1 / 57

โครงการจ่ายตรงเงินเดือนและค่าจ้างประจำ

โครงการจ่ายตรงเงินเดือนและค่าจ้างประจำ. สำนักบริหารการรับ - จ่ายเงินภาครัฐ กรมบัญชีกลาง. เนื้อหาวิชา. ส่วนที่ 1 ภาพรวมโครงการ ความเป็นมา วัตถุประสงค์ ประโยชน์ที่จะได้รับ แนวทางการดำเนินงาน

Download Presentation

โครงการจ่ายตรงเงินเดือนและค่าจ้างประจำ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการจ่ายตรงเงินเดือนและค่าจ้างประจำโครงการจ่ายตรงเงินเดือนและค่าจ้างประจำ สำนักบริหารการรับ - จ่ายเงินภาครัฐ กรมบัญชีกลาง

  2. เนื้อหาวิชา ส่วนที่ 1 ภาพรวมโครงการ ความเป็นมา วัตถุประสงค์ ประโยชน์ที่จะได้รับ แนวทางการดำเนินงาน ส่วนที่ 2 การจัดทำฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐ

  3. ความเป็นมา

  4. กรมบัญชีกลางทำการขอเบิกกรมบัญชีกลางทำการขอเบิก เงินเดือน / ค่าจ้างประจำ จากในระบบ GFMIS และดำเนินการโอนเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารรัฐวิสาหกิจ/ธนาคารพาณิชย์ ของผู้มีสิทธิโดยตรง ตามข้อมูลที่ส่วนราชการจัดทำ

  5. ผู้มีสิทธิ / กสจ. ธปท. SMART B.ชาติ เป็น sending Bank บัญชี บก. บัญชี ธอส. ธนาคารสแตนดาร์ด (ไทย) ฯ ธนาคารยูไนเต็ด โอเวอร์ซีส์ (ไทย)ฯ ธนาคารธนชาติ ฯ กรมบัญชีกลาง ธ.พาณิชย์ฯ กบข. บัญชี เงินคงคลัง บัญชีที่ 2 สั่งจ่าย บัญชี ธนาคารกรุงไทย ธนาคารออมสิน ธกส. ที่ ธปท. In house บัญชี สรก. -หนี้- บัญชี บก. ที่ธนาคารทหารไทย, ธนาคารกรุงศรีฯ ธนาคารไทยพาณิชย์ฯ ธนาคารกสิกรไทยฯ ธนาคารไทยธนาคารฯ ธนาคารกรุงเทพฯ ธนาคารนครหลวงไทยฯ บัญชีเงินรายได้แผ่นดิน -ภาษี- ระบบจ่ายเงินเดือนและค่าจ้างประจำของกรมบัญชีกลาง

  6. วัตถุประสงค์

  7. วัตถุประสงค์ 1) พัฒนาระบบการเบิกจ่ายโดยนำเทคโนโลยี มาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ 2) เชื่อมโยงระบบต่างๆ 3) ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4) มีระบบฐานข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน 5) ลดค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน

  8. ประโยชน์ที่จะได้รับ

  9. ส่วนราชการ ได้รับประโยชน์ คือ • ลดขั้นตอนการทำงาน • ลดค่าใช้จ่ายในการจัดทำเอกสารขอเบิกและการโอนเงิน • สามารถทำงานในส่วนที่เป็นภารกิจหลักได้เต็มที่ • มีฐานข้อมูลเพื่อการบริหาร

  10. กรมบัญชีกลาง ได้รับประโยชน์ คือ • มีระบบฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐเต็มรูปแบบ • ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด • ประหยัดต้นทุนในการดำเนินการเบิกจ่าย

  11. ด้านมหภาค ได้รับประโยชน์ คือ การบริหารเงินสด และเงินคงคลังของประเทศ มีฐานข้อมูลในการบริหารบุคลากรและงบประมาณทั้งระบบ

