510 likes | 1.09k Views
การลงโทษผู้ทิ้งงาน. หลักเกณฑ์การลงโทษผู้ทิ้งงาน. 1.ผู้ได้รับคัดเลือกไม่มาทำสัญญา 2.คู่สัญญา/ผู้รับจ้างช่วงไม่ปฏิบัติตามสัญญา 3.คู่สัญญาไม่แก้ไขความชำรุดบกพร่องหรือ พัสดุตามสัญญา/วัสดุที่ใช้ไม่ได้มาตรฐาน/ ไม่ครบถ้วน ทำให้งานเสียหายอย่างร้ายแรง. หลักเกณฑ์การลงโทษผู้ทิ้งงาน (ต่อ).
E N D
หลักเกณฑ์การลงโทษผู้ทิ้งงานหลักเกณฑ์การลงโทษผู้ทิ้งงาน 1.ผู้ได้รับคัดเลือกไม่มาทำสัญญา 2.คู่สัญญา/ผู้รับจ้างช่วงไม่ปฏิบัติตามสัญญา 3.คู่สัญญาไม่แก้ไขความชำรุดบกพร่องหรือ พัสดุตามสัญญา/วัสดุที่ใช้ไม่ได้มาตรฐาน/ ไม่ครบถ้วน ทำให้งานเสียหายอย่างร้ายแรง
หลักเกณฑ์การลงโทษผู้ทิ้งงาน (ต่อ) 4.งานก่อสร้างสาธารณูปโภค ใช้ของที่มีข้อบกพร่อง/ ไม่ได้มาตรฐาน/ไม่ครบถ้วน 5.ที่ปรึกษาที่มีผลงานบกพร่อง/ผิดพลาด/ก่อให้เกิด ความเสียหายอย่างร้ายแรง 6.ผู้กระทำการขัดขวางการแข่งขันราคา/กระทำการโดยไม่สุจริตในการเสนอราคา
การพิจารณาผู้ทิ้งงานทั่วไปตามข้อ 1-5 1. หัวหน้าส่วนราชการรายงานเสนอปลัดกระทรวงพร้อมความเห็นโดยเร็ว 2. ปลัดกระทรวงพิจารณาเห็นว่าไม่มีเหตุผลอันสมควรส่งชื่อให้ผู้รักษาการสั่งให้เป็นผู้ทิ้งงาน 3. กวพ. เสนอความเห็นว่าสมควรเป็นผู้ทิ้งงาน 4. ผู้รักษาการพิจารณาสั่งเป็นผู้ทิ้งงาน 5. ผู้รักษาการระบุชื่อผู้ทิ้งงานในบัญชีรายชื่อผู้ทิ้งงาน 6. ผู้รักษาการแจ้งเวียนชื่อให้ส่วนราชการอื่นทราบ/แจ้งผู้ทิ้งงานทางไปรษณีย์ลงทะเบียน
การขัดขวางการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรมการขัดขวางการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรม • ผู้เสนอราคา ผู้เสนองาน กระทำการอย่างใด ๆ อันเป็นการขัดขวาง หรือเป็นอุปสรรค หรือ ไม่เปิดโอกาสให้มีการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรม
การพิจารณาผู้ทิ้งงานตามข้อ 6(ผู้กระทำการขัดขวางการแข่งขันราคาหรือ กระทำการโดยไม่สุจริตในการเสนอราคา) 1.ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องตรวจสอบข้อเท็จจริงว่าบุคคล ดังกล่าว สมควรเป็นผู้ทิ้งงาน หรือไม่ 2.แจ้งเหตุที่สงสัยไปให้ผู้เสนอราคา/เสนองานที่ถูกสงสัยทราบ ชี้แจงภายในเวลาที่กำหนดไม่น้อยกว่า 15 วัน 3.ดำเนินการต่อไปตามหลักเกณฑ์การพิจารณาผู้ทิ้งงานทั่วไป
