570 likes | 1.07k Views
พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535. ผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน (ม.11(1)). บันทึก/ส่งข้อมูลการใช้พลังงานและการอนุรักษ์พลังงาน (ม.11(2),(3)). มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 3 เม.ย. 2535. พระราชกฤษฎีกากำหนดอาคารควบคุม. ส่งรายงานเป้าหมายและแผน (ม.11(4)). มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 12 ธ.ค. 2538.
E N D
พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 ผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน (ม.11(1)) บันทึก/ส่งข้อมูลการใช้พลังงานและการอนุรักษ์พลังงาน (ม.11(2),(3)) มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 3 เม.ย. 2535 พระราชกฤษฎีกากำหนดอาคารควบคุม ส่งรายงานเป้าหมายและแผน (ม.11(4)) มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 12 ธ.ค. 2538 วิเคราะห์การปฏิบัติตามเป้าหมายและแผนฯ (ม.11(5)) พระราชกฤษฎีกากำหนดโรงงานควบคุม มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 17 ก.ค. 2540 กฎกระทรวง ส่งข้อมูล/บันทึกข้อมูล (อาคาร/โรงงาน) มาตรฐานการ อนุรักษ์พลังงานในโรงงาน กำหนดเป้าหมายและแผน อนุรักษ์พลังงาน (อาคาร/โรงงาน) มาตรฐานการ อนุรักษ์พลังงานในอาคาร (บพอ.1/บพร.1) - ส่งข้อมูลทุก 6 เดือน - บันทึกข้อมูล - ส่งเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงาน นำผลมารายงานใน บพอ.1/บพร.1 - ตรวจสอบและวิเคราะห์การปฏิบัติ ตามเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงาน ยังไม่มีการประกาศใช้ เจ้าของอาคารควบคุมและโรงงานควบคุม ดำเนินการอนุรักษ์พลังงานให้เป็นไปตามมาตรฐาน โครงสร้างกฎหมาย
พรบ.การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 • มุ่งเน้นการกำกับดูแลเพื่อให้เกิดการอนุรักษ์พลังงาน โดยการตรวจสอบและวิเคราะห์การใช้พลังงาน และเปลี่ยนอุปกรณ์ให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด • กำหนดให้มีบุคลากรรับผิดชอบ / ดูแลการใช้พลังงานและอนุรักษ์พลังงาน • บันทึกและส่งข้อมูลการใช้พลังงานและการอนุรักษ์พลังงาน ให้ พพ. ทุก 6 เดือน • ส่งรายงานเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงาน ทุกๆ 3 ปี • ตรวจสอบ วิเคราะห์การปฏิบัติตามเป้าหมายและแผนฯ (ติดตามประเมินผล)
พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานพระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พระราชบัญญัติ การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 • ประกาศในราชกิจจานุเบกษาในวันที่ 4 ธันวาคม 2550 • มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2551
การเปลี่ยนแปลงของกฎหมายอนุรักษ์พลังงานการเปลี่ยนแปลงของกฎหมายอนุรักษ์พลังงาน กฎหมายเดิม กฎหมายใหม่ หน้าที่ของเจ้าของอาคาร / โรงงานควบคุม หน้าที่ของเจ้าของอาคาร / โรงงานควบคุม 1. จัดให้มีผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน (ผชอ. / ผชร.) คุณสมบัติ / หน้าที่ ผชอ., ผชร. 2. การบันทึก การส่งข้อมูลการใช้พลังงาน และการอนุรักษ์พลังงาน (บพอ.1, 2 / บพร.1, 2) 3. การกำหนดเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงาน 4. การตรวจสอบ วิเคราะห์การปฏิบัติตามเป้าหมาย และแผนฯ • เหมือนเดิม • ไม่กำหนดรายละเอียดในกฎหมาย แต่ให้ออก • เป็นกฎกระทรวง • คุณสมบัติ / จำนวน ผชอ., ผชร. แยกตาม • ขนาดการใช้พลังงาน • - ไม่กำหนดไว้ในกฎหมาย แต่กำหนดให้ • เป็นส่วนหนึ่งของระบบการจัด การพลังงานที่ออกเป็นกฎกระทรวง
