1 / 32

ปํญหา โรคเลือดในผู้สูงอายุ

ปํญหา โรคเลือดในผู้สูงอายุ. รศ. ดร. ธนูศักดิ์ ตาตุ แขนงวิชาจุล ทรรศน ศาสตร์คลินิก ภาควิชาเทคนิคการแพทย์ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ระบบเลือดในมนุษย์. ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ส่วนสร้าง Yolk sac , ตับ & ม้าม และ ไขกระดูก ส่วนทำงาน หลอดเลือด เม็ดเลือด น้ำเลือด

mariko
Download Presentation

ปํญหา โรคเลือดในผู้สูงอายุ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ปํญหาโรคเลือดในผู้สูงอายุปํญหาโรคเลือดในผู้สูงอายุ รศ. ดร. ธนูศักดิ์ ตาตุ แขนงวิชาจุลทรรศนศาสตร์คลินิก ภาควิชาเทคนิคการแพทย์ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

  2. ระบบเลือดในมนุษย์ ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก • ส่วนสร้าง • Yolk sac , ตับ & ม้าม และ ไขกระดูก • ส่วนทำงาน • หลอดเลือด • เม็ดเลือด • น้ำเลือด • ส่วนทำลาย • ม้าม http://3.bp.blogspot.com/_w2nsVR0w-bo/S72p1og1NDI/AAAAAAAAAHA/DFrGNdblLfU/s1600/anatomy.jpg อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54

  3. ไขกระดูก (Bone marrow) • อยู่ภายในกระดูก • ประกอบด้วยเซลล์ไขมัน และเซลล์เม็ดเลือด เป็นหลัก http://images.paraorkut.com/img/health/images/b/bone_marrow-655.gif http://labmed.yale.edu/Images/cs3_bonemarrowbiopsy_tcm45-1608.jpg อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54

  4. หลอดเลือด (blood vessels) • ทำหน้าที่เป็นช่องทางเดินของเม็ดเลือดและน้ำเลือดไปทั่วร่างกาย • มี 2 ชนิดหลักๆคือ หลอดเลือดดำ (Vein) และ หลอดเลือดแดง (Artery) • ผนังหลอดเลือดหนาบางไม่เท่ากันขึ้นกับชนิดหรือระยะห่างจากหัวใจ http://faculty.weber.edu/nokazaki/Human_Biology/Chp%208-heart_files/image001.jpg อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54

  5. เม็ดเลือด (Blood cells) • ประกอบด้วย เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว และ เกล็ดเลือด • เดินทางไปทั่วร่างกายภายในหลอดเลือด http://2.bp.blogspot.com/_xiYlrh2o0uk/TKwSZXr2t4I/AAAAAAAAABI/kko5khno9qA/s1600/Blood+cells.jpg อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54

  6. เม็ดเลือดแดง (Red blood cells, erythrocytes) • มีจำนวนมากที่สุด (5-6 ล้าน/ลบ.มม.) • มีฮีโมโกลบิน เป็นส่วนประกอบหลัก • สร้างจากไขกระดูก • ทำหน้าที่หลักในการขนส่งกาซออกซิเจนจากปอดสู่เนื้อเยื่อและนำกาซคาร์บอนไดออกไซด์จากเนื้อเยื่อสู่ปอด http://image.dek-d.com/23/1030766/105298681 อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54

  7. เม็ดเลือดขาว (White blood cells, leukocytes) • มีหลายหน้าที่ในร่างกาย สร้างจากไขกระดูก • ปกติมี 5,000-10,000เซลล์/ลบ.มม. • ปกติมี 5ชนิดคือ • นิวโทรฟิล (Neutrophil) • ลิมโฟไซท์ (Lymphocyte) • โมโนไซท์ (Monocyte) • อีโอสิโนฟิล(Eosinophil) • เบโซฟิล(Basophil) http://www.student.chula.ac.th/~53370262/image/stock-photo-white-blood-cells-19777435.jpg อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54

