1 / 8

ความเป็นมาการประกันภัยพืชผลในประเทศไทย

ความเป็นมาการประกันภัยพืชผลในประเทศไทย. ปี 2513 กรมการประกันภัยเริ่มศึกษารูปแบบประกันภัย ทางการเกษตร ในประเทศไทย ปี 2521-23 ทดลองทำโครงการประกันภัยฝ้าย ที่อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา 2 ปีแรกได้กำไร 1.83 แสนบาท ปีที่ 3 ขาดทุน 1.23 แสนบาท

marny-morse
Download Presentation

ความเป็นมาการประกันภัยพืชผลในประเทศไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความเป็นมาการประกันภัยพืชผลในประเทศไทยความเป็นมาการประกันภัยพืชผลในประเทศไทย • ปี 2513 กรมการประกันภัยเริ่มศึกษารูปแบบประกันภัย ทางการเกษตร ในประเทศไทย • ปี 2521-23 ทดลองทำโครงการประกันภัยฝ้าย ที่อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา 2 ปีแรกได้กำไร 1.83 แสนบาท ปีที่ 3 ขาดทุน 1.23 แสนบาท มีเกษตรกรร่วมโครงการ ปีที่ 1 เกษตรกร 496 ราย ปีที่ 2 เกษตรกร 542 ราย ปีที่ 3 เกษตรกร 83 ราย เบี้ยประกัน 50บาท/ไร่ คุ้มครอง 1,400 บาท/ไร่

  2. ปี 2525-27 กรมส่งเสริมการเกษตรได้ดำเนินการต่อ ผล 3 ปี ขาดทุน 1.04 ล้านบาท • ปี 2529 มีการแต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อดำเนินงานโครงการต่อโดยมอบให้กรมส่งเสริมการเกษตร เป็นเจ้าภาพหลัก เพื่อทำเรื่องเสนอคณะรัฐมนตรี ในการประกันภัยฝ้าย และถั่วเหลือง แต่มีการยุบสภาก่อนเลยล้มเลิกไป

  3. ปี 2531-34 มีบริษัทเอกชนริเริ่มทำประกันภัย ข้าวโพด ข้างฟ่าง และถั่วเหลืองแบบครบวงจร ร่วมกัน 3 บริษัท โดยคิดเบี้ยประกันภัย ร้อยละ 8 ของทุนประกัน ผลการดำเนินงาน 4 ปี จ่ายค่าสินไหมทดแทน 4.91 ล้านบาท รับเบี้ยประกัน 1.45 ล้านบาท มีผู้ทำประกันปีที่ 1 จำนวน 90 ราย ปีที่ 2 จำนวน 552 ราย ปีที่ 3 ไม่มีข้อมูล ปีที่ 4 จำนวน 228 ราย

  4. ปี 2539 คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติให้ธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณ์การเกษตร (ธกส.) ทำประกันภัยพืชผลการเกษตร ในรูปกองทุนรวมบรรเทาความเสียหาย โดยทำ -ในทุกพื้นที่ประเทศไทย - คุ้มครองเฉพาะข้าวนาปี ข้าวนาปรัง และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ - คุ้มครองเฉพาะอุทกภัย วาตภัย และภัยแล้ง - กำหนดให้รัฐบาลและเกษตรกรจ่ายค่าเบี้ยประกันคนละครึ่ง แต่สำนักงบประมาณ ไม่อนุมัติเงินจึงไม่ได้ดำเนินการ

  5. ปี 2544 ธกส. ยื่นข้อเสนอจัดตั้งกองทุนประกันภัย ทางการเกษตรต่อคณะรัฐมนตรีผ่านทางกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ โดย - รับประกันภัยจากอุทกภัย วาตภัย และภัยแล้ง - คุ้มครองพืช 3 ชนิด คือ ข้าวนาปี ข้าวนาปรัง และ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ - ดำเนินการทั่วประเทศโดยแบ่งการประกันภัยเป็น 2 ระดับ

  6. ปี 2546 คณะกรรมการกลั่นกรองเรื่องเสนอคณะรัฐมนตรี (ฝ่ายเศรษฐกิจ) มีมติเมื่อ วันที่ 28 สิงหาคม 2546 มอบให้กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ รับเรื่องการประกันภัยทางการเกษตร ไปดำเนินการ แล้วนำเสนอคณะกรรมการกลั่นกรองอีกครั้ง • ปี 2548 ธกส. จัดทำโครงการนำร่องโครงการประกันภัยพืชผลโดยใช้ดัชนีภูมิอากาศ (Weather Index Insurance)

  7. ธนาคารโลกได้ให้ความช่วยเหลือจัดทำโครงการประกันภัยพืชผลโดยใช้ดัชนีภูมิอากาศ ให้ ธกส. เป็นแกนกลางในการประสานงาน เพื่อทดลองรูปแบบการประกันภัยจากภาวะ ฝนแล้งและน้ำท่วม - หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย ธนาคารโลก บริษัท PASCO กรมการประกันภัย สมาคมประกันวินาศภัย บริษัทประกันวินาศภัย กรมอุตุนิยมวิทยา กรมชลประทาน และ ธกส. - เกษตรกรจ่ายค่าเบี้ยประกันภัยร้อยละ 7-10 ของวงเงินคุ้มครอง

  8. ดำเนินการทดลองการประกันภัย ข้าวนาปีจากอุทกภัย ที่อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ และทดลองประกันภัย ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์จากภัยแล้ง ที่อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา โดยยึดลูกค้า ธกส. สาขาในพื้นที่โครงการและอยู่ในรัศมีวัดน้ำฝนที่กำหนด - ระยะเวลาทดลองดำเนินการ 3 ปี (ปี 2549-2551)

More Related