การเปลี่ยนแปลงของกฎหมายอนุรักษ์พลังงาน (ต่อ) กฎกระทรวงเดิม กฎกระทรวงใหม่ 1. การส่งข้อมูล / บันทึกการใช้พลังงานและอนุรักษ์พลังงาน 2. การกำหนดเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงานและการตรวจสอบปฏิบัติตามเป้าหมายและแผนฯ 3. มาตรฐานการอนุรักษ์พลังงานในอาคารควบคุม 4. ไม่มี • ยกเลิก • ปรับปรุงให้ง่ายต่อการปฏิบัติ • เป็นส่วนหนึ่งในกฎกระทรวงการจัดการพลังงาน • ยกเลิก • ปรับปรุงให้ง่ายต่อการปฏิบัติ • เป็นส่วนหนึ่งในกฎกระทรวงการจัดการพลังงาน • ยกเลิก • ปรับปรุงมาตรฐานใหม่ โดยจะบังคับใช้กับ • อาคารที่จะก่อสร้างใหม่หรือดัดแปลง ที่มีขนาด • พื้นทีรวมทุกชั้นในหลังเดียวกัน ตั้งแต่ 2,000 • ตารางเมตรขึ้นไป • - การจัดการพลังงาน
โครงสร้างกฎหมายใหม่ การจัดการพลังงาน (ม.9(1)) ผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน (ม.9(2)) พระราชบัญญัติ การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 พระราชบัญญัติ การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 มาตรฐานการออกแบบอาคาร กำหนดมาตรฐานด้านประสิทธิภาพ (ขั้นต่ำ/สูง) มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 3 เม.ย. 2535 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 1 มิ.ย. 2551 ผู้ตรวจสอบพลังงาน พระราชกฤษฎีกากำหนดอาคารควบคุม มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 12 ธ.ค. 2538 พระราชกฤษฎีกากำหนดโรงงานควบคุม มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 17 ก.ค. 2540 กฎกระทรวง มาตรฐานการออกแบบอาคาร มาตรฐานการจัดการพลังงาน คุณสมบัติผู้รับผิดชอบพลังงาน คุณสมบัติผู้ตรวจสอบพลังงาน มาตรฐานด้านประสิทธิภาพการใช้พลังงานในเครื่องจักร อุปกรณ์ กำหนดวัสดุเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน
ร่างกฎกระทรวง ร่างกฎกระทรวง กำหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดการพลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม พ.ศ.2551
ขั้นตอนระบบการจัดการพลังงานขั้นตอนระบบการจัดการพลังงาน 1. การกำหนดโครงสร้างการจัดการพลังงาน 2. การประเมินสถานะเบื้องต้น 3. การกำหนดนโยบายและการประชาสัมพันธ์ 8. การทบทวนผลการดำเนินการ 4. การประเมินศักยภาพทางเทคนิค 5. การกำหนดมาตรการเป้าหมายและ คำนวณผลตอบแทนทางการเงิน 7. การดำเนินการตามแผน 6. การจัดทำแผนปฏิบัติงาน
ข้อกำหนด • คณะทำงานด้านการจัดการพลังงาน - กำหนดโครงสร้าง อำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบ • อำนาจหน้าที่ • ดำเนินการจัดการพลังงานให้สอดคล้องกับนโยบายและวิธีการจัดการพลังงาน • ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง, จัดฝึกอบรม กิจกรรมสร้างจิตสำนึก • ควบคุมดูแลการจัดการพลังงานให้เป็นไปตามนโยบาย
ข้อกำหนด • อำนาจหน้าที่ (ต่อ) • รายงานผลการอนุรักษ์และจัดการพลังงานตามนโยบายและวิธีการจัดการให้เจ้าของโรงงานควบคุมทราบ • เสนอแนะให้กำหนดหรือ ทบทวนนโยบายอนุรักษ์พลังงาน • สนับสนุนเจ้าของโรงงานควบคุมในการดำเนินการตามกฎกระทรวง
ข้อกำหนด เจ้าของอาคารควบคุมและโรงงานควบคุมต้องจัดให้มีการจัดการพลังงาน ดังต่อไปนี้ • จัดทำนโยบายอนุรักษ์พลังงาน • เป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินงาน • เหมาะสมกับลักษณะงานและปริมาณที่ใช้ • เจตจำนงปฏิบัติตามกฎหมาย • ปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงานอย่างต่อเนื่อง • จัดสรรทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อกำหนด • ประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน ร้อยละของปริมาณพลังงานที่ใช้เดิม กำหนดระดับการใช้พลังงานต่อหนึ่งหน่วยผลผลิต • กำหนดเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงาน แผนฝึกอบรมและกิจกรรมการส่งเสริมเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน
