในการร่วมคิด ร่วมพิจารณา ร่วมตัดสินใจ ร่วมปฏิบัติ ร่วมติดตามประเมินผล ร่วมแก้ปัญหา และร่วมรับผิดชอบ ด้วยความสมัครใจเพื่อให้เกิดการพัฒนา และ การเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ต้องการ และบรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ สันติวิธี/สมานฉันท์/ปรองดอง/ยั่งยืน
ระดับการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมระดับการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วม ระดับการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมสูงขึ้น ในทางวิชาการอาจแบ่งเป็น ๕ระดับ ได้แก่ การฟังความคิดเห็น การเกี่ยวข้องเข้าไปมีบทบาท การแบ่งปันข้อมูลข่าวสาร การร่วมมือร่วมแรง การเสริมพลังอำนาจให้ประชาชน http://www.lopburi.go.th/maitree/chapter_50/sisaket_chapter7_July_2550.doc
เทคนิค การมีส่วนร่วม การมีส่วนร่วมจะมีหลายวิธี ซึ่งมีอยู่มากมาย ได้แก่ ๑. เทคนิคการมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูล มีหลายวิธีการที่สามารถกระทำได้ ทั้งเอกสาร และการพูดจาประชาสัมพันธ์ เช่น เอกสารข้อเท็จจริง รายงานผลการศึกษา จัดเวทีนำเสนอข้อมูล มีศูนย์ข้อมูลข่าวสาร การจัดสัมมนาวิชาการ การไปทัศนศึกษา การจัดทำจดหมายข่าว จัดแถลงข่าว ทำวีดิทัศน์ การสื่อสารผ่านหอกระจายข่าวชุมชน หรือการสื่อสารผ่านวิทยุกระจายเสียง ๒. เทคนิคการมีส่วนร่วมในการรับฟังความคิดเห็น ได้แก่ การไปสัมภาษณ์รายบุคคล การสนทนาเป็นกลุ่มย่อยซึ่งขณะนี้ใช้กันมาก เพราะมีความใกล้ชิดและได้ข้อมูลจากการสำรวจความคิดเห็น การจัดให้มีสายด่วน - สายตรง การแสดงความคิดเห็นผ่านเว็บไซต์ ซึ่งกำลังแพร่หลายไปตามกระแสเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมตลอดถึงประชาพิจารณ์ก็อยู่ในเทคนิคส่วนนี้ ๓. เทคนิคการมีส่วนร่วมแบบปรึกษาหารือ ที่ปรากฏมากและกระจายอยู่ทั่วไปขณะนี้ คือเวทีสาธารณะ การพบปะแบบไม่เป็นทางการ มีคณะทำงานไปแลกเปลี่ยนข้อมูล การประชุมเชิงปฏิบัติการ เทคนิคโดยละเอียดเหล่านี้ เป็นการแจกแจงให้เห็นวิธีการเข้าถึงการมีส่วนร่วม (sharing)ที่เลือกใช้ตามสภาพและความจำเป็น และการพิจารณาในภาวการณ์ที่แตกต่าง http://www.lopburi.go.th/maitree/chapter_50/sisaket_chapter7_July_2550.doc
การมีส่วนร่วมของชุมชนการมีส่วนร่วมของชุมชน ในการจัดการทรัพยากรต้นน้ำ ระดับโลก ระดับประเทศ .............................. ยอมรับ การเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมใดๆ............แล้วย่อมเกิด....... ความรู้สึกเป็นเจ้าของ.....ความสนใจ......ห่วงใย.......ดูแลรักษา ............และใช้ประโยชน์อย่างทะนุถนอม และยั่งยืน ป้องกันไม่ให้เกิดความขัดแย้ง และลดความขัดแย้ง