  8. เกล็ดเลือด (Platelets) • เป็นเศษของไซโตพลาสมของเซลล์ต้นกำเนิด • ปกติมี 140,000-400,00/ลบ. มม. • สร้างจากไขกระดูก • มีหน้าที่เกี่ยวกับการห้ามเลือด http://cdn.gotoknow.org/assets/media/files/000/212/357/original_16.08.08.33.jpg?1286122888 อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54

  9. น้ำเลือด (Plasma) • มีสารละลายต่างๆที่จำเป็นต่อร่างกาย เช่นสารอาหาร เกลือแร่ ฮอร์โมน • มีโปรตีนที่จำเป็นต่อกระบวนการห้ามเลือดของร่างกาย • ระบบแข็งตัวของเลือด • ระบบสลายลิ่มเลือด http://cdn.gotoknow.org/assets/media/files/000/417/378/original_b.jpg?1285767765 อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54

  10. ระบบห้ามเลือด อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54 http://irvingcrowley.com/cls/clotting.gif

  11. การสร้างเลือด • สร้างในไขกระดูก ในตำแหน่งแตกต่างกันไปตามช่วงอายุ http://media.photobucket.com/image/site+of+hematopoiesis+/mccabej3/RBCS/HematopoiesisTimeline.jpg อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54

  12. ผู้สูงอายุ (Elderly) ผู้ที่มีอายุ 60ปี ขึ้นไป อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54

  13. Sutthichai Titapunkul and Srichitra Bunnag, Ageing in Thailand 1997 Thai Society of Gerontology and Geriatric Medicine, Bangkok, Thailand 1998 อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54

  14. การเปลี่ยนแปลงของระบบเลือดเมื่ออายุมาก (สุขภาพปกติ) • ไขกระดูก : เซลล์ลดลง เซลล์ไขมันเพิ่มขึ้น • ฮีโมโกลบิน : ต่ำลงเล็กน้อย (<13 g/dl ในผู้ชาย และ < 12 g/dl ในผู้หญิง) • เม็ดเลือดขาว : ไม่เปลี่ยนแปลงจากวัยหนุ่ม รวมทั้งเม็ดเลือดขาวแต่ละชนิด • นิวโตรฟิล: ระดับ superoxideต่ำลง • ลิมโฟซัย: ความสามารถในการทำงานลดลง โดยเฉพาะมีระดับ CD4ลดลง • เกล็ดเลือด : ปริมาณไม่เปลี่ยนแปลงเมื่ออายุมาก แต่หน้าที่เปลี่ยนแปลงเล็กน้อย • หลอดเลือด : ผนังหนาขึ้น ขาดความยืดหยุ่น ผนังด้านในขรุขระขึ้น มีไขมันและแคลเซียมเกาะง่ายขึ้น • กลไกการแข็งตัวของเลือด : ระดับ fibrinogen, Factors V, VIII, IX เพิ่มขึ้น อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54

  15. โรคเลือดที่สำคัญในผู้สูงอายุโรคเลือดที่สำคัญในผู้สูงอายุ • โลหิตจาง (Anemia) • โรคมะเร็งเม็ดเลือด (Leukemia) • หลอดเลือดอุดตัน (Thrombosis) • โรคเลือดออก (Senile purpura) อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54

  16. โรคโลหิตจาง • สาเหตุสำคัญในผู้สูงอายุคือ • การขาดธาตุเหล็ก (Iron deficiency anemia) • การเป็นโรคเรื้อรัง (Anemia of chronic diseases) • การขาดโฟเลทและวิตามินบี 12 (Folate and vitamin B12 deficiencies • ไขกระดูกทำงานบกพร่อง (Myelodysplastic syndrome; MDS) อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54