ข้อกำหนด • ควบคุมดูแลให้มีการดำเนินการตามแผนอนุรักษ์พลังงาน • - การตรวจสอบและวิเคราะห์การปฏิบัติตามเป้าหมายและ แผน • ตรวจติดตาม และประเมินการจัดการพลังงาน ทบทวน วิเคราะห์ และแก้ไขข้อบกพร่อง • - อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
ข้อกำหนด • จัดให้มีการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน • ส่งรายงานผลการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานภายในเดือนมีนาคมของทุกปี
ร่างกฎกระทรวง ร่างกฎกระทรวง กำหนดคุณสมบัติของผู้รับใบอนุญาต และ หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการขอรับใบอนุญาต การอนุญาตและการต่อใบอนุญาตตรวจสอบและ รับรองการจัดการพลังงานพลังงาน (Auditor)
หมวดที่ ๑ผู้มีสิทธิยื่นคำขอใบอนุญาต เป็นนิติบุคคลที่มีคุณสมบัติและต้องไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้ • เป็นนิติบุคคลที่จดทะเบียนในประเทศไทยซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อประกอบธุรกิจหรือให้บริการเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงานหรือการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมจากการใช้และการผลิตพลังงาน หรือ • สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาหรือ หน่วยงานรัฐ
หมวดที่ ๑ผู้มีสิทธิยื่นคำขอใบอนุญาต (ต่อ) เป็นนิติบุคคลที่มีคุณสมบัติและต้องไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้ (ข) มีบุคลากรตามที่กำหนดในข้อ ๔ และต้องไม่มีคุณสมบัติ (ค) ไม่อยู่ในระหว่างถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาต หรือ ไม่เคยถูกเพิกถอนใบอนุญาตเป็นผู้ตรวจสอบพลังงาน เว้นแต่การถูกเพิกถอนใบอนุญาตผ่านมาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี นับแต่วันที่ถูกเพิกถอนใบอนุญาต
หมวดที่ ๑ข้อ ๔หน้าที่ จำนวนและคุณสมบัติบุคลากร ผู้ชำนาญการอย่างน้อย 1 คน ผู้ช่วยผู้ชำนาญการอย่างน้อย 2 คน • การตรวจสอบและรับรองรายงาน ของผู้ชำนาญการและผู้ช่วยผู้ชำนาญการ • ไม่เป็นผู้ชำนาญการและผู้ช่วยผู้ชำนาญการให้กับผู้รับใบอนุญาตตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานรายอื่นในเวลาเดียวกัน • ไม่เป็นบุคลากรประจำองค์กรที่เข้าไปดำเนินการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน
คุณสมบัติ ปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์หรือ วิทยาศาสตร์หรือ ด้านพลังงาน ประสบการณ์ด้านอนุรักษ์พลังงานหรือการจัดการพลังงาน อย่างน้อย 5 ปี และผลงานด้านอนุรักษ์พลังงานอย่างน้อย 5 โครงการ ผ่านการอบรมหลักสูตรวิธีการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน หน้าที่ และคุณสมบัติ ของผู้ชำนาญการ 1. ควบคุมและรับผิดชอบการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน 2. จัดทำรายงานผลการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน หมายเหตุ ผู้ชำนาญการ สามารถตรวจสอบ และรับรองการจัดการพลังงานได้ ไม่เกิน 30 แห่ง ในแต่ละรอบ(1 ปี)
คุณสมบัติ ประสบการณ์ ด้านอนุรักษ์พลังงานหรือ การจัดการพลังงาน อย่างน้อย 3 ปี ปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์หรือ วิทยาศาสตร์หรือ ด้านพลังงาน หน้าที่ และคุณสมบัติผู้ช่วยผู้ชำนาญการ 1. ช่วยผู้ชำนาญการในการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน 2. ช่วยผู้ชำนาญการจัดทำรายงานผลการตรวจสอบและรับรอง การจัดการพลังงาน
ร่างกฎกระทรวง ร่างกฎกระทรวง กำหนด คุณสมบัติ หน้าที่ และจำนวนผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน (ผชร.)
1. คุณสมบัติผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน ผชร. สามัญ ต้องมีคุณสมบัติอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ (๑) ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง + มีประสบการณ์อย่างน้อย 3 ปี + มีผลงานด้านอนุรักษ์พลังงาน หรือ (๒) ปริญญาทางวิศวกรรมศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์ + มีผลงานด้านอนุรักษ์พลังงาน หรือผ่านฝึกอบรมด้านอนุรักษ์พลังงานหรือผ่านการฝึกอบรมที่คล้ายคลึงกันที่อธิบดีให้การเห็นชอบ
1. คุณสมบัติผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน (ต่อ) ผชร.อาวุโส ต้องมีคุณสมบัติอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ (๓) สำเร็จการฝึกอบรมด้านการอนุรักษ์พลังงานด้านอาวุโสหรือการฝึกอบรมที่มีวัตถุประสงค์คล้ายคลึงกัน หรือ (๔) สอบได้ตามเกณฑ์ที่กำหนดจากการฝึกอบรม “หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานอาวุโส” หรือ “การจัดสอบผู้รับผิดชอบพลังงาน” ที่จัดโดย พพ. ปัจจบันนี้ ผ่านการฝึกอบรมพร้อมกับสอบข้อเขียนและปฏิบัติ
2. หน้าที่ผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน • บำรุงรักษาและตรวจสอบประสิทธิภาพของเครื่องจักรและอุปกรณ์ที่ใช้พลังงานเป็นระยะๆ • ปรับปรุงวิธีการใช้พลังงานตามหลักการอนุรักษ์พลังงาน • ดำเนินการจัดการพลังงานตามกฎหมาย • ช่วยให้เจ้าของโรงงานควบคุมและเจ้าของอาคารควบคุมปฏิบัติตามคำสั่งอธิบดี
3. หน้าที่เจ้าของโรงงานควบคุม/อาคารควบคุม • แจ้งแต่งตั้งผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน ภายใน 180 วัน ผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน ***กรณีมีการเปลี่ยนแปลงผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน ให้แจ้งเปลี่ยนแปลงผู้รับผิดชอบฯ ภายใน 90 วัน
จำนวนผู้รับผิดชอบด้านพลังงานจำนวนผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน อย่างน้อย 1 คน (สามัญ) ไม่น้อยกว่า 2 คน (สามัญ 1 คน) (อาวุโส 1 คน)
แจ้งแต่งตั้งผู้รับผิดชอบด้านพลังงานแจ้งแต่งตั้งผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน ก่อน ที่กฎกระทรวงบังคับใช้ มีผู้รับผิดชอบด้านพลังงานแล้ว ผู้รับผิดชอบด้านพลังงานที่ปฏิบัติหน้าที่อยู่เดิม ผู้รับผิดชอบด้านพลังงานที่ปฏิบัติหน้าที่อยู่เดิม + แจ้งแต่งตั้งผู้รับผิดชอบฯ เพิ่มเติม ภายใน 2 ปี (อาวุโส) โดยผู้รับผิดชอบอย่างน้อยหนึ่งคนต้อง ผ่าน “หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานอาวุโส” หรือ “การจัดสอบผู้รับผิดชอบพลังงาน” ที่จัดโดย พพ. หม้อแปลง 3,530 kVA
แจ้งแต่งตั้งผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน (ต่อ) ก่อน ที่กฎกระทรวงบังคับใช้ ยังไม่มีผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน แจ้งแต่งตั้งผู้รับผิดชอบฯ อย่างน้อย 1 คน ภายใน 180 วัน หม้อแปลง < 3,530 kVA แจ้งแต่งตั้งผู้รับผิดชอบฯ อย่างน้อย 2 คน ภายใน 2 ปี โดยผู้รับผิดชอบอย่างน้อยหนึ่งคนต้อง ผ่าน “หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานอาวุโส” หรือ “การจัดสอบผู้รับผิดชอบพลังงาน” ที่จัดโดย พพ.