กระบวนการมีส่วนร่วม หลักนิติธรรม /เสวนา /เวทีชาวบ้าน /ประชาคม /ฝึกอบรม ดูงาน /สัมมนาเครือข่าย /รัฐสนับสนุน ร่วมประเมินผล ร่วมกันเรียนรู้ ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมปฏิบัติ • กำหนดแนวทางการ • พัฒนา และการแก้ไข • ปัญหา เพื่อสนองความต้องการของชุมชน และ รัฐ • ร่วมตัดสินใจอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมให้เกิดความยั่งยืน ตกทอดสู่ลูกหลาน • จัดทำข้อมูลของชุมชน • ที่อยู่ ที่ทำกิน ป่า พื้นที่ • วิกฤติ เศรษฐกิจ สังคม • สำมะโน ปัญหาของ • ชุมชน • ให้ความรู้ และร่วมกันเรียนรู้ ในสาขาวิชาต่างๆ และภูมิปัญญาท้องถิ่น • ความต้องการ ของ • ชุมชน และ รัฐ • จัดทำแผน ในระดับชุมชนเพื่อแก้ไขปัญหา • วางแผนการใช้ที่ดินตามหลักวิชาอนุรักษ์และภูมิปัญญาท้องถิ่น • แผนแก้ไขปัญหาพื้นที่วิกฤติ/เตือนภัย • แผนอนุรักษ์/พิทักษ์ • ทรัพยากรธรรมชาติ • แผนพัฒนาคุณภาพ • ชีวิต (พอเพียง) • ร่วมปฏิบัติตามแผน/โครงการ ที่กำหนด • รัฐสนับสนุนให้มีการดำเนินงานตามแผน/โครงการ ที่กำหนด • ร่วมกันให้คำแนะนำในการปฏิบัติตามแผน/โครงการ • ร่วมมือกันดำเนินการ • คุ้มครอง บำรุงรักษา ฟื้นฟู ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม • ร่วมกันติดตาม • ประเมินผลการปฏิบัติ • ร่วมกันพิจารณาแก้ไข • ปัญหาการปฏิบัติ แผนชุมชนดำเนินการ แผน อบต.ดำเนินการ แผนรัฐดำเนินการ เข้าสู่กระบวน การเรียนรู้ร่วมกัน
ปัจจัยในการมีส่วนร่วมปัจจัยในการมีส่วนร่วม การมีส่วนร่วม
กระบวนการทำงานร่วมกับชุมชนกระบวนการทำงานร่วมกับชุมชน เวทีชาวบ้าน เป็นเครื่องมือสำคัญในกระบวนการมีส่วนร่วม เป็นเวทีพูดคุย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความคิด ในการบริหาร จัดการทรัพยากรฯของชุมชน และพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนร่วมกัน
ประเด็น เวทีชาวบ้าน
องค์กร /กลุ่ม องค์ประกอบ มีกิจกรรม ร่วมกัน มีปฏิสัมพันธ์ ระหว่างกัน ผู้นำ องค์กร กลุ่ม สมาชิก กฎระเบียบ มีความรู้สึก ร่วมกัน การบริหารจัดการ ทรัพยากรที่จะบริหารจัดการ
กลยุทธ์การทำงานร่วมกับชุมชนกลยุทธ์การทำงานร่วมกับชุมชน เข้าถึง เข้าใจ พัฒนา เศรษฐกิจพอเพียง อัญเชิญแนวพระราชดำริ อบอุ่น อิ่ม อบรม อุดมการณ์ องค์กร อุดหนุน อุดมสมบูรณ์ คนอยู่ กับป่า อยู่ดีมีสุข สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน ๗ อ แก้ไขปัญหาทรัพยากรฯและความยากจน ยั่งยืน
