800 likes | 816 Views
ชุด วิชาทหาร และกิจการระหว่างประเทศ. หลักสูตรทั่วไป โรงเรียนนายทหารเรือชั้นต้น. บรรยายโดย น.ท .หัส ไชยญ์ มั่งคั่ง อจ .กวม ศ.ฝ วก. ยศ.ทร. ฝ่ายวิชาการ Division of Academic Affairs. ความสำคัญ.
E N D
ชุดวิชาทหารและกิจการระหว่างประเทศชุดวิชาทหารและกิจการระหว่างประเทศ หลักสูตรทั่วไป โรงเรียนนายทหารเรือชั้นต้น บรรยายโดย น.ท.หัสไชยญ์ มั่งคั่ง อจ.กวมศ.ฝวก.ยศ.ทร.
ฝ่ายวิชาการ Division of Academic Affairs ความสำคัญ • พื้นฐานองค์การระหว่างประเทศและกิจการระหว่างประเทศจะปูพื้นฐานให้เห็นภาพรวมของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและความมั่นคงแห่งชาติทั้งหมด • ภาพรวมแยกได้เป็นมิติของความมั่นคง ปัจจัยที่กระทบต่อความมั่นคง ปฏิสัมพันธ์ของประเทศต่างๆ และผลกระทบ
ฝ่ายวิชาการ Division of Academic Affairs ความมุ่งหมายและขอบเขตการศึกษา • ให้ นทน. เข้าใจ องค์การระหว่างประเทศและกิจการระหว่างประเทศที่กระทบต่อความมั่นคงภายในและระหว่างประเทศ • หัวข้อวิชาได้แก่ ๑) องค์การระหว่างประเทศกับความมั่นคงแห่งชาติ ๒) ทหารและกิจการระหว่างประเทศ ๓) แก้ปัญหารายบุคคล
หัวข้อวิชาองค์การระหว่างประเทศกับความมั่นคงแห่งชาติหัวข้อวิชาองค์การระหว่างประเทศกับความมั่นคงแห่งชาติ
องค์การระหว่างประเทศกับความมั่นคงแห่งชาติองค์การระหว่างประเทศกับความมั่นคงแห่งชาติ • เพื่อให้ทราบที่มา ความมุ่งหมาย บทบาทและปัญหาอุปสรรคขององค์การระหว่างประเทศที่สำคัญและมีผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศต่างๆ • เพื่อศึกษาความสัมพันธ์และผลกระทบขององค์กรเหล่านี้ที่มีผลต่อความมั่นคงของไทย
ขอบเขตการศึกษา • แนวความคิดเรื่องความร่วมมือเพื่อความมั่นคงร่วม (Collective Security) • บทบาทและความสำคัญขององค์การระหว่างประเทศ • ผลกระทบจากปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายในต่อความมั่นคงของชาติและประชาชน
หัวข้อการบรรยายองค์การระหว่างประเทศหัวข้อการบรรยายองค์การระหว่างประเทศ
แนวคิดทฤษฎีขององค์การระหว่างประเทศแนวคิดทฤษฎีขององค์การระหว่างประเทศ • สำนักเสรีนิยม (liberalism) มีรากฐานมาจากการมองธรรมชาติของรัฐว่าสามารถร่วมมือกันได้แม้กระทั่งเรื่องของความมั่นคง Immanuel Kant Woodrow Wilson Michael W. Doyle
ประเภทขององค์การระหว่างประเทศประเภทขององค์การระหว่างประเทศ
แนวคิดความร่วมมือเพื่อความมั่นคงร่วมแนวคิดความร่วมมือเพื่อความมั่นคงร่วม • แนวคิดความมั่นคงร่วม (collective security) นำเสนอโดยประธานาธิบดีวูดโรว์วิลสัน (Woodrow Wilson) • ประเด็นสำคัญคือ “ประเทศต่างๆ ควรผูกพันเข้าด้วยกันเพื่อปกป้องบูรณภาพซึ่งกันและกัน ถ้าประเทศหนึ่งละเมิด ก็จะถูกประเทศที่เหลือต่อต้านด้วยสงครามเพื่อลงโทษ” • สันนิบาตชาติ (League of Nations) เกิดขึ้นหลังจากนั้น
แนวคิดความร่วมมือเพื่อความมั่นคงร่วมแนวคิดความร่วมมือเพื่อความมั่นคงร่วม • ช่วงที่สงครามโลกครั้งที่ ๒ ใกล้สิ้นสุดลง ประธานาธิบดี แฟรงกลิน ดี รูสเวลต์(Franklin D. Roosevelt) รื้อฟื้นระบบความมั่นคงร่วมกันขึ้นมาอีกครั้ง • สหประชาชาติได้รับการสถาปนาขึ้นจากตัวแบบสันนิบาตชาติในฐานะกลไกสำคัญในการบรรลุความมั่นคงร่วมกัน • สหประชาชาติถือว่าประสบความสำเร็จถึงระดับหนึ่ง