แจ้งแต่งตั้งผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน (ต่อ) หลัง ที่กฎกระทรวงบังคับใช้ แจ้งชื่อผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน ภายใน 180 วัน นับแต่เป็นโรงงานควบคุม หรือ แจ้งชื่อผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน ภายใน 2 ปี นับแต่วันที่กฎกระทรวงมีผลบังคับใช้
แจ้งเปลี่ยนแปลงผู้รับผิดชอบด้านพลังงานแจ้งเปลี่ยนแปลงผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน หลัง ที่กฎกระทรวงบังคับใช้ ให้แจ้งชื่อผู้รับผิดชอบด้านพลังงานซึ่งมีคุณสมบัติตามข้อ ๒ (๔) ที่พ้นหน้าที่และแจ้งชื่อผู้ทำหน้าที่ผู้รับผิดชอบด้านพลังงานแทนภายใน 2 ปี นับแต่วันที่กฎกระทรวงมีผลบังคับใช้ หรือ ภายใน 90 วัน นับจากผู้รับผิดชอบด้านพลังงานพ้นหน้าที่ แล้วแต่ระยะเวลาใดจะมากกว่ากัน (๔) สอบได้ตามเกณฑ์ที่กำหนดจากการฝึกอบรม “หลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานอาวุโส”หรือ “การจัดสอบผู้รับผิดชอบพลังงาน” ที่จัดโดย พพ.
ขั้นตอนการดำเนินการตาม พรบ. ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2550 เจ้าของโรงงานควบคุม กฎกระทรวง กำหนดผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน ผชร. กฎกระทรวง มาตรฐาน หลักเกณฑ์และวิธีการจัดการพลังงาน การจัดการพลังงาน กฎกระทรวง กำหนดคุณสมบัติ ผู้ตรวจสอบ ตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน ผู้ตรวจสอบพลังงาน ส่งรายงานการจัดการพลังงานภายใน มี.ค. ของทุกปี พพ. แจ้งผล
แนวทางการจัดการพลังงานแนวทางการจัดการพลังงาน 1. โรงงาน/อาคารควบคุมต้องจัดให้มีคณะทำงานด้านการจัดการพลังงานรวมทั้งกำหนดโครงสร้างอำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบ 2. ต้องประเมินสถานการณ์การจัดการพลังงานเบื้องต้น 3. ต้องกำหนดนโยบายอนุรักษ์พลังงานและประชาสัมพันธ์ 8. ทบทวน วิเคราะห์ และแก้ไข ข้อบกพร่องของระบบการจัดการพลังงาน 4. ต้องจัดให้มีการประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 7. ต้องจัดให้มีการตรวจติดตาม และประเมินผลระบบการจัดการพลังงาน 5. ต้องจัดให้มีการกำหนดเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงาน 6. ให้มีการตรวจสอบและวิเคราะห์การปฏิบัติตามเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงาน
กรณีไม่ได้ดำเนินการตามกฎหมายที่กำหนดกรณีไม่ได้ดำเนินการตามกฎหมายที่กำหนด พพ. แจ้งเตือน โรงงาน/อาคารควบคุม ที่มีหน้าที่ปฏิบัติ เมื่อพ้นกำหนด 3 ปี ไม่จัดการพลังงานตามกฎกระทรวง เพิกเฉย ไม่ดำเนินการตาม พรบ. เรียกเก็บค่าธรรมเนียมพิเศษ บทลงโทษทางอาญา (ปรับ)
กฏกระทรวงกำหนดประเภทหรือขนาดอาคาร มาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน พรบ. การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ 3535 ม. 19 ให้รมว. พน. ออกกฏกระทรวงออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ม.20 ถ้าคณะกรรมการควบคุมอาคารเห็นชอบให้นำ กฎกระทรวงตามม. 19 ของ พรบ. อนุรักษ์พลังงานไปบังคับใช้เป็นกฎกระทรวงที่ออกตาม ม.8 ของพรบ.ควบคุมอาคาร มาตรา 8 พรบ.ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ม.8 เพื่อประโยชน์แห่งความมั่นคง แข็งแรง ปลอดภัย การป้องกันอัคคีภัย การสาธารณสุข การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม การผังเมือง การสถาปัตยกรรม และการอำนวยความสะดวกแก่การจราจร ตลอดจนการอื่นที่จำเป็นเพื่อปฏิบัติตาม พรบ. นี้ ให้รัฐมนตรีโดยคำเนะนำของคณะกรรมการควบคุมอาคารมีอำนาจออกกฎกระทรวงกำหนด