  12. ค่าใช้จ่ายและเงินต่าง ๆ ตามโครงการจ่ายตรง

  13. ค่าใช้จ่ายที่นำเข้าระบบจ่ายตรงค่าใช้จ่ายที่นำเข้าระบบจ่ายตรง 1. งบบุคลากร • เงินเดือน / ค่าจ้างประจำ • เงินประจำตำแหน่ง • เงินวิทยฐานะ • เงินเพิ่มพิเศษซึ่งจ่ายควบเงินเดือน/ค่าจ้างประจำ • ยกเว้น เงินเพิ่มพิเศษสำหรับข้าราชการ • ซึ่งมีตำแหน่งหน้าที่ประจำอยู่ในต่างประเทศ (พ.ข.ต.) • เงินค่าตอบแทนนอกเหนือจากเงินเดือน

  14. ค่าใช้จ่ายที่นำเข้าระบบจ่ายตรง (ต่อ) 2. งบดำเนินงาน • เงินตอบแทนพิเศษ • เงินค่าเช่าบ้าน • (กรณีส่วนราชการมีความประสงค์ขอเบิก) • เงินค่าตอบแทนรถประจำตำแหน่ง • (กรณีส่วนราชการมีความประสงค์ขอเบิก) 3. งบกลาง # เงินสมทบ ชดเชย กบข. / กสจ.

  15. เงินที่หักจากเงินเดือน / ค่าจ้างประจำ • เงินที่มีกฎหมายกำหนดให้หักจากเงินเดือน • และค่าจ้างประจำ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เงินสะสม ( กบข/กสจ)

  16. เงินที่หักจากเงินเดือน / ค่าจ้างประจำ (ต่อ) • เงินที่ไม่มีกฎหมายกำหนดให้หักจากเงินเดือน • และค่าจ้างประจำ * หนี้ที่ต้องชำระให้แก่ส่วนราชการ * หนี้ที่จ่ายชำระหนี้ให้แก่บุคคลที่สาม

  17. การหักเงินชำระหนี้ 1. เจ้าหนี้ประสานขอความร่วมมือกับส่วนราชการ ให้ดำเนินการหักเงิน 2. ส่วนราชการกำหนดหนี้ที่จะบริการการหัก 3. ผู้มีสิทธิมีหนังสือยินยอมให้หักเงิน3.1 กับเจ้าหนี้3.2 กับส่วนราชการ

  18. การหักเงินชำระหนี้(ต่อ)การหักเงินชำระหนี้(ต่อ) 4. ผู้มีสิทธิเรียงลำดับหนี้5. ส่วนราชการดูแลเรื่องการเรียงลำดับหนี้ 6. จำนวนหนี้ที่แจ้งหักแต่ละบุคคลไม่เกินจำนวนเงินเดือน / ค่าจ้างประจำสุทธิ ที่เหลือหลังหักภาษีฯ และค่าธรรมเนียมธนาคาร( ถ้ามี) 7. กรมบัญชีกลางจะนำเงินที่ส่วนราชการแจ้งว่าเป็นรายการหนี้ เข้าบัญชีส่วนราชการส่วนกลาง

  19. จะเข้าร่วมโครงการ ได้อย่างไร

  20. ส่วนราชการ 1. ได้รับการตรวจสอบฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐประจำปี 2. อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (สามารถเชื่อมต่อกับ Internet ได้) 3. เตรียมข้อมูล 3.1 วันเริ่มรับราชการ 3.5 รายการลดหย่อน 3.2 วันเดือนปีเกิด 3.6 รายการหนี้ที่ให้หัก 3.3 เลขประจำตัวประชาชน 3.7 ที่อยู่ 3.4 เลขบัญชีธนาคาร

  21. กรมบัญชีกลาง • ตรวจสอบฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐประจำปี • 2. บันทึกข้อมูลฐานบุคลากรภาครัฐในระบบบัญชีถือจ่าย • ให้เป็นปัจจุบัน • 3. ส่งมอบระบบการบันทึกข้อมูล

