1 / 18

การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา และมาตรการเฝ้าระวัง สอบสวน ป้องกัน และควบคุมโรค

การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา และมาตรการเฝ้าระวัง สอบสวน ป้องกัน และควบคุมโรค. กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. Ebola Virus Inflicts Deadly Toll on African Health Workers by Africa News. Life after Ebola has new meaning for two survivors now helping others.

Download Presentation

การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา และมาตรการเฝ้าระวัง สอบสวน ป้องกัน และควบคุมโรค

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลาและมาตรการเฝ้าระวัง สอบสวนป้องกัน และควบคุมโรค กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

  2. Ebola Virus Inflicts Deadly Toll on African Health Workers by Africa News Life after Ebola has new meaning for two survivors now helping others

  3. WHO Update 4 September 2014 (as of 31 August 2014) ประเทศที่มีการระบาดในวงกว้าง

  4. WHO Update 4 September 2014 (as of 31 August 2014) ประเทศที่มีผู้ป่วยนำเข้าและ localized transmission

  5. WHO’s Assessment (29 Aug 14) Weekly reported cases • สถานการณ์ในขณะนี้เป็น “ขาเร่ง” • จำนวนผู้ป่วยที่รายงานอย่างเป็นทางการน่าจะต่ำกว่าความเป็นจริงประมาณ 2 - 4 เท่า • จำนวนผู้ป่วยทั้งหมดในการระบาดครั้งนี้อาจถึง 20,000 • - 40% ของผู้ป่วยทั้งหมด เป็นผู้ป่วยรายใหม่ในช่วง 21 วันที่ผ่านมาเท่านั้น • - Treatment center ที่มีอยู่เกือบทุกแห่งเต็มขีดจำกัดแล้ว • - HCWs ไม่ต่ำกว่า 250 คนติดเชื้อ

  6. Distribution of EVD cases in Guinea, Sierra Leone, Liberia and Nigeria by week of reporting, December 2013 – 6 August 2014 Guinea Liberia Sierra Leone source: http://www.who.int/

  7. แผนที่แสดงการขยายตัวของพื้นที่ระบาดใน 3 ประเทศแถบอาฟริกาตะวันตก วันที่ 20 ก.ค. 57 วันที่ 7 ส.ค. 57 วันที่ 31 ส.ค. 57 source: www.cdc.gov/ source: http://www.who.int/

  8. สถานการณ์การระบาดในประเทศไนจีเรียสถานการณ์การระบาดในประเทศไนจีเรีย Staff of ECOWAS เจ้าหน้าที่สนามบิน (15 คน) Patrick Sawyer Confirmed บุคลากรทางการแพทย์ (44 คน) ได้รับการแอบรักษาในโรงแรมที่เมือง Harcourt สัมผัสโรค คนที่มารอรับ Staff of ECOWAS สัมผัสโรค นายแพทย์ Enemuo ยืนยันอีโบลาและเสียชีวิต Lagos 12 confirmed หนี 1 คน (พยาบาล) กักกันได้ 11 คน ผู้สัมผัส 217 ราย เป็นผู้ป่วยยืนยัน 2 คนคือภรรยาและผู้ป่วยในวอร์ดเดียวกับทีนายแพทย์Enemuoได้รับการรักษา (รายนี้เสียชีวิต) หนีไปเมือง Enugu มีผู้สัมผัส 21 คน มีผู้สัมผัส 118 คน • มีผู้ป่วยยืนยันนอกลากอส (2ocontact) แต่ยังเชื่อมโยงกับ index case • ภรรยาของนายแพทย์ Enemuo มีอาการป่วยและพบเชื้อ (3ocontact)

