300 likes | 671 Views
แผนการจัดการเรียนรู้. โสภณ จุโลทก. ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีวิรุณบริหารธุรกิจ (VBAC) หัวหน้านักวิจัยภาคเหนือ มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาการเรียนรู้. คำเหล่านี้แตกต่างหรือเหมือนกันอย่างไร. บันทึกการสอน แผนการสอน แผนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แผนการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้.
E N D
แผนการจัดการเรียนรู้ โสภณ จุโลทก ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีวิรุณบริหารธุรกิจ (VBAC) หัวหน้านักวิจัยภาคเหนือ มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาการเรียนรู้
คำเหล่านี้แตกต่างหรือเหมือนกันอย่างไรคำเหล่านี้แตกต่างหรือเหมือนกันอย่างไร • บันทึกการสอน • แผนการสอน • แผนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน • แผนการเรียนรู้ • แผนการจัดการเรียนรู้
คลื่นลูกที่ 1 (พ.ศ.2503-2520) คลื่นลูกที่ 2 (พ.ศ.2521-2541) คลื่นลูกที่ 3 (พ.ศ.2542-ปัจจุบัน) แผนการจัดการเรียนรู้ บันทึกการสอน แผนการสอน
บันทึกการสอน : การเตรียมการของครูผู้สอนล่วงหน้าโดยแสดงรายละเอียดของการสอนแต่ละครั้ง แสดงให้เห็นลักษณะของกิจกรรมหรือกระบวนการสอนที่กำหนดไว้ให้ตรงกับสภาพแวดล้อม ปัญหา ความต้องการ และปัจจัยของโรงเรียน (สงบ ลักษณะ, 2533)
แผนการสอน : แผนการหรือโครงการที่จัดทำไว้เป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อปฏิบัติการสอนในวิชาใดวิชาหนึ่ง เป็นการเตรียมการอย่างเป็นระบบ เป็นเครื่องมือช่วยให้ครูพัฒนาการจัดการเรียนการสอนไปสู่จุดประสงค์การเรียนรู้และจุดมุ่งหมายของหลักสูตร (ปราณี บุญชุ่ม, 2537)
แผนการสอน : การวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนล่วงหน้าสำหรับการสอนแต่ละครั้ง โดยครูผู้สอนได้ออกแบบและเตรียมการสอนล่วงหน้าสำหรับการสอนแต่ละครั้ง เพื่อให้เห็นรายละเอียดของกิจกรรมการเรียนการสอนของแต่ละหัวข้อหรือแต่ละเนื้อหา (หน่วยศึกษานิเทศก์ สปช., 2534)
แผนการจัดการเรียนรู้ : การวางแผนจัดการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบโดยนำสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังมาสร้างหน่วยการเรียนรู้และเขียนเป็นแผนการจัดการเรียนรู้ (สสวท., 2545)
แผนการจัดการเรียนรู้ : เครื่องมือ แนวทางในการวัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้ผู้เรียนตามที่กำหนดไว้ในสาระการเรียนรู้ (รุจิร์ ภู่สาร, 2545)
ความสำคัญของแผนการจัดการเรียนรู้ความสำคัญของแผนการจัดการเรียนรู้ • เป็นการสร้างความเข้มแข็งในการเรียนรู้และประเมินผลการเรียนของนักเรียน : O-NET, NT, LAS • สะท้อนความรู้ความสามารถของครู : Professional • สะท้อนคุณภาพของครูตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 10 • เป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารในการนิเทศ • ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตรทั้งระบบ
รูปแบบของแผนการจัดการเรียนรู้รูปแบบของแผนการจัดการเรียนรู้ • รูปแบบตามรูปลักษณ์ • รูปแบบตามกระบวนการเรียนรู้ • รูปแบบตามพฤติกรรมการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ : รูปแบบตามรูปลักษณ์ แบบบรรยาย แบบตาราง แบบพิศดารหรือแบบกึ่งตาราง
แผนการจัดการเรียนรู้แบบบรรยายแผนการจัดการเรียนรู้แบบบรรยาย สาระที่ ..................................................... มาตรฐาน.................................................. ตัวชี้วัด...................................................... จุดประสงค์............................................... ฯลฯ
แผนการจัดการเรียนรู้แบบตารางแผนการจัดการเรียนรู้แบบตาราง สาระที่................................................................................. มาตรฐาน............................................................................
แผนการจัดการเรียนรู้แบบพิสดาร/กึ่งตารางแผนการจัดการเรียนรู้แบบพิสดาร/กึ่งตาราง สาระที่......................................................................................................... มาตรฐาน.................................................................................................... ตัวชี้วัด........................................................................................................ จุดประสงค์................................................................................................. สาระการเรียนรู้...........................................................................................