  22. แนวทางการดำเนินงาน

  23. ส่วนราชการ • 1. บันทึกการเปลี่ยนแปลงฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐ เช่น บรรจุ แต่งตั้ง เลื่อนเงินเดือน โยกย้าย พ้นจากราชการ ฯลฯ • 2. ประมวลผลการเบิกเงินเดือน/ค่าจ้างประจำ • 3. บันทึกรายการขอเบิกและหักหนี้ • ออกรายงาน และตรวจสอบข้อมูลการเบิกเงินเดือน/ค่าจ้างประจำ • ส่งเอกสารการขอเบิกเงินเดือน/ค่าจ้างประจำในแต่ละเดือน • ให้กรมบัญชีกลาง ภายในวันที่ 12 ของเดือน • 6. กรณีมีการแก้ไข ต้องส่งให้กรมบัญชีกลางภายในวันที่ 17 ของเดือน

  24. กรมบัญชีกลาง • 1. ดำเนินการโอนย้ายข้อมูลการขอเบิกเงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ ตามที่ส่วนราชการแจ้ง • ตรวจสอบและอนุมัติ • 3. เบิกเงินต่าง ๆ ที่ส่วนราชการขอเบิก ในระบบ GFMIS • 4. ดำเนินการโอนเงิน • 4.1 กบข./กสจ.- เข้าบัญชี กบข./กสจ. • 4.2 ภาษี - เข้าบัญชีรายได้แผ่นดิน(กรมสรรพากร) • 4.3 หนี้ - เข้าบัญชีส่วนราชการ • 4.4 เงินเดือน/ค่าจ้างสุทธิ - เข้าบัญชีผู้มีสิทธิ

  25. วันรับเงินเดือน / ค่าจ้าง 3 วัน ก่อนวันทำการสุดท้าย ของเดือน

  26. ส่วนราชการดำเนินการอย่างไรส่วนราชการดำเนินการอย่างไร เมื่อได้รับรายการหนี้ 1. หนี้บุคคลที่สาม 1.1 ชำระเจ้าหนี้ 1.2 ส่งให้หน่วยงานในสังกัดเพื่อนำไปชำระหนี้ 2. หนี้ทางราชการให้นำส่งคลังในระบบ GFMIS

  27. การให้บริการของระบบ 1. หนังสือรับรองการจ่ายเงิน (Slip) 2. หนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย 3. การจัดทำข้อมูลการหักภาษี ณ ที่จ่าย ส่งกรมสรรพากร 4. การจัดส่งเงินและข้อมูลให้ กบข/กสจ

  28. โครงการจ่ายตรงเงินเดือน / ค่าจ้างประจำ ผู้รับ เงินเดือน / ค่าจ้างประจำ หนี้ สหกรณ์ เจ้าหนี้ ส่วนราชการ (ภูมิภาค) ภาษี ส่วนราชการ (ส่วนกลาง) กรมบัญชีกลาง สหกรณ์ เจ้าหนี้ กบข. กสจ. • ข้อมูล • เงินเดือน / ค่าจ้างประจำ • รายการหนี้ • กบข/กสจ • ภาษี • วันที่ 12 ของเดือน