ขั้นตอนปฏิบัติ ๕ จัดทำข้อมูลชุมชน ที่ทำกิน ที่อยู่อาศัย ป่า พื้นที่วิกฤติ โดยชุมชนมีส่วนร่วม คณะกรรมการชุมชน ในการอนุรักษ์ อำเภอ อบต. กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน NGOs เจ้าหน้าที่ อส. ๑๕ ๑ ๑๑ ๑๐ ๔ จัดทำแผน/กิจกรรมของชุมชนลุ่มน้ำชุมชน กำหนดกติกา เสวนา เวทีชาวบ้าน สำมะโนปัญหา ประชาคม ๖ ๑๒ จัดทำฐานข้อมูล ระบบGIS Model 3 D ประชาพิจารณ์ ๑๓ ๒ ๓ ๙ คนอยู่กับป่า ป่าต้นน้ำสมบูรณ์ยั่งยืน ๗ ชุมชน หมู่บ้าน ๑๔ Model 3 D เป็นสื่อ ๘ ๑๗ ความรู้ อบรม สัมมนา ดูงาน สหวิชาการ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ข้อมูล ภูมินิเวศ ชีวภาพ พื้นที่วิกฤติ เศรษฐกิจสังคม ๑๖ เข้าถึง เข้าใจ พัฒนา เศรษฐกิจพอเพียง นิติธรรม สมานฉันท์ ยั่งยืน อยู่ดีมีสุข สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน อัญเชิญแนว พระราชดำริ ในการพัฒนา อัญเชิญกระแส พระราชดำรัส ๒๖ ก.พ. ๒๕๒๔ สสอ. ทสม. เรียนรู้ร่วมกัน
บทบาทเจ้าหน้าที่ของรัฐ ( อส. ) ๑. ต้องปรับเปลี่ยน ทัศนคติและพฤติกรรม เพื่อรองรับบทบาท นักพัฒนาและส่งเสริม ๒. ต้องเป็นผู้ที่รู้จัก แสวงหาความร่วมมือเพื่อประโยชน์ของทรัพยากรฯ และชุมชนอย่างยั่งยืน ๓. ต้องเป็นผู้ที่รู้จักใช้ หลักธรรมาภิบาล สันติวิธี สมานฉันท์ ปรองดอง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๔. ต้องเป็นผู้ที่รู้จักแสวงหาความรู้ที่เกี่ยวข้อง มิติทางสังคม ภูมิปัญญา คนอยู่กับป่า ๕. ต้องเป็น ผู้อำนวยความสะดวกให้กับชุมชนได้แก่ - ต้องมีจิตสำนึก ความรับผิดชอบ ความตั้งใจ และบูรณาการในทุกๆด้าน - มีทัศนคติที่ดีและกระตือรือร้นที่จะทำงานร่วมกับชุมชน - ให้เกียรติรับฟังความคิดเห็น และเคารพการตัดสินใจของชุมชน - เชื่อมั่นและศรัทธาในศักยภาพของชุมชน - คำนึงถึงหลักความเสมอภาค และเป็นกลาง
ปรับบทบาทตัวเอง ผู้ให้(ส่งเสริม) ผู้ห้าม ดำเนินการตามกฎหมาย กับ ผู้ฝ่าฝืน ผู้มีอิทธิพล กลุ่มนายทุน อย่างเด็ดขาด ภายใต้การมีส่วนร่วม เลิกทำงานคนเดียว(พระเอก)เสียที มาหาภาคีร่วมทำงาน.....เปลี่ยนเป็น “ผู้กำกับ และ นักส่งเสริม”
สำมะโนปัญหา เวทีชาวบ้าน
แผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดิน จัดทำโดยชุมชน รับรองจากประชาคมหมู่บ้าน
สถานภาพทรัพยากรในอำเภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน อำเภอสบเมย
อำเภอสบเมย ข้อมูลเศรษฐกิจ-สังคม
ลุ่มน้ำแม่ลามาหลวง ลุ่มน้ำ แม่ลามาหลวง
ภาพถ่ายดาวเทียม Land sat ข้อมูลกายภาพ ทางน้ำ ป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง พื้นที่เกษตร
ภาพถ่ายจากดาวเทียม Land satบันทึกภาพ ปี ๒๕๔๖ ข้อมูลกายภาพ ขอบเขตลุ่มน้ำ พื้นที่ป่าสมบูรณ์ พื้นที่ไร่หมุนเวียน ที่ทำกินปัจจุบัน หมู่บ้านเป้าหมาย หมู่บ้าน ทางน้ำ
แผนที่ลุ่มน้ำชุมชน แผนที่ลุ่มน้ำชุมชน จัดทำโดย มีการตรวจสอบข้อมูลของพื้นที่ ร่วมกัน รัฐ กับ ชุมชน และ นำเสนอประชาคมของหมู่บ้าน เพื่อรับรอง และกำหนด กติกา กฎระเบียบของหมู่บ้าน เพื่อ อนุรักษ์ และใช้ประโยชน์จาก ทรัพยากรธรรมชาติ และ สิ่งแวดล้อม อย่างยั่งยืน
สทก ๑ สทก. ๑ ป่า ไร่หมุนเวียน ไร่ถาวร ป่าอนุรักษ์ หมู่บ้าน นา ป่าใช้สอย ป่าช้า ลุ่มน้ำชุมชน