ผลการลงโทษผู้ทิ้งงาน 1. ลงโทษนิติบุคคล ถ้าการกระทำเกิดจากผู้บริหาร ลงโทษผู้บริหารด้วย 2. การสั่งลงโทษนิติบุคคล มีผลถึงนิติบุคคลอื่นที่ดำเนินธุรกิจประเภทเดียวกัน ซึ่งมีผู้บริหารคนเดียวกันด้วย 3. การสั่งลงโทษบุคคลธรรมดา มีผลถึงนิติบุคคลที่บุคคลดังกล่าวเป็นผู้บริหารด้วย หมายเหตุผู้บริหาร – หุ้นส่วนผู้จัดการ/กรรมการผู้จัดการ/ผู้บริหาร/ผู้มีอำนาจดำเนินกิจการของนิติบุคคลนั้นๆ
การอุทธรณ์การลงโทษ 1. ยื่นอุทธรณ์เป็นหนังสือต่อผู้รักษาการตามระเบียบภายใน 15 วัน นับแต่วันรับแจ้งการลงโทษ 2. ชี้แจงข้อเท็จจริง (ถ้ามี) 3. การพิจารณาอุทธรณ์ตามพ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.2539 4. คำสั่งยกอุทธรณ์มาตรา 45 วรรคสองและวรรคสามประกอบกฎกระทรวงฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2540) ข้อ 2 (5) 5. ฟ้องต่อศาลปกครองภายใน 90 วัน ตามมาตรา 49 พ.ร.บ.จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครองพ.ศ.2542
การขอเพิกถอนการเป็นผู้ทิ้งงานการขอเพิกถอนการเป็นผู้ทิ้งงาน 1. ได้ถูกลงโทษมาแล้วเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 2 ปี 2. มิได้กระทำไปด้วยเจตนาทุจริตหรือเป็นการเอาเปรียบทางราชการ 3. เป็นนิติบุคคลที่มีฐานะมั่นคงและมีเกียรติประวัติดีมาก่อน 4. ยอมรับและรู้สำนึกความผิดในการกระทำของตน (หนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ด่วนมาก ที่ น.ว.105/2504 ลว. 18 ต.ค.2504)
เอกสารประกอบการขอเพิกถอน(บุคคลธรรมดา)เอกสารประกอบการขอเพิกถอน(บุคคลธรรมดา) • สำเนาใบทะเบียนพาณิชย์ (ถ้ามี) • สำเนาการเสียภาษีย้อนหลัง 3 ปี • สำเนาใบแจ้งยอดบัญชีธนาคารย้อนหลังไม่น้อยกว่า 1 ปี • สำเนาหลักฐานการทำงานกับภาคเอกชน (ถ้ามี) • สำเนาใบรับรองผลงาน
เอกสารประกอบการขอเพิกถอน (นิติบุคคล) • สำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล • สำเนาการเสียภาษีย้อนหลัง 3 ปี • สำเนารายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตย้อนหลัง 3 ปี • สำเนาหลักฐานการทำงานกับภาคเอกชน (ถ้ามี) • สำเนาใบรับรองผลงาน
แบบแสดงรายละเอียดการทำ (ทง.1-3) • การแจ้งรายละเอียดและส่งเอกสารหลักฐานประกอบในการพิจารณาผู้ทิ้งงาน • แจ้งตามหนังสือสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ นร 1305/ว 4739 ลว. 30 พ.ค. 43 • รายละเอียดอยู่ในเอกสารแนบประกอบคำบรรยาย
วิธีปฏิบัติในการเปิดโอกาสให้ชี้แจงเหตุผลวิธีปฏิบัติในการเปิดโอกาสให้ชี้แจงเหตุผล • การเปิดโอกาสให้ผู้ที่จะถูกลงโทษเป็นผู้ทิ้งงาน(นิติบุคคล บุคคลธรรมดาและผู้บริหาร ได้ชี้แจงก่อนถูกลงโทษ ให้ส่งหนังสือให้ชี้แจงไม่น้อยกว่า 15 วัน • แจ้งตามหนังสือสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ นร (กวพ) 1305/ว 9696 ลว. 21 ต.ค. 42 • รายละเอียดอยู่ในเอกสารแนบประกอบคำบรรยาย
