1 / 54

เทคนิคและหลักเกณฑ์การกำหนดเป้าหมาย และแผนอนุรักษ์พลังงานสำหรับระบบปรับอากาศ

เทคนิคและหลักเกณฑ์การกำหนดเป้าหมาย และแผนอนุรักษ์พลังงานสำหรับระบบปรับอากาศ. เทคนิคและหลักเกณฑ์การกำหนดเป้าหมาย และแผนอนุรักษ์พลังงานสำหรับระบบปรับอากาศ. 1. วิธีจัดการการใช้พลังงาน เพื่อลดความต้องการพลังไฟฟ้า 2. การวิเคราะห์และตรวจสอบการใช้พลังงาน

Download Presentation

เทคนิคและหลักเกณฑ์การกำหนดเป้าหมาย และแผนอนุรักษ์พลังงานสำหรับระบบปรับอากาศ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เทคนิคและหลักเกณฑ์การกำหนดเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงานสำหรับระบบปรับอากาศเทคนิคและหลักเกณฑ์การกำหนดเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงานสำหรับระบบปรับอากาศ

  2. เทคนิคและหลักเกณฑ์การกำหนดเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงานสำหรับระบบปรับอากาศเทคนิคและหลักเกณฑ์การกำหนดเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงานสำหรับระบบปรับอากาศ 1. วิธีจัดการการใช้พลังงาน เพื่อลดความต้องการพลังไฟฟ้า 2. การวิเคราะห์และตรวจสอบการใช้พลังงาน 3. เทคนิคการคำนวณหาต้นทุนของการใช้พลังงานของระบบปรับ อากาศจำแนกตามประเภท 4. การศึกษาและหามาตรการอนุรักษ์พลังงาน 5. เทคนิคการบันทึกการใช้พลังงาน 6. การจัดทำรายงานเสนอฝ่ายบริหาร

  3. 1. วิธีจัดการการใช้พลังงาน เพื่อลดความต้องการพลังไฟฟ้า 1.1 อัตราค่าไฟฟ้า 1 ) อัตราปกติ ( Two Part Tariff ) 2 ) อัตราตามช่วงเวลาของวัน ( TOD Rate ) 3 ) อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ ( TOU Rate )

  4. > อัตราปกติ P = 30 - 999 กิโลวัตต์ และ E < 250,000 หน่วยต่อเดือน

  5. ประเภทที่ 3.1 อัตราปกติ P = 30 - 999 กิโลวัตต์ และ E < 250,000 หน่วยต่อเดือน 28 วัน มี Demand เกิดขึ้น 2,688 ครั้ง 29 วัน มี Demand เกิดขึ้น 2,784 ครั้ง 30 วัน มี Demand เกิดขึ้น 2,880 ครั้ง 31 วัน มี Demand เกิดขึ้น 2,976 ครั้ง @ Demand ครั้งที่มีค่าสูงที่สุด จะถูกนำไปคิดค่า Demand ตามอัตราที่กำหนดไว้

  6. ประเภทที่ 4.1 อัตราตามช่วงเวลาของวัน ( TOD ) ในช่วงเวลา 24 ชั่วโมงในแต่ละวัน จะถูกแบ่งออกเป็น 3 ช่วง ดังนี้

  7. อัตรา TOD หมายเหตุ * คิดค่า Demand เฉพาะส่วนที่เกินช่วง On Peak เท่านั้น

  8. ประเภทที่ 4.1 อัตราตามช่วงเวลาของวัน ( TOD ) Demand ครั้งที่มีค่าสูงสุด 2 ค่า ( 1 ค่าในช่วง On Peak และอีก 1 ค่าในช่วง Partial Peak ) จะถูกนำไปคิดค่า Demand จำนวนวันใน จำนวนครั้งที่เกิด Demand ในช่วง

  9. อัตรา TOD 00:00 08:00 18:3021:3024:00 น.