  29. แนวทางการดำเนินการเบิกจ่ายเงินเดือนและค่าจ้างประจำของส่วนราชการแนวทางการดำเนินการเบิกจ่ายเงินเดือนและค่าจ้างประจำของส่วนราชการ ส่วนราชการ กรมบัญชีกลาง เดือนแรกของการเริ่มโครงการฯ เดือนต่อๆไป ระบบฐานข้อมูล บุคลากร ของกรมบัญชีกลาง การเบิกเงินเดือน/ค่าจ้างประจำ ในเดือนต่อๆไป ให้ดำเนินการ เช่นเดียวกับการดำเนินงาน เช่นเดียวกับข้อ 2-4 ในเดือนแรก กรมบัญชีกลางโอนย้ายข้อมูล ไม่ถูกต้อง 1. บันทึกข้อมูลของข้าราชการ/ลูกจ้างประจำ - เลขที่บัญชีเงินฝากธนาคาร - เลขประจำตัวประชาชน - การลดหย่อนภาษี - ที่อยู่ สำหรับการออกหนังสือรับรองภาษี 2. บันทึกการเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบและไม่มีผลกระทบ เช่น คำสั่งบรรจุ แต่งตั้ง โยกย้าย เลื่อนระดับ/ชั้นยศ ลดขั้น ไล่ออก ลาออก 3. บันทึกรายการขอเบิกและหักหนี้ 4. ประมวลผลเพื่อออกรายงาน พร้อมทั้งตรวจสอบและ ส่งเอกสารการขอเบิกเงินเดือน/ค่าจ้างประจำในแต่ละเดือน ให้กรมบัญชีกลาง ภายในวันที่ 12 ของเดือน ซึ่งประกอบด้วย - หนังสือนำส่งรายละเอียดขอเบิกจ่ายเงินเดือน/ค่าจ้างประจำ ประจำเดือน………… - รายละเอียดการแจ้งรายการขอเบิกเงินเดือน/ค่าจ้างประจำ และเงินอื่นๆ ประจำเดือน ……………...พ.ศ…… กรณีมีการเปลี่ยนแปลงบัญชีเงินฝากธนาคาร ของข้าราชการ/ลูกจ้างประจำ ให้ส่วนราชการบันทึกการเปลี่ยนแปลง ในระบบการจ่ายเงินเดือน/ค่าจ้างประจำของกรมบัญชีกลาง และตรวจสอบความถูกต้อง พร้อมแจ้งกรมบัญชีกลาง ภายในวันที่ 17 ของเดือน ที่มีการบันทึกการเปลี่ยนแปลง

  30. ธนาคารรัฐวิสาหกิจ/ ธนาคารพาณิชย์ กรมบัญชีกลาง แนวทางการดำเนินการเบิกจ่ายเงินเดือนและค่าจ้างประจำของกรมบัญชีกลาง ส่วนราชการ กรมบัญชีกลางโอนย้ายข้อมูล เข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของผู้มีสิทธิ ส่งข้อมูล การโอนเงิน ไม่ถูกต้อง ตรวจสอบ เงินเดือน/ค่าจ้างประจำสุทธิ ถูกต้อง อนุมัติ กบข./ กสจ. สั่งจ่าย ภาษี หนี้บุคคลที่ 3 กบข.กสจ. กรมสรรพากร ส่วนราชการ

  31. ตารางแสดงอัตราค่าธรรมเนียมตารางแสดงอัตราค่าธรรมเนียม การโอนเงินโครงการจ่ายตรงฯ ของกรมบัญชีกลาง

  32. * ยกเว้น ยกเว้น 5.00 * * * * ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) คิดค่าธรรมเนียมรายการละ 5 บาท ใช้ประมาณเดือนกรกฎาคม 2549 การโอนเงินระบบ In-House อัตราค่าธรรมเนียม (บาท/รายการ) รายชื่อธนาคาร ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) ธนาคารนครหลวงไทย จำกัด (มหาชน) ธนาคารไทยธนาคาร จำกัด (มหาชน) ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารออมสิน ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) * ยกเว้นเฉพาะการโอนในครั้งแรกของเดือน หากมีการโอนในครั้งต่อไปภายในเดือนนั้นๆ คิดค่าธรรมเนียมรายการละ 5 บาท

  33. การโอนเงินระบบ SMART อัตราค่าธรรมเนียม (บาท/รายการ) รายชื่อธนาคาร ธนาคารยูไนเต็ด โอเวอร์ซีส์ (ไทย) จำกัด (มหาชน) ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารสแตนดาร์ด ชาร์เตอร์ด (ไทย)จำกัด (มหาชน) ธนาคารธนชาติ จำกัด (มหาชน) • ไม่เกิน 100,000 บาท • = 7.40 • ตั้งแต่ 100,001 ขึ้นไป • แต่ไม่เกิน 500,000 บาท • =25.40 • ตั้งแต่ 500,001 ขึ้นไป • แต่ไม่เกิน 2,000,000 บาท • = 64.40 # อัตราค่าธรรมเนียมการโอนเงินดังกล่าวใช้ตั้งแต่วันที่ 3 เมษายน 2549 เป็นต้นไป หากมีการเปลี่ยนแปลงจะแจ้งให้ทราบในโอกาสต่อไป