แผนการจัดการเรียนรู้ : รูปแบบตามกระบวนการเรียนรู้ แบบยึดครูเป็นศูนย์กลาง แบบยึดนักเรียนเป็นศูนย์กลาง
แผนการจัดการเรียนรู้:รูปแบบที่ยึดครูเป็นศูนย์กลางแผนการจัดการเรียนรู้:รูปแบบที่ยึดครูเป็นศูนย์กลาง รูปแบบของ Hunter มีขั้นตอนดังนี้ ทบทวน นำเข้าสู่บทเรียน แจ้งจุดประสงค์ของบทเรียน เสนอเนื้อหา ให้รูปแบบ/ตัวอย่างหรือสาธิต ตรวจสอบความเข้าใจ ฝึกปฏิบัติในเวลาเรียน
รูปแบบของ Gagne มีขั้นตอนดังนี้ • เตรียมความพร้อม/กระตุ้นความสนใจ • แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ • ทบทวนความรู้เดิม • เสนอเนื้อหาใหม่ • แนะแนวการเรียน เชื่อมโยงความรู้ใหม่กับเก่า • กระตุ้นการปฏิบัติ/แนะวิธีการทำงานหรือหาคำตอบ • ตรวจสอบความเข้าใจ ให้ข้อมูลย้อนกลับ • ประเมินผล • ส่งเสริมความคงทนของความรู้/การถ่ายโอนความรู้
รูปแบบของ Good & Brophy มีขั้นตอนดังนี้ • ทบทวน • สอน/สาธิต/อธิบาย/ให้ตัวอย่าง • ประเมินความเข้าใจ • ให้ทำงาน • ตรวจสอบงานของนักเรียน • ให้การบ้าน • ทบทวนเป็นระยะ ๆ
สรุปลักษณะรูปแบบที่ยึดครูเป็นศูนย์กลางสรุปลักษณะรูปแบบที่ยึดครูเป็นศูนย์กลาง • เป็นแผนฯ ที่เน้นเนื้อหา • เน้นการทำตามขั้นตอนอย่างเคร่งครัด • จัดกิจกรรมเฉพาะในห้องเรียน • ครูเป็นผู้กำหนดกิจกรรม • เป็นการสอนแบบตรง (Direct Instruction) • ใช้การบรรยายเป็นส่วนใหญ่ • มุ่งการผ่านจุดประสงค์
แผนการจัดการเรียนรู้ : รูปแบบที่ยึดนักเรียนเป็นศูนย์กลาง • มีลักษณะตรงกันข้ามกับรูปแบบที่ยึดครูเป็นศูนย์กลาง • มีการผ่อนคลายในบางข้อ • เพิ่มประเด็นสำคัญอีก 4 ข้อ ตามทฤษฎีการเรียนรู้ • ทฤษฎี “วิธีการเรียนรู้” (Learning How to Learn) • การเรียนรู้เชิงประสบการณ์ (Experience Learning) • การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม • ประสบการณ์ (Experience) • การสะท้อนความคิดและอภิปราย (Reflection and Discussion) • ความเข้าใจ/ความคิดรวบยอด (Conceptualization and Understanding) • การประยุกต์/นำไปใช้ (Aplication)
แผนการจัดการเรียนรู้ : รูปแบบตามพฤติกรรมการเรียนรู้ • แผนฯ ด้านความรู้ (Knowledge) • แผนฯ ด้านเจตคติ (Attitude) • แผนฯ ด้านทักษะ (Skill)
แผนฯ ความรู้ : ความรู้ 6 ระดับ • ความรู้ ความจำ • ความเข้าใจ • การนำไปใช้ • วิเคราะห์ • สังเคราะห์ • ประเมินค่า
แผนฯ เจตคติ : เจตคติ 5 ระดับ • รับรู้ • ตอบสนอง • สร้าง/เห็นคุณค่า • มีระบบค่านิยม • มีคุณลักษณะ
แผนฯ ทักษะ : ทักษะ 5 ระดับ • ทำอย่างมีรูปแบบ • ทำตามแบบ • ทำเอง • ทำอย่างอัตโนมัติ • ทำอย่างสร้างสรรค์
องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรฯ 2551 • สาระที่ • มาตรฐาน • ตัวชี้วัด • จุดประสงค์การเรียนรู้ • สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด • สาระการเรียนรู้
สมรรถนะที่จะเกิดกับนักเรียนสมรรถนะที่จะเกิดกับนักเรียน • คุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่จะเกิดกับนักเรียน • ภาระงาน • กระบวนการเรียนรู้/กิจกรรมการเรียนรู้ • สื่อ/แหล่งเรียนรู้ • การวัดและประเมินผล • ความคิดเห็นของผู้บริหาร • บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้