กฏกระทรวงกำหนดประเภทหรือขนาดอาคาร มาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน มาตรา 20 พรบ. การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ 2535 ในการออกกฎกระทรวงตามมาตรา 19 ถ้าคณะกรรมการควบคุมตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคารได้พิจารณาให้ความเห็นชอบที่จะนำมาใช้บังคับกับการควบคุมอาคารตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมคุมด้วยแล้วให้ถือว่ากฎกระทรวงดังกล่าวมีผลเสมือนเป็นกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา 8 แห่ง พรบ.ควบคุมอาคาร2522 และให้บรรดาผู้มีอำนาจหน้าที่ตาม กม. ว่าด้วยการควบคุมอาคารมีอำนาจหน้าที่ควบคุมดูแลให้การก่อสร้างหรือดัดแปลงอาคารเป็นไปตามกฎกระทรวงดังกล่าว และในกรณีเช่นว่านี้ แม้ว่าอาคารที่เข้าลักษณะเป็นอาคารควบคุมจะอยู่ในท้องที่ยังมิได้มี พรฎ. ใช้บังคับ กม.ว่าด้วยการควบคุมอาคารก็ตาม ให้ถือว่าอยู่ในบังคับแห่ง กม.ว่าด้วยอาคารควบคุมอาคารด้วยทั้งนี้เฉพาะในขอบเขตที่เกี่ยวข้องเพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตาม พรบ. นี้
กฏกระทรวงกำหนดประเภทหรือขนาดอาคาร มาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ข้อกำหนด กฎกระทรวง หมวดที่1 ประเภทและขนาดอาคาร อาคารที่ก่อสร้างหรือดัดแปลง มีขนาดพื้นที่รวมกันทุกชั้นในหลังเดียวกัน ตั้งแต่ 2,000 ตารางเมตร ขึ้นไป ต้องออกแบบให้อนุรักษ์พลังงาน บังคับใช้เมื่อ 20 มิถุนายน 2552
กฏกระทรวงกำหนดประเภทหรือขนาดอาคาร มาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ข้อกำหนด กฎกระทรวง หมวดที่1 ประเภทและขนาดอาคาร - สถานพยาบาล - สถานศึกษา - สำนักงาน - อาคารชุด - อาคารชุมนุมคน - โรงมหรสพ - โรงแรม - สถานบริการ - ห้างสรรพสินค้า กลุ่มเป้าหมาย
กฏกระทรวงกำหนดประเภทหรือขนาดอาคาร มาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ข้อกำหนด กฎกระทรวง หมวดที่2 มาตรฐานและหลักเกณฑ์การออกแบอาคาร 1. ระบบกรอบอาคาร (ผนัง และหลังคา) 2. ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง 3. ระบบปรับอากาศ 4. อุปกรณ์ผลิตน้ำร้อน 5. การใช้พลังงานโดยรวมของอาคาร 6. การใช้พลังงานหมุนเวียนในระบบต่างๆ ของอาคาร
กฏกระทรวงกำหนดประเภทหรือขนาดอาคาร มาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน 1. ระบบ กรอบอาคาร หมวดที่2 มาตรฐานและหลักเกณฑ์การออกแบอาคาร ค่าถ่ายเทความร้อนรวมของผนังด้านนอกอาคาร (OTTV), w/m2 ค่าถ่ายเทความร้อนรวมของหนังหลังคา (RTTV), w/m2 ค่าเดิม ประเภทอาคาร ค่าใหม่ OTTV RTTV OTTV RTTV สถานศึกษา สำนักงาน 55 ,45 25 50 15 โรงมหรสพ ศูนย์การค้า สถานบริการ ห้างสรรพสินค้า อาคารชุมนุมคน 55 ,45 25 40 12 โรงแรม สถานพยาบาล อาคารชุด 55 ,45 25 30 10