1 2 3
ที่มาและจุดมุ่งหมายขององค์การระหว่างประเทศที่มาและจุดมุ่งหมายขององค์การระหว่างประเทศ
อาเซียน • คำถาม ที่มา จุดมุ่งหมายและบทบาทของอาเซียน • อาเซียนเริ่มก่อตัวขึ้นจากสมาคมอาสา หลังจากปฏิญญากรุงเทพ อาเซียนจึงถือกำเนิดขึ้นจากสมาชิก ๕ ประเทศ • จุดมุ่งหมายเพื่อความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคมและต้องการให้เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นพื้นที่สันติภาพ • อาเซียนช่วยสร้างความเจริญรุ่งเรืองให้กับประเทศสมาชิก
เออาร์เอฟ • คำถาม ที่มา จุดมุ่งหมายและบทบาทของเออาร์เอฟ • เออาร์เอฟเกิดขึ้นในปี ค.ศ.๑๙๙๓ หลังจากการประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียนครั้งที่ ๒๖ ที่สิงคโปร์ • วัตถุประสงค์เพื่อเป็นเวทีในการปรึกษาหารือในประเด็นปัญหาเรื่องการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาค • บทบาทสำคัญคือการประสานความแตกต่างในภูมิภาค
องค์การการค้าโลก • คำถาม ที่มา จุดมุ่งหมายและบทบาทขององค์การการค้าโลก • สังกัดสหประชาชาติ จัดตั้งขึ้นแทนแกตต์ในวันที่ ๑ ม.ค.๓๘ สำนักงานใหญ่อยู่ที่เจนีวา • จุดมุ่งเพื่อให้การเจรจาการค้าและบริการบรรลุผล • เป็นเวทีสำหรับเจรจาต่อรองและขจัดข้อขัดแย้งในเงื่อนไขและกฎเกณฑ์ทางการค้าและบริการระหว่างสมาชิก
เอเปก • คำถาม ที่มา จุดมุ่งหมายและบทบาทของเอเปก • ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิกเป็นกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างเขตเศรษฐกิจในภูมิภาค ตั้งขึ้นในปี พ.ศ.๒๕๓๒ • จุดมุ่งหมายเน้นความเจริญเติบโตและการพัฒนาที่ยั่งยืนของภูมิภาค และถ่วงดุลอำนาจทางเศรษฐกิจ
สหประชาชาติ • คำถาม ที่มา จุดมุ่งหมายและบทบาทของสหประชาชาติ • เกิดขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่สองแทนที่สันนิบาตชาติ ปัจจุบันมีสมาชิก ๑๙๓ ประเทศ • จุดมุ่งหมายหลักคือสันติภาพโลก • บทบาทสำคัญคือเป็นเวทียับยั้งสงครามระหว่างประเทศและเป็นเวทีสำหรับการเจรจาเพื่อยุติข้อพิพาท
บทบาทขององค์การระหว่างประเทศบทบาทขององค์การระหว่างประเทศ • คำถาม องค์การระหว่างประเทศใดบ้างที่มีบทบาทในการเสริมสร้างความมั่นคงระหว่างประเทศ
หัวข้อการบรรยายความมั่นคงแห่งชาติหัวข้อการบรรยายความมั่นคงแห่งชาติ
แนวคิดทฤษฎีของความมั่นคงแห่งชาติแนวคิดทฤษฎีของความมั่นคงแห่งชาติ • ความมั่นคงแห่งชาติอธิบายได้จากหลายทฤษฎี ไม่ว่าจะเป็นสัจนิยมหรือเสรีนิยม • สัจนิยมมองภาพความมั่นคงว่าเป็นความรับผิดชอบของรัฐเอง ซึ่งที่สุดแล้วจะเป็นการร่วมกันเป็นพันธมิตร • ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับองค์การระหว่างประเทศคือแนวคิดเรื่องความมั่นคงร่วมกัน
องค์การระหว่างประเทศกับความมั่นคงไทยองค์การระหว่างประเทศกับความมั่นคงไทย • คำถามองค์การระหว่างประเทศใดบ้างที่มีผลกระทบต่อความมั่นคงของไทย • อาเซียนเกี่ยวข้องโดยตรงกับการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ-การเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยมีเออาร์เอฟเป็นกลไกด้านความมั่นคง • สหประชาชาติดูแลความมั่นคงระดับโลก
