1 / 76

ความรู้พื้นฐาน ทางคอมพิวเตอร์ ตอน 1

ความรู้พื้นฐาน ทางคอมพิวเตอร์ ตอน 1. คอมพิวเตอร์และวิวัฒนาการ. COMPUTER มีความหมายว่าผู้คำนวณ (คณิตกรณ์) คือ อุปกรณ์ที่สามารถคิดเลข บวก ลบ คูณ หาร ได้. 1. จุดกำเนิดของคอมพิวเตอร์. 1.1 3000 ปี ก่อนคริสต์ศตวรรษ (3000 B.C.)

marlon
Download Presentation

ความรู้พื้นฐาน ทางคอมพิวเตอร์ ตอน 1

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความรู้พื้นฐานทางคอมพิวเตอร์ตอน 1

  2. คอมพิวเตอร์และวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์และวิวัฒนาการ COMPUTER มีความหมายว่าผู้คำนวณ (คณิตกรณ์) คือ อุปกรณ์ที่สามารถคิดเลข บวก ลบ คูณ หาร ได้

  3. 1. จุดกำเนิดของคอมพิวเตอร์ 1.1 3000 ปี ก่อนคริสต์ศตวรรษ (3000 B.C.) ลูกคิดได้ถูกคิดค้นโดยชาวจีนใช้ช่วยในการคำนวณ เช่น การบวก ลบ คูณ หาร ให้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น

  4. 1. จุดกำเนิดของคอมพิวเตอร์ 1.2 ค.ศ. 1623 – 1662 เครื่องจักรบวกเลขปาสคาล โดย เบล์ส ปาสคาล (Blaise Pascal)นักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศส) ได้สร้างเครื่องจักรอัตโนมัติเครื่องแรกที่สามารถทำการคำนวณเพื่อใช้ทำการบวกเลข ซึ่งมีลักษณะฟันเฟืองหมุนที่สลับซับซ้อน

  5. 1. จุดกำเนิดของคอมพิวเตอร์ 1.3 ค.ศ. 1801 เครื่องทอผ้าอัตโนมัติ นักประดิษฐ์ชาวฝรั่งเศส ชื่อ แจ็คการ์ด (Joseph–Marie Jacquard) ได้ประดิษฐ์เครื่องทอผ้าอัตโนมัติ ซึ่งรับคำสั่งจากบัตรเจาะรูที่ระบุลายในการทอ นับว่าเป็นอุปกรณ์เครื่องแรกที่มีลักษณะการทำงานอัตโนมัติเชิงเลขฐานสอง (binary automation)

  6. 1. จุดกำเนิดของคอมพิวเตอร์ 1.4 ค.ศ. 1842 นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ชื่อ แบบเบจ (Charles Babbage) ได้สร้างเครื่องดิฟเฟอเรนท์ เอ็นจิน (Difference Engine) โดยใช้พลังงานจากไอน้ำ ซึ่งสามารถคำนวณเลขได้อย่างอัตโนมัติ และได้ออกแบบเครื่องจักรชื่อ อนาลายติคัลเอ็นจิน (Analytical Engine) ซึ่งมีลักษณะพื้นฐานเหมือนกับคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน แบบเบจ จึงได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งคอมพิวเตอร์

  7. 1. จุดกำเนิดของคอมพิวเตอร์ 1.5 ค.ศ. 1816 – 1852 นักปราชญ์ชื่อเอด้า (Lady Ada Augusta Lovelace) ได้เสนอแนะการนำบัตรเจาะรูใช้สั่งงาน เครื่องจักรของแบบเบจ เพื่อให้สามารถทำงานได้มี ประสิทธิภาพสูงขึ้น เอด้าได้รับการยกย่องว่าเป็น โปรแกรมเมอร์คนแรกของโลก

  8. 1. จุดกำเนิดของคอมพิวเตอร์ 1.6 ค.ศ. 1890 ฮอลเลอริท (Herman Hollerith) นักสถิติชาวอเมริกัน ได้สร้างบัตรเจาะรู และเครื่องนับ (tabulating machine) ใช้อ่านรหัสที่เจาะแทนตัวเลข เพื่อนำไปใช้ใน การประมวลผลการสำมะโนประชากรทำให้สามารถลดเวลาการประมวลผลลงจากเดิม ใช้เวลาประมวลผล 24 เดือนเหลือเพียง 3 เดือน ซึ่งต่อมาฮอลเลอริทได้ก่อตั้งบริษัท ผลิตและจำหน่ายอุปกรณ์ประมวลผลด้วยบัตรเจาะรู ชื่อบริษัท IBM (International Business Machines Corporation) ฮอลเลอริทได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งการประมวลผลสารสนเทศ (father of information processing)