เหตุที่จะไม่ถูกลงโทษให้เป็นผู้ทิ้งงานตามมติ ครม.ว113 • ข้อ 1.2 • ต้องเป็นสัญญาที่ถูกบอกเลิกหลัง 1 ตุลาคม 2550 - 17 มิถุนายน 2551 • ต้องได้รับผลกระทบจากวิกฤติราคาน้ำมัน เหล็ก วัสดุก่อสร้าง • ต้องเป็นงานก่อสร้าง
ข้อ 3 มี 2 เงื่อนไข ดังนี้ • เงื่อนไขที่ 1 • เสนอราคามาก่อนจนถึงวันที่ ครม. มีมติ (17 มิถุนายน 2551) และอยู่ระหว่างรอการลงนามในสัญญา • ผู้เสนอราคาไม่ประสงค์ลงนามในสัญญาหรือข้อตกลง • ต้องมีคำขอภายใน 60 วัน • ให้ถอนการเสนอราคาโดยไม่ถือว่าเป็นผู้ทิ้งงาน • ต้องเป็นงานก่อสร้าง • ให้คืนหลักประกันซอง
ข้อ 3 มี 2 เงื่อนไข ดังนี้(ต่อ) • เงื่อนไขที่ 2 • ลงนามในสัญญาก่อนวันที่ 17 มิถุนายน 2551 • ยังไม่ได้ทำงานหรือยังไม่ได้ส่งงานงวดแรก • ต้องมีคำขอภายใน 60 วัน (วันที่ 18 สิงหาคม 2551) • ให้ยกเลิกสัญญาได้โดยไม่ถือว่าเป็นผู้ทิ้งงาน • ให้คืนหลักประกันสัญญา
พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 • มาตรา 3 วิธีปฏิบัติราชการทางปกครองตาม กม.ต่างๆ ให้เป็นไปตามที่กำหนดในพ.ร.บ.นี้ เว้นแต่ในกรณีที่กม.ใดกำหนดวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองเรื่องใดไว้โดยเฉพาะและมีหลักเกณฑ์ที่ประกันความเป็นธรรมหรือมีมาตรฐานในการปฏิบัติราชการไม่ต่ำกว่าหลักเกณฑ์ที่กำหนดใน พ.ร.บ. นี้ • ความในวรรคหนึ่ง มิให้ใช้บังคับกับขั้นตอนและระยะเวลาอุทธรณ์หรือโต้แย้งที่กำหนดในกฎหมาย
พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 • มาตรา 30 วรรคหนึ่ง • ในกรณีที่คำสั่งทางปกครองอาจกระทบถึงสิทธิของคู่กรณี เจ้าหน้าที่ต้องให้คู่กรณีมีโอกาสที่จะได้ทราบข้อเท็จจริงอย่างเพียงพอและมีโอกาสได้โต้แย้งและแสดงพยานหลักฐานของตน
พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 • กฎกระทรวงฉบับที่ 12 (พ.ศ.2543) • ให้การดำเนินการของเจ้าหน้าที่ดังต่อไปนี้เป็นคำสั่งทางปกครอง • 1. การดำเนินการเกี่ยวกับการจัดหา หรือให้สิทธิประโยชน์ในกรณี(1) การสั่งรับ หรือไม่รับคำเสนอขาย รับจ้าง แลกเปลี่ยน เช่า ขาย ให้เช่า หรือให้สิทธิประโยชน์ • (2) การอนุมัติสั่งซื้อ จ้าง แลกเปลี่ยน เช่า ขาย ให้เช่า หรือให้สิทธิประโยชน์ • (3) การสั่งยกเลิกกระบวนการพิจารณาคำเสนอหรือการดำเนินการอื่นในลักษณะเดียวกัน • (4) การสั่งให้เป็นผู้ทิ้งงาน • 2. การให้หรือไม่ให้ทุนการศึกษา