  17. โลหิตจางเนื่องจากการขาดธาตุเหล็กโลหิตจางเนื่องจากการขาดธาตุเหล็ก • พบบ่อยที่สุด • สาเหตุ : ไม่มีจะกิน กินไม่ถูกสุขลักษณะ การดูดซึมผิดปกติ มีเลือดออกเรื้อรังที่ทางเดินอาหาร ตัดลำไส้เล็กส่วนต้น • ลักษณะที่พบ : ซีด, ลิ้นเลี่ยน, แผลมุมปาก, เล็บงอเป็นช้อน • การรักษา : รักษาความผิดปกติอื่นร่วมกับให้ธาตุเหล็ก • อาหารที่มีธาตูเหล็กสูง : ตับ ผักสีเขียวเข้ม เนื้อ เครื่องใน สัตว์น้ำมีเปลือก • หลีกเลี่ยง : ชา กาแฟ ยาลดกรด ยาแคลเซียม อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54

  18. http://www.student.chula.ac.th/~50370711/images/p6.jpg อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54

  19. โลหิตจางในโรคเรื้อรังโลหิตจางในโรคเรื้อรัง • พบบ่อยรองลงมา • พบร่วมกับโรคเรื้อรังเช่น การอักเสบเช่นโรค rheumatoid arthritis, การติดเชื้อเช่น วัณโรค, โรคมะเร็ง, โรคตับ และโรคไต • ร่างกายไม่ขาดเหล็ก แต่ธาตุเหล็กไม่ถูกปล่อยจากแหล่งเก็บ • ลักษณะอาการ : คล้ายการขาดธาตุเหล็ก แต่รุนแรงน้อยกว่า • แยกจากการขาดธาตุเหล็ก : ดูจากข้อมูลการเจ็บป่วยร่วมกับผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ • การรักษา : รักษาโรคอื่นที่เป็นอยู่ให้หาย อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54

  20. โลหิตจางจากโรคเรื้อรังโลหิตจางจากโรคเรื้อรัง อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54

  21. Megaloblastic Anemia • เกิดจากการขาดโฟเลท หรือขาดวิตามินบี 12 • โฟเลทพบมาในผักมีใบ วิตามินบี 12พบมากในเนื้อสัตว์ • ผู้สูงอายุที่เป็นมังสวิรัติ, ตัดบางส่วนของกระเพาะอาหารและลำใส้เล็กส่วนปลาย มีโอกาสขาดวิตามินบี 12 • อาการ : ซีด และมีเม็ดเลือดแดงขนาดใหญ่ และนิวโตรฟิลมีหลายโลบ • อาการคล้ายกัน แต่ขาดวิตามินบี 12มีอาการทางระบบประสาทร่วม (ชา เจ็บแปล็บที่แขนขา สับสน) • รักษา : ให้ยากรดโฟเลท หรือ วิตามินบี 12 • อาหาร : ตับ ไต มีวิตามินบี12มากที่สุด • อาหาร : ตับ หน่อไม้ฝรั่ง ผักเขียวเข้ม เมล็ดธัญญพืช (ผักต้องกินสด) อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54

  22. เม็ดเลือดของ megaloblastic anemia http://nonada0.tripod.com/MEGdis.html อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54

  23. ไขกระดูกทำงานบกพร่อง (MDS) • เป็นภาวะที่ไขกระดูกทำงานผิดปกติ • พบบ่อยในผู้สูงอายุ (อายุช่วง 60-70ปี) • มีอาการซีด เหนื่อย รู้สึกหนาว ติดเชื้อง่ายและเลือดออกง่าย • เม็ดเลือดทุกชนิดต่ำลง (pancytopenia) • สาเหตุ : 50%เกิดจากสารเคมี รังสีรักษา เบนซีน อีก 50%ไม่ทราบสาเหตุ • อาจจะเปลี่ยนไปเป็นมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลัน (AML) • การรักษา : เติมเลือด และ ใช้ยาเคมีบำบัด อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54