  9. จุดกำเนิดของคอมพิวเตอร์จุดกำเนิดของคอมพิวเตอร์ 1.7 ค.ศ. 1944 นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกัน ชื่อ ไอเคน (Howard Aiken) แห่งมหาวิทยาลัย ฮาร์วาร์ด ได้ศึกษา แนวคิดของแบบเบจ และได้รับเงินสนับสนุนการวิจัยจาก บริษัท IBM และได้สร้างเครื่อง MARK I ซึ่งมีลักษณะเป็น เครื่องจักรกลที่ใช้พลังงานจากไฟฟ้า (electro mechanical) เพื่อทำการคำนวณอัตโนมัติ นักสถิติชาวอเมริกัน นักสถิติชาวอเมริกัน

  10. 1. จุดกำเนิดของคอมพิวเตอร์ 1.8 ค.ศ. 1946 นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกัน ชื่อ มอชลี (John W. Mauchly) และ เอคเคอร์ด (J. Presper Eckert) ได้สร้างเครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ ชื่อ ENIAC (Electronic Numerical Integrator and Computer) มีความเร็ว บวกเลข 5000 ครั้งต่อนาที และคูณเลข 500 ครั้งต่อนาที โดยมีการ ทำงานด้วยเลขฐานสิบส่วนประกอบหลักของ ENIAC คือ หลอด สูญญากาศ จำนวน 18,000 ตัว

  11. 1. จุดกำเนิดของคอมพิวเตอร์ ค.ศ. 1944 ASCC(Automatic Sequence Controlled Calculator) โฮเวิร์ด ไอเคน (Howard Aiken) MARK I

  12. จุดกำเนิดของคอมพิวเตอร์จุดกำเนิดของคอมพิวเตอร์ ค.ศ. 1949EDVAC Electronic Discrete Variable Automatic Computer จอห์น ฟอน นิวแมน (John Von Neumann) EDVAC

  13. จุดกำเนิดของคอมพิวเตอร์จุดกำเนิดของคอมพิวเตอร์ ค.ศ. 1951 UNIVAC I Universal Automatic Computer John Mauchly & Prespert Ackert UNIVAC I

  14. จุดกำเนิดของคอมพิวเตอร์จุดกำเนิดของคอมพิวเตอร์ ค.ศ 1952I.A.S ดร.จอห์น ฟอน นิวแมน

  15. 2. ยุคของเครื่องคอมพิวเตอร์ 2.1 ยุคที่ 1 ค.ศ.1951 – 1959 ฮาร์ดแวร์ ยุคหลอดสูญญากาศ(vacuum tubes) ซอฟต์แวร์Machine Language, Assembly เครื่องแรกUNIVAC, อื่น ๆ IBM 650, IBM 701, MARK II ความเร็ว 1/1,000 วินาที

  16. 2. ยุคของเครื่องคอมพิวเตอร์ 2.2 ยุคที่ 2 ค.ศ. 1959-1964 ยุคทรานซิสเตอร์ ฮาร์ดแวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลงใช้วงจรทรานซิสเตอร์ (transistors) มีการใช้จานแม่เหล็กเก็บสำรองข้อมูล ซอฟต์แวร์ภาษาระดับสูง FORTRAN, COBOL ชื่อเครื่องHoney well 400, Burroughs, IBM 1620 ความเร็ว 1/1,000,000 วินาที

  17. 2. ยุคของเครื่องคอมพิวเตอร์ 2.3 ยุคที่ 3 ค.ศ.1965-1970 ยุค IC ฮาร์ดแวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลงใช้วงจรไอซี IC (Integrated Circuit) ซอฟต์แวร์ภาษา BASIC, PL/1, RPG ชื่อเครื่องIBM 360 , UNIVAC 9400, CDC 3200

  18. 2. ยุคของเครื่องคอมพิวเตอร์ 2.4 ยุคที่ 4 ค.ศ. 1971 – ปัจจุบัน วงจรรวมขนาดใหญ่ ฮาร์ดแวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลง การรวม IC LSI (Large Scale Integration), VLSI ซอฟต์แวร์ภาษา BASIC, PASCAL, C, JAVAOS ได้แก่ DOS, Windows, OS/2, LINUX, UNIX , Solaris ชื่อเครื่อง IBM 370. SUN

  19. 3. คุณสมบัติคอมพิวเตอร์ 3.1 ข้อดี ความเร็ว (speed) ความถูกต้องแม่นยำ (accuracy) ความเชื่อถือได้ (reliability) ความรอบรู้หลายด้าน (versatility) ความซื่อตรงต่อคำสั่ง (faithfulness)

  20. 3. คุณสมบัติคอมพิวเตอร์ ความสามารถในการเก็บข้อมูลจำนวนมาก (store massive amounts of information) เคลื่อนย้ายข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว (move information quickly)