  34. ระยะเวลาการดำเนินการ ตั้งแต่ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2546

  35. จำนวนส่วนราชการที่เข้าโครงการจ่ายตรงเงินเดือนและค่าจ้างประจำจำนวนส่วนราชการที่เข้าโครงการจ่ายตรงเงินเดือนและค่าจ้างประจำ • มกราคม 2546 – 2553 จำนวน 135 ส่วนราชการ • ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2553 เป็นต้นไป (ชะลอการเข้าโครงการจ่ายตรงเงินเดือน/ค่าจ้างประจำ เนื่องจาก อยู่ระหว่างการปรับปรุงระบบเป็น Web Application และรองรับระบบแท่งข้าราชการ/ลูกจ้างประจำ)

  36. ข้อสังเกต/ปัญหาที่พบบ่อยข้อสังเกต/ปัญหาที่พบบ่อย

  37. ข้อสังเกตของบัญชีเงินฝากธนาคารข้อสังเกตของบัญชีเงินฝากธนาคาร • ไม่จำกัด ธนาคาร / สาขา / จังหวัด • ใช้เฉพาะออมทรัพย์ /สะสมทรัพย์ / กระแสรายวัน • ห้ามใช้ประเภทเงินฝากประจำ • ห้ามปิดบัญชีช่วงที่จะโอนเงินเข้าบัญชี

  38. การป้องกันปัญหาเงินไม่เข้าบัญชีการป้องกันปัญหาเงินไม่เข้าบัญชี • ห้ามปิดบัญชีช่วงโอนเงิน • ไม่มีการอายัดบัญชี • ใช้บริการสม่ำเสมอเพื่อให้บัญชีเคลื่อนไหว • ตรวจสอบเลขที่บัญชีให้ถูกต้อง ก่อนนำข้อมูลเข้าระบบ

  39. ข้อมูลการหักลดหย่อนภาษีข้อมูลการหักลดหย่อนภาษี • กรอกข้อมูลให้ครบถ้วน เช่น การหักลดหย่อนบุตร ดอกเบี้ยธนาคาร เงินบริจาค เป็นต้น • การแก้ไขข้อมูลการหักลดหย่อนภาษีให้แจ้ง ส่วนราชการต้นสังกัด

  40. ระบบจ่ายตรงในปัจจุบันระบบจ่ายตรงในปัจจุบัน มี 2 ระบบ คือ 1. ระบบ Client 2. ระบบ Web Application

  41. ระบบการทำงานของ 2 ระบบ

  42. ระบบงานตามโครงการจ่ายตรงฯระบบงานตามโครงการจ่ายตรงฯ • ระบบบัญชีถือจ่าย • ระบบการจ่ายเงินเดือน • ระบบทะเบียนประวัติ • ระบบข้อมูลพื้นฐานทั่วไป

  43. การจัดทำฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐการจัดทำฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐ ในรอบ 1 ปี สำนักบริหารการรับ-จ่ายเงินภาครัฐ กรมบัญชีกลาง

  44. ฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐ ณ วันที่ 1 ตุลาคม

  45. STEP 1 บันทึกข้อมูลตามคำสั่ง หรือเอกสาร ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงข้อมูลบุคลากรภาครัฐ จนถึงวันที่ 1 มีนาคม

  46. STEP 2 ออกรายงาน PREGOTA ณ วันที่ 1 มีนาคม และจัดส่งกรมบัญชีกลาง จำนวน 1ชุด

  47. STEP 3 บันทึกข้อมูลตามคำสั่ง หรือเอกสาร ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงข้อมูลบุคลากรภาครัฐ จนถึงวันที่ 31 มีนาคม

  48. STEP 4 เลื่อนเงินเดือน ณ วันที่ 1 เมษายน

  49. STEP 5 ออกรายงาน PREALLOW ณ วันที่ 1 เมษายน และจัดส่งกรมบัญชีกลางจำนวน 1 ชุด

More Related