  9. นิยามเฝ้าระวัง ผู้ป่วยโรคติดเชื้ออีโบลา ผู้ป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวน (PUI: patient under investigation) • ผู้ที่มีอาการไข้ตั้งแต่ 38 องศาเซลเซียสขึ้นไป ร่วมกับ มีประวัติสัมผัสโรคในช่วง 21 วันก่อนเริ่มป่วย ข้อใดข้อหนึ่ง ต่อไปนี้ - อาศัยอยู่ หรือ เดินทางมาจากประเทศที่เกิดโรค (ณ ปัจจุบัน ได้แก่ กินี ไลบีเรีย เซียราลีโอน และเมืองลากอส ไนจีเรีย) - สัมผัสผู้ป่วยหรือศพของผู้ป่วยที่สงสัยติดเชื้ออีโบลา - สัมผัสโดยตรงกับสัตว์จำพวกค้างคาว หนู ลิง สัตว์ป่าเท้ากีบที่มาจากฃ พื้นที่เกิดโรค

  10. นิยามเฝ้าระวัง ผู้ป่วยโรคติดเชื้ออีโบลา ผู้ป่วยสงสัย (suspect case) ได้แก่ ผู้ป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวนที่มี • อาการอย่างน้อย 3 จากอาการดังต่อไปนี้ ปวดศีรษะมาก ปวดข้อมาก ปวดกล้ามเนื้อมาก ปวดแน่นท้อง อาเจียน ถ่ายเหลว สะอึก กลืนลำบาก ซึม หรือ • เลือดออกผิดปกติ / อาการแย่ลงเร็ว / เสียชีวิต โดยไม่ทราบสาเหตุอื่นๆ ที่ชัดเจน ผู้ป่วยน่าจะเป็น (probable case) ได้แก่ ผู้ป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวน ที่มีประวัติสัมผัสผู้ป่วยหรือศพของผู้ป่วยที่ยืนยัน/น่าจะเป็นผู้ติดเชื้ออีโบลา

  11. นิยามเฝ้าระวัง ผู้ป่วยโรคติดเชื้ออีโบลา ผู้ป่วยยืนยัน (Confirmed case) • ผู้ป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวนที่มีผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ พบหลักฐานการติดเชื้อไวรัสอีโบลา ด้วยวิธี • ทั้ง Ebola Realtimeและ Conventional RT-PCR ให้ผลบวก จากตัวอย่างเลือดที่ตรวจโดยห้องปฏิบัติการที่แตกต่างกัน และเก็บอย่างน้อยวันที่ 5 หลังเริ่มมีอาการ รวมทั้งมีผล Nucleotide sequencing จากห้องปฏิบัติการอย่างน้อย 1 แห่งหรือ • สามารถแยกเชื้อไวรัสอีโบลา (viral isolation) หมายเหตุ ณ ปัจจุบัน ห้องปฏิบัติการในประเทศไทย ยังไม่ทำการแยกเชื้อไวรัสอีโบลาในห้องปฏิบัติการ เนื่องจากต้องการความปลอดภัยสูงในระดับ BSL4 การแยกเชื้อไวรัสอีโบลาต้องนำส่งห้องปฏิบัติการของ US CDC

  12. นิยามเฝ้าระวัง ผู้ป่วยโรคติดเชื้ออีโบลา ตัดออกจากการเป็นผู้ป่วย (discarded) ผู้ป่วยที่มีผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ ไม่พบหลักฐานการติดเชื้อไวรัสอีโบลาจากทั้ง Ebola Realtimeและ Conventional RT-PCR ให้ผลลบ จากตัวอย่างเลือดที่เก็บในช่วงเวลาที่เหมาะสม (อย่างน้อยวันที่ 5 หลังเริ่มมีอาการ) และตรวจโดยห้องปฏิบัติการที่แตกต่างกัน

  13. ข้อตกลงปัจจุบันเรื่องการเก็บเลือดส่งตรวจอีโบลาข้อตกลงปัจจุบันเรื่องการเก็บเลือดส่งตรวจอีโบลา • การเก็บตัวอย่างและการส่งตรวจ • เก็บ whole blood/ EDTA 3 หลอด โดยกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์หรือศูนย์วิทย์ฯจะเป็นผู้ไปรับตัวอย่างที่โรงพยาบาล • สำนักระบาดวิทยาไปรอที่กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เพื่อแบ่งเลือด 1 หลอดนำส่งคณะแพทย์จุฬาฯ • หากการส่งตรวจนั้นทำในช่วง 4 วันแรกหลังเริ่มป่วย ให้เก็บตัวอย่างซ้ำในวันที่ 5