  24. เม็ดเลือดใน MDS http://clinicalflow.com/Cases/Case_List/Myelodysplastic_Syndromes_(MDS) อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54

  25. โรคมะเร็งเม็ดเลือด • มี 2ชนิดคือ acute myelogenous leukemia (AML) และ chronic lymphocytic leukemia (CLL) • มีอาการ ซีด เลือดง่าย ติดเชื้อง่าย • อาจจะเสียชีวิตจากการติดเชื้อ • การรักษา : เคมีบำบัด http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/5/58/B-cell_chronic_lymphocytic_leukemia_(B-CLL).jpg อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54

  26. โรคหลอดเลือดอุดตัน • คือภาวะที่มีการสร้างก้อนเลือดอุดตันหลอดเลือด ขวางการไหลของกระแสเลือด • ถ้าเกิดกับเส้นเลือดดำ เรียกว่า venous thrombosis ซึ่งพบบ่อยในผู้สูงอายุ ถ้าอยู่ลึกเรียกว่า deep vein thrombosis (DVT) • เกิดจาก 3ปัจจัยคือ เกิดการเปลี่ยนแปลงของผนังหลอดเลือด, เลือดไหลช้าลง และ ปริมาณโปรตีนที่เกี่ยวข้องกับระบบห้ามเลือดเปลี่ยนแปลง • การอยู่นิ่งเป็นเวลานาน เป็นสาเหตุหลักในผู้สูงอายุ http://4.bp.blogspot.com/_70HgxsVpUTo/SDSXlT-QsKI/AAAAAAAAANI/vA56_Zty2K4/s400/DVT_normal_and_embolus.gif อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54

  27. DVT http://lifeinthefastlane.com/wp-content/uploads/2009/12/image_16.jpg http://www.virchicago.com/deep-vein-thrombosis.htm อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54

  28. DVT & Stroke http://www.healthcentral.com/common/images/9/9953_3650_5.jpg http://www.womenshealth.gov/publications/our-publications/fact-sheet/images/stroke.jpg อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54

  29. การรักษาและป้องกัน DVT • การรักษา • ยาสลายลิ่มเลือด • ยาป้องกันการแข็งตัวของเลือด • การป้องกัน • ออกกำลัง • ไม่อยู่นิ่งนานๆ ขยับตัวบ่อยๆ http://cdn.gotoknow.org/assets/media/files/000/124/347/original_DSC_0002.JPG?1285867637 http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/969/10969/images/DSC07767.jpg10.jpg อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54

  30. Senile purpura • เกิดจากเส้นเลือดเปราะเนื่องจากเนื้อเยื่อ (collagen) เสื่อม • เกิดเป็นปื้นเลือดบริเวณหลังมือ หรือ ท้องแขน • ต้องระวังเกี่ยวกับเลือดออกในสมอง • ไม่ควรให้ท้องผูก http://www.sciencephoto.com/image/138709/530wm/C0075751-Senile_Purpura-SPL.jpg http://dermimages.med.jhmi.edu/images/senile_purpura_1_050808.jpg http://accessmedicine.ca/loadBinary.aspx?name=licha&filename=licha_XI.034t.jpg อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54

  31. สวัสดี........สตินำชีวิต พิชิตวิบากกรม........

  32. เอกสารอ้างอิง • Rosendaal FR, et al. Venous thrombosis in the elderly. J ThromboHemosta 2007; 5 (suppl 1): 310-7. • Walsh JR. Hematologic disorders in the elderly. Western J Med 1981; 135(6): 446-54. • Lee JH. Anemia in elderly Koreans. Yonsei Med J 2011; 52(6): 909-13. • Young NS, gerson SL and High KA. Clinical Hematology. Philadelphia; Mosby Elsevier, 2006. • Beutler E, Lichtman MA, Coller BS, Kipps TJ and Seligsohn U. Williams Hematology (6th edition). Toronto; McGraw-Hill, 2001. อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54

More Related