กฏกระทรวงกำหนดประเภทหรือขนาดอาคาร มาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน 2. ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง หมวดที่2 มาตรฐานและหลักเกณฑ์การออกแบอาคาร ระดับความส่องสว่างสำหรับงานแต่ละประเภทต้องเป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ให้แสงสว่างต้องใช้กำลังไฟฟ้าสูงสุดไม่เกินค่าดังนี้ )w/m2 ประเภทอาคาร ค่าเดิม ค่าใหม่ สถานศึกษา สำนักงาน 16 14 โรงมหรสพ ศูนย์การค้า สถานบริการ ห้างสรรพสินค้า อาคารชุมนุมคน 23 18 โรงแรม สถานพยาบาล อาคารชุด 16 12
กฏกระทรวงกำหนดประเภทหรือขนาดอาคาร มาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน 3. ระบบปรับอากาศ (เดิม) หมวดที่2 มาตรฐานและหลักเกณฑ์การออกแบอาคาร ประเภทและขนาด อาคารเก่า ( kW/Ton ) อาคารใหม่ ( kW/Ton )
กฏกระทรวงกำหนดประเภทหรือขนาดอาคาร มาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน 3. ระบบปรับอากาศ (เดิม) หมวดที่2 มาตรฐานและหลักเกณฑ์การออกแบอาคาร 1. เครื่องทำน้ำเย็นชนิดระบายความร้อนด้วยน้ำ อาคารเก่า ( kW/Ton ) อาคารใหม่ ( kW/Ton ) ประเภทและขนาด
กฏกระทรวงกำหนดประเภทหรือขนาดอาคาร มาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน 3. ระบบปรับอากาศ (เดิม) หมวดที่2 มาตรฐานและหลักเกณฑ์การออกแบอาคาร 2. เครื่องทำน้ำเย็นชนิดระบายความร้อนด้วยอากาศ อาคารเก่า ( kW/Ton ) อาคารใหม่ ( kW/Ton ) ประเภทและขนาด
กฏกระทรวงกำหนดประเภทหรือขนาดอาคาร มาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน 3. ระบบ ปรับอากาศ (ใหม่) หมวดที่2 มาตรฐานและหลักเกณฑ์การออกแบอาคาร ระบบปรับอากาศ ประเภทและขนาดต่างๆ ต้องมี - ค่าสัมประสิทธิ์สมรรถนะขั้นต่ำ - ค่าประสิทธิภาพการให้ความเย็น - ค่าพลังไฟฟ้าต่อตันความเย็น เป็นไปตามที่รัฐมนตรีประกาศกำหนด (ออกประกาศกระทรวง)
กฏกระทรวงกำหนดประเภทหรือขนาดอาคาร มาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน 4. อุปกรณ์ ผลิตน้ำร้อน หมวดที่2 มาตรฐานและหลักเกณฑ์การออกแบอาคาร ต้องมีค่าประสิทธิภาพขั้นต่ำดังนี้ ค่าประสิทธิภาพขั้นต่ำ ( ร้อยละ ) ประเภท (ก) หม้อไอน้ำที่ใช้น้ำมันเป็นเชื้อเพลิง 85 (ข) หม้อต้มน้ำร้อนที่ใช้น้ำมันเป็นเชื้อเพลิง 80 (ค) หม้อไอน้ำที่ใช้แก๊สเป็นเชื้อเพลิง 80 80 (ง) หม้อต้มน้ำร้อนที่ใช้แก๊สเป็นเชื้อเพลิง
กฏกระทรวงกำหนดประเภทหรือขนาดอาคาร มาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน 4. อุปกรณ์ ผลิตน้ำร้อน (ต่อ) หมวดที่2 มาตรฐานและหลักเกณฑ์การออกแบอาคาร ต้องมีค่าประสิทธิภาพขั้นต่ำดังนี้ ลักษณะการออกแบบ ภาวะพิกัด (องศาเซลเซียส) ค่าสัมประสิทธิ์ สมรรถนะขั้นต่ำ อุณหภูมิน้ำเข้า อุณหภูมิน้ำออก อุณหภูมิอากาศ (ก) แบบที่ 1 30 50 30 3.5 (ก) แบบที่ 2 30 50 30 3.0
กฏกระทรวงกำหนดประเภทหรือขนาดอาคาร มาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน 5. การใช้พลังงานรวมของอาคาร หมวดที่2 มาตรฐานและหลักเกณฑ์การออกแบอาคาร กรณีที่ออกแบบไม่เป็นไปตามมาตรฐาน ตามข้อกำหนดของระบบกรอบอาคาร ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง และระบบปรับอากาศ ให้พิจารณาตามเกณฑ์การใช้พลังงานโดยรวมของอาคารอ้างอิง (ต้องใช้ Program ประกอบการออกแบบ) 6. การใช้พลังงานหมุนเวียน • การใช้แสงธรรมชาติเพื่อการส่องสว่าง • การผลิตไฟฟ้าจาแสงอาทิตย์