  10. อัตรา TOD 1. P < 1,000 kW และ E 250,000 หน่วยต่อเดือน - รายเดิม เลือกอัตราTOU (หรืออัตราปกติ) - รายใหม่ ใช้อัตรา TOU 2. ผู้ใช้ TOU เดิม ต้องใช้ TOU ใหม่ 3. P > 1,000 kW หรือ E > 250,000 หน่วยต่อเดือน ตั้งแต่เดือน ตุลาคม 2543 ต้องใช้อัตรา TOU

  11. > อัตรา TOD

  12. อัตรา TOU

  13. 1. วิธีจัดการการใช้พลังงาน เพื่อลดความต้องการพลังไฟฟ้า 1.2 ประโยชน์ที่ได้จากการลดพลังไฟฟ้าสูงสุด 1 ) ได้ลดค่าไฟฟ้า ( ค่าไฟฟ้าต่อหน่วยถูกลง ) 2 ) ลดภาระต่อระบบไฟฟ้าของหน่วยงาน ทำให้สามารถจ่ายโหลดอื่น ๆ เพิ่มเติมได้มากขึ้น 3 ) ระบบไฟฟ้าของประเทศมีประสิทธิภาพสูงขึ้น

  14. ความสัมพันธ์ของค่าไฟฟ้ากับลักษณะการใช้ไฟฟ้าความสัมพันธ์ของค่าไฟฟ้ากับลักษณะการใช้ไฟฟ้า อัตราปกติ 1.7034 1.7034 ( T = จำนวนชั่วโมงในเดือนที่คิดค่าไฟฟ้า )

  15. การวิเคราะห์ค่าไฟฟ้า : อัตราปกติ

  16. การเพิ่มค่า Load Factor 1. ลดความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด P ให้เหลือต่ำสุดเท่าที่จะทำได้ โดยการใช้ไฟฟ้าให้สม่ำเสมอให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ 2. เพิ่มการใช้พลังงานไฟฟ้า E ให้สูงขึ้น โดยการเพิ่มกิจกรรม เช่น เพิ่มช่วงการทำงานเป็น 2 กะ หรือ 3 กะ

  17. ความสัมพันธ์ของค่าไฟฟ้ากับลักษณะการใช้ไฟฟ้าความสัมพันธ์ของค่าไฟฟ้ากับลักษณะการใช้ไฟฟ้า อัตรา TOD ( ถ้า P > PP ให้ PP - P = 0 )

  18. การวิเคราะห์ค่าไฟฟ้า : อัตรา TOD ต้องการลด บาทต่อหน่วย ต้องลด P/PP และเพิ่มค่า LF

  19. การวิเคราะห์ค่าไฟฟ้า : อัตรา TOD ต้องการลด บาทต่อหน่วย ต้องลด P/PP , PP/OP และเพิ่มค่า LF

  20. การวิเคราะห์ค่าไฟฟ้า : อัตรา TOD

  21. การลดอัตราส่วน P / PP 1. ย้ายโหลดตอนหัวค่ำ ( 18:30 - 21:30 ) ไปเดินตอนกลางคืน ( 21:30 - 08:00 ) จะลดค่าไฟฟ้าได้ 226.17 บาท/kW 2. ย้ายโหลดตอนหัวค่ำไปเดินตอนกลางวัน ( 08:00 - 18:30 ) จะลดค่าไฟฟ้าได้ 167.29 บาท / kW. 3. ปั่นไฟใช้เองตอนหัวค่ำ 4. หากทำงานแบบ 2 กะ ให้แยกเวลาทำงานระหว่างกะตอนหัวค่ำ จะช่วยลดค่าไฟฟ้าได้ 226.17 บาท / kW.

  22. แนวทางการลดค่าไฟฟ้า อัตรา TOD ต้องหลีกเลี่ยงการใช้ไฟฟ้าในช่วงเวลาหัวค่ำ ( 18:30 - 21:30 น. ของทุกวัน ) ให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ พลาดครั้งเดียว ( แค่ 15 นาที ) ก็ไม่ได้ เพิ่มการใช้ไฟฟ้าในช่วงกลางคืนถึงตอนเช้า ( 21:30 - 08:00 ) น. แทนการ ใช้ตอนหัวค่ำ ใช้ไฟฟ้าตอนกลางวันให้สม่ำเสมอที่สุด

  23. ความสัมพันธ์ของค่าไฟฟ้ากับลักษณะการใช้ไฟฟ้าความสัมพันธ์ของค่าไฟฟ้ากับลักษณะการใช้ไฟฟ้า เสาร์ อาทิตย์ และวันหยุดราชการปกติ อัตรา TOU - 2

  24. การวิเคราะห์ค่าไฟฟ้า : อัตรา TOU ต้องการลด บาทต่อหน่วย ต้องลด E 1 และเพิ่มค่า LF

  25. การวิเคราะห์ค่าไฟฟ้า : อัตรา TOU ต้องการลด บาทต่อหน่วย ต้องลด E1 , P และเพิ่มค่า LF E OP