  21. 3.2 ข้อจำกัด ผลกระทบบางอย่างของคอมพิวเตอร์ • ผลิตจากวัสดุที่มีอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม • ความเจ็บป่วยที่เกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์ • การฝักใฝ่กับซอฟต์แวร์เกมส์

  22. ตอนที่ 2.2 ประเภทคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ที่แบ่งตามขนาดของเครื่อง แบ่งได้ 4 ประเภท • ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ supercomputer • เมนเฟรม Mainframe • คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก Minicomputer • ไมโครคอมพิวเตอร์ Microcomputer

  23. ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ supercomputer • มีประสิทธิภาพสูงสุด • หน่วยความจำขนาดใหญ่มาก • เวลาที่ใช้ในการประมวลผลเป็นไปอย่างรวดเร็ว • สามารถทำงานกับข้อ มูลจำนวนมหาศาล • ราคาแพงมาก

  24. เมนเฟรม Mainframe • ใช้ข้อมูลร่วมกันเป็นประจำและเป็นจำนวนมาก • ข้อมูลเหล่านี้ถูกเก็บไว้ในส่วนกลาง • สั่งให้ทำงานผ่านมาทางเทอร์มินัล Terminal

  25. คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก Minicomputer • มีประสิทธิภาพด้อยกว่าคอมพิวเตอร์เมนเฟรม • มีราคาถูกกว่าเครื่องเมนเฟรม • เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดกลาง

  26. ไมโครคอมพิวเตอร์ Microcomputer • Personal Computer • เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก • ราคาต่ำ • ใช้เป็นคอมพิวเตอร์ส่วนตัว

  27. ไมโครคอมพิวเตอร์ แบ่งตามขนาด • คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ Desktop Computer • คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก Notebook Computer • คอมพิวเตอร์ขนาดฝ่ามือ Palmtops,Handheld PCPersonal Digital Assistants – PDAs

  28. คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ Destop Computer • มีขนาดเหมาะสมใช้ตั้งบนโต๊ะ • ราคาขึ้นอยู่กับรุ่นของซีพียู และ ความเร็วในการประมวลผล • มีความสามารถในการเก็บข้อมูลน้อย

  29. คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก Notebook Computer • เหมาะสำหรับการพกพาในการเดินทาง • ประสิทธิภาพของโน้ตบุ๊กเท่าเทียมกับ คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ • ราคาแพงกว่าคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ

  30. คอมพิวเตอร์ขนาดฝ่ามือPDA Personal Digital Assistants • สามารถใส่กระเป๋าเสื้อได้ • ประสิทธิภาพของเครื่องต่ำโน้ตบุ๊ค • นำข้อมูลเข้าได้โดยใช้อุปกรณ์ที่เรียกว่า พีซีคาร์ด

  31. ตอนที่ 2.3องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ และการประมวลผล

  32. องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์และการประมวล • ฮาร์ดแวร์ Hardware • ซอฟต์แวร์ Software • ข้อมูลข่าวสาร Data / information • บุคลากร people • ขบวนการ procedures • การติดต่อสื่อสาร communications

  33. 1. ฮาร์ดแวร์ Hardware สามารถแบ่งฮาร์ดแวร์ออกเป็น 5 ประเภท ตามลักษณะการใช้งาน 1.1 อุปกรณ์รับข้อมูลเข้า (input hardware) 1.2 อุปกรณ์ประมวลผล และ หน่วยความจำ (processing and memory) 1.3 อุปกรณ์แสดงผล (output hardware) 1.4 อุปกรณ์เก็บข้อมูล (storage hardware) 1.5 อุปกรณ์ติดต่อสื่อสาร (communication hardware)

  34. 1.1 อุปกรณ์รับข้อมูลเข้า(input hardware) รับข้อมูลจากผู้ใช้แล้วแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้ 1)แผงแป้นพิมพ์ (Keyboard) 2) อุปกรณ์ชี้ เช่น เมาส์ (mouse) trackballs,joysticks 3)สแกนเนอร์ (scanners) 4) กล้องดิจิทัล 5) ไมโครโฟน ใช้รับข้อมูลเสียง 6) เครื่องอ่านบัตร 7) เซนเซอร์ (sensors) หรือเครื่องรับรู้และส่งสัญญาณเข้าระบบ

  35. 1.2 อุปกรณ์ประมวลผล และ หน่วยความจำ Processing and memory มีหน้าที่นำข้อมูลที่รับเข้าแล้วทำการคำนวณ ตามชุดคำสั่งที่ถูกกำหนดไว้ องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์และการประมวล

  36. 1.3 อุปกรณ์แสดงผล ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการทำงาน ให้ผู้ใช้ทราบโดยผลลัพธ์ที่ได้จะต้องมีความหมายและผู้ใช้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์และการประมวล