  14. ข้อตกลงปัจจุบันเรื่องการเก็บเลือดส่งตรวจอีโบลาข้อตกลงปัจจุบันเรื่องการเก็บเลือดส่งตรวจอีโบลา • การเก็บตัวอย่าง routine lab. • ให้ตรวจอีโบลาก่อน เมื่อได้ผลลบ (ตั้งแต่การส่งตรวจครั้งแรก) แล้วจึงตรวจ routine lab. • เลือกที่ส่งตรวจครั้งแรก กรมวิทย์จะช่วยตรวจ malaria, dengue และส่งให้บำราศฯตรวจ CBC (เฉพาะในช่วง 1 เดือนแรกซึ่งรอการพัฒนาห้องแลปในพื้นที่)

  15. ให้ใช้แบบบันทึกนี้สำหรับบันทึกข้อมูลให้ใช้แบบบันทึกนี้สำหรับบันทึกข้อมูล ผู้ป่วยส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการฯ ด้วย

  16. มาตรการควบคุมโรคของไทยมาตรการควบคุมโรคของไทย • ด้านยุทธศาสตร์ (STAG) - ปรึกษาหารือร่วมกับกระทรวงต่างประเทศ เพื่อพิจารณาการขยายพื้นที่การประกาศเขตติดโรค ประกอบความเกี่ยวพันทางด้านเศรษฐกิจ และการเดินทาง กรณีเมือง Port Harcourt ประเทศไนจีเรีย, Senegal, DR Congo • จัดระบบบริหารจัดการใช้ทรัพยากร เช่น PPE และอุปกรณ์ต่างๆโดยให้สคร.ที่รับผิดชอบพื้นที่สนับสนุนให้กับจังหวัดในลำดับแรกและสำนักโรคติดต่อทั่วไปสนับสนุนสคร.ในลำดับต่อไป (สำนักโรคติดต่อทั่วไป)

  17. มาตรการควบคุมโรคของไทยมาตรการควบคุมโรคของไทย • การดูแลรักษาและป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล • สถานพยาบาลเตรียมห้องแยกผู้ป่วยและห้องแลปของโรงพยาบาลศูนย์ภายใน 2 สัปดาห์ • การรักษาผู้ป่วยตามแนวทางการวินิจฉัย ดูแลรักษา และควบคุมป้องกันการติดเชื้อที่กรมการแพทย์กำหนด และให้คำปรึกษาแก่แพทย์ พยาบาลในการรักษาตลอด 24 ชั่วโมง • คณะทำงานด้านการแพทย์ได้จัดทำคำแนะนำการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไวรัสอีโบลา การรับและส่งต่อผู้ป่วยโรคติดต่อร้ายแรง การทำลายเชื้อในสิ่งแวดล้อมสำหรับบุคลากรและเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ที่เกี่ยวข้อง

  18. การซักซ้อมการเตรียมความพร้อมในระดับจังหวัดการซักซ้อมการเตรียมความพร้อมในระดับจังหวัด • เชิญทีมวิทยาการให้ความรู้เพื่อเป็นรูปแบบดำเนินงาน (model)โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา ให้กับพื้นที่ส่วนภูมิภาค เนื้อหาประกอบด้วย Situation (การเฝ้าระวัง สอบสวนโรค), Clinicalmanagement, Infectious control, Lab, Risk communication, ICS โดยเริ่มที่จังหวัดเชียงใหม่ในวันที่ 4 กันยายน 57 และพิจารณาให้ครอบคลุมพื้นที่เสี่ยงอื่นๆ • ซ้อมแผนใน 23 จังหวัดเสี่ยงภายในเดือนกันยายน ให้แก่เจ้าหน้าที่สาธารณสุขทั้งแพทย์ พยาบาล พยาบาลควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล เทคนิคการแพทย์ และทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็วในระดับจังหวัด โดยเน้นการดำเนินการในโรงพยาบาล

More Related