องค์การระหว่างประเทศกับความมั่นคงไทยองค์การระหว่างประเทศกับความมั่นคงไทย • คำถามไทยเกี่ยวข้องกับอาเซียน เออาร์เอฟ เอเปก องค์การการค้าโลกและสหประชาชาติ อย่างไร • ในทางเศรษฐกิจ ไทยเป็นสมาชิกขององค์การการค้าโลก ส่วนในระดับภูมิภาคจะเป็นอาเซียนและเอเปก • ในทางความมั่นคง ไทยเป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ส่วนในระดับภูมิภาคจะเป็นเออาร์เอฟ
องค์การระหว่างประเทศกับความมั่นคงไทยองค์การระหว่างประเทศกับความมั่นคงไทย • คำถามอาเซียน เออาร์เอฟ เอเปก องค์การการค้าโลกและสหประชาชาติมีส่วนเสริมสร้างความมั่นคงของไทยอย่างไร • ในเชิงบวก องค์การเหล่านี้จะเป็นช่องทางให้ไทยได้รับข้อมูลข่าวสารเพื่อการตัดสินใจด้านความมั่นคง • ในเชิงลบ กฎระเบียบขององค์การเหล่านี้จะจำกัดการใช้อำนาจของไทยเพื่อการรักษา
องค์การระหว่างประเทศกับความมั่นคงไทยองค์การระหว่างประเทศกับความมั่นคงไทย • คำถามเอ็นจีโอคืออะไร มีบทบาทในการสร้างความมั่นคงของไทยหรือไม่ อย่างไร • เอ็นจีโอเกิดขึ้นจากกระแสต่อต้านองค์การระดับโลก โดยมองว่าองค์การเหล่านี้เป็นลัทธิล่าอาณานิคมใหม่ • เอ็นจีโอมองว่าพวกตนเองสามารถเข้าใจและดูแลผลประโยชน์ของกลุ่มตนเองได้ จึงมองได้ว่าต่อต้านรัฐบาล
ประเด็นปัญหาความมั่นคงในปัจจุบันประเด็นปัญหาความมั่นคงในปัจจุบัน International Security
หัวข้อวิชาทหารและกิจการระหว่างประเทศหัวข้อวิชาทหารและกิจการระหว่างประเทศ
ฝ่ายวิชาการ Division of Academic Affairs ความมุ่งหมาย • เพื่อให้ทราบถึงบทบาทของทหารในกิจการระหว่างประเทศที่ผ่านมา ตลอดจนปัญหาอุปสรรคของทหารกับกิจการระหว่างประเทศที่สำคัญ • เพื่อศึกษาสถานการณ์และสภาวะแวดล้อมในระบบระหว่างประเทศที่มีผลกระทบต่อบทบาททหารเพื่อเตรียมกำลังให้เหมาะสมกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
ฝ่ายวิชาการ Division of Academic Affairs ขอบเขตการศึกษา • บทบาทของทหารในด้านการรักษาความมั่นคงของประเทศ • การเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดล้อม กิจการระหว่างประเทศและองค์การระหว่างประเทศที่มีผลกระทบต่อบทบาทของทหาร • บทบาทของทหารเพื่อเตรียมกำลังและความพร้อมให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลง
ฝ่ายวิชาการ Division of Academic Affairs หัวข้อการบรรยายบทบาทของทหารที่เปลี่ยนแปลง
ฝ่ายวิชาการ Division of Academic Affairs สภาวะแวดล้อมความมั่นคงหลังสงครามเย็น • คำถามสถานการณ์ความมั่นคงระหว่างประเทศในปัจจุบันเป็นอย่างไร • หลังสงครามเย็นสิ้นสุดลง โครงสร้างอำนาจของโลกได้เปลี่ยนไปเป็นแบบขั้วเดียวโดยมีสหรัฐอเมริกาเป็นเอกมหาอำนาจ ทำให้สหรัฐอเมริกาต้องเปลี่ยนแปลงวิธีคิดและแนวทางการดำเนินนโยบายและยุทธศาสตร์โลก
ฝ่ายวิชาการ Division of Academic Affairs Communism = The East Liberal Democracy = The West Bipolarity
ฝ่ายวิชาการ Division of Academic Affairs NATO Unipolarity
American Hegemony NATO
ฝ่ายวิชาการ Division of Academic Affairs สภาวะแวดล้อมความมั่นคงหลังสงครามเย็น • ในคริสต์ศตวรรษที่ ๒๑ ปัญหาสำคัญประการหนึ่งในระบบการเมืองโลกคือการก่อการร้าย ซึ่งจัดเป็นยุทธวิธีการใช้ความรุนแรงรูปแบบหนึ่งเพื่อการสื่อสารทางการเมือง • กระแสโลกาภิวัตน์ทำให้เกิดภาวการณ์ขึ้นต่อกันและกัน (interdependence) ในโลกเพิ่มขึ้น ซึ่งส่งผลกระทบทั้งทางบวกและทางลบ จึงมีทั้งแนวคิดต่อต้านและสนับสนุน