  37. หน่วยแสดงผล หน่วยแสดงผลทิ่นิยมใช้มี 3 ประเภทคือ • จอภาพ • เครื่องพิมพ์ • ลำโพง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์และการประมวล

  38. 1.4 อุปกรณ์เก็บข้อมูล ทำหน้าที่เก็บข้อมูลต่าง ๆ โดยใช้อุปกรณ์ที่เรียกว่าหน่วยความสำรอง ฮาร์ดดิสก์ แผ่นซีดีรอม แผ่นดิสก์ องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์และการประมวล

  39. 1.5 อุปกรณ์ติดต่อสื่อสาร ทำหน้าติดต่อสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์เช่น Lan card, สายเคเบิล องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์และการประมวล

  40. 2. ซอฟต์แวร์ คือ โปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์หรือชุดคำสั่ง programming language แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ซอฟต์แวร์ระบบ(system software) และ ซอฟต์แวร์ประยุกต์(application software) องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์และการประมวล

  41. ซอฟต์แวร์ระบบ เป็นชุดคำสั่งที่ควบคุมการทำงานพื้นฐานต่าง ๆ ของฮาร์ดแวร์ เช่น การรับคำสั่งจากแป้นพิมพ์ รับคำสั่งจากหน้าจอภาพ การแสดงตัวอักษรที่จอภาพ องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์และการประมวล

  42. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ คือ ชุดคำสั่งที่สั่งให้คอมพิวเตอร์ที่ทำงานเฉพาะอย่างตามจุดประสงค์ของการสร้างซอฟต์แวร์ประยุกต์นั้น ๆ องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์และการประมวล

  43. 3. บุคลากร Peopleware องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์และการประมวล บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์จะเรียกว่าuser ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทั่วไป computer user พาวเวอร์ยูสเซอร์ power user ผู้เชี่ยวชาญคอมพิวเตอร์ computer professional นักเขียนโปรแกรม programmer เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล data entry operator เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวกับการวิเคราะห์และออกแบบระบบ

  44. 4. ข้อมูลและสารสนเทศ Data / Information องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์และการประมวล ข้อมูลหมายถึง สิ่งที่ได้มาจากเรื่องที่เราสนใจหรือจากการสำรวจ สารสนเทศ หมายถึง สิ่งที่ได้จากนำข้อมูลผ่านกระบวนการที่เหมาะสม input, output, upload/download, update, issue, store, transmit compute, classify, sort, summarize, retrieve, inquire

  45. สารสนเทศที่ดี เกี่ยวข้องกับงานที่กำลังทำ (relevant) ทันเวลา (timely ถูกต้อง (accurate) สั้นกระทัดรัด (concise) สมบูรณ์ (completeness)

  46. 5. ขบวนการ Procedure องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์และการประมวล ขบวนการในระบบคอมพิวเตอร์หมายถึง 1) ขบวนการทำงานที่หมายถึงขั้นตอนการทำงาน ซึ่งมี 2 ความหมายคือ ขั้นตอนของผู้ใช้กระทำกับคอมพิวเตอร์ ขั้นตอนของอัลกอริธึม (algorithm) 2) วิธีการประมวลผล แบบกลุ่ม (batch processing) แบบโต้ตอบหรือปฏิสัมพันธ์ (interactive processing)

  47. ขั้นตอนของผู้ใช้กระทำกับคอมพิวเตอร์ขั้นตอนของผู้ใช้กระทำกับคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์และการประมวล • สอดบัตร • เลือกรายการถอนเงิน • พิมพ์จำนวนเงินที่ต้องการถอน • รับเงิน • รับบัตรคืน

  48. ขั้นตอนของโปรแกรม องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์และการประมวล ขั้นตอนที่ 1 รับข้อมูลเข้าเป็นจำนวน 10 จำนวน ขั้นตอนที่ 2 นำข้อมูลทั้งหมดมารวมกัน ขั้นตอนที่ 3 นำ 10 ไปหารผลรวม ขั้นตอนที่ 4 แสดงผลที่ได้จากขั้นที่ 3

  49. 6. การติดต่อสื่อสาร องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์และการประมวล มีไว้เพื่อให้คอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครื่องหรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้องสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูล และ สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ ทำให้เกิดกิจกรรมการติดต่อสื่อสารดังนี้ e-mail online shopping and e-commerce database online service

  50. ตอนที่ 2.4 ซอฟต์แวร์ คือกลุ่มของคำสั่ง ที่ใส่เข้าไปในหน่วยความ จำของคอมพิวเตอร์ แล้วทำให้คอมพิวเตอร์ ทำงานตามที่ต้องการ

More Related