  26. การวิเคราะห์ค่าไฟฟ้า : อัตรา TOU

  27. แนวทางการลดค่าไฟฟ้า อัตรา TOU ใช้ไฟฟ้าตอนกลางวันถึงหัวค่ำ ( 09:00 - 22:00 น. ) ของวันจันทร์ - ศุกร์ ยกเว้นวันหยุดราชการตามปกติให้สม่ำเสมอที่สุด เปลี่ยนไปใช้ไฟฟ้าตอนกลางคืนถึงช่วงเช้า ( 22:00 - 09:00 น. ) ของวันจันทร์ - ศุกร์ แทนการใช้ตอนกลางวันถึงหัวค่ำ ใช้ไฟฟ้าในช่วงวันเสาร์ - อาทิตย์และวันหยุดราชการตามปกติให้ได้ประโยชน์มากที่สุดเท่าที่จะทำได้

  28. 1. วิธีจัดการการใช้พลังงาน เพื่อลดความต้องการพลังไฟฟ้า 1.3 แนวทางการลดพลังไฟฟ้าสูงสุด 1 ) เปลี่ยนแปลงเวลาทำงานของเครื่องจักรขนาดใหญ่ ไม่ให้ ทำงานพร้อม ๆ กัน 2 ) ลดปริมาณการใช้ไฟฟ้าของเครื่องจักรลงในเวลาที่มีการใช้ งานพร้อม ๆ กัน 3 ) เลือกใช้อุปกรณ์ประสิทธิภาพสูง 4 ) ใช้ระบบเก็บสะสมพลังงานแทนระบบปกติ เช่น ระบบ ปรับอากาศแบบ ICE STORAGE

  29. 1. วิธีจัดการการใช้พลังงาน เพื่อลดความต้องการพลังไฟฟ้า 1.4 วิธีการควบคุมพลังไฟฟ้าสูงสุด 1 ) ใช้คนควบคุมให้มีการใช้พลังไฟฟ้าตามที่กำหนด 2 ) ใช้อุปกรณ์ควบคุมอัตโนมัติ เช่น Demand Controller , BAS

  30. 1. วิธีจัดการการใช้พลังงาน เพื่อลดความต้องการพลังไฟฟ้า 1.4.1 ขั้นตอนในการดำเนินการควบคุมพลังไฟฟ้าสูงสุด 1 ) รวบรวมข้อมูลของอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ 2 ) วางแผนดำเนินการลดค่าพลังไฟฟ้าสูงสุด 3 ) ดำเนินการควบคุมและติดตามผล

  31. 1. วิธีจัดการการใช้พลังงาน เพื่อลดความต้องการพลังไฟฟ้า 1.4.1.1 การรวบรวมข้อมูลของอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ 1 ) จัดทำรายการเครื่องจักร / อุปกรณ์ไฟฟ้า 2 ) สำรวจรายละเอียดการใช้งานเครื่องจักร / อุปกรณ์ไฟฟ้า 3 ) จัดทำ Single Diagram ที่สมบูรณ์ 4 ) รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการผลิต ( โรงงาน ) การทำงาน( อาคาร ) และผลกระทบหากมีการเปลี่ยนแปลงวิธีการใช้งานเครื่องจักร / อุปกรณ์ไฟฟ้า 5 ) วิเคราะห์สภาพการใช้ไฟฟ้า โดยการหาค่า Load Factor 6 ) สำรวจการใช้ไฟฟ้ารายวัน ( หา Load Curves )

  32. 1. วิธีจัดการการใช้พลังงาน เพื่อลดความต้องการพลังไฟฟ้า ตัวอย่างการวิเคราะห์หาค่าตัวประกอบโหลดรายวัน

  33. 1. วิธีจัดการการใช้พลังงาน เพื่อลดความต้องการพลังไฟฟ้า

  34. 1. วิธีจัดการการใช้พลังงาน เพื่อลดความต้องการพลังไฟฟ้า 1.4.1.2 การวางแผนดำเนินการลดค่าพลังไฟฟ้าสูงสุด 1 ) เปลี่ยนแปลงเวลาทำงานของเครื่องจักร 2 ) ลดปริมาณการใช้ไฟฟ้าของเครื่องจักร 3 ) หยุดการใช้งานเครื่องจักรในช่วงเวลากำหนด 4 ) ใช้พลังงานรูปแบบอื่นแทนไฟฟ้า

  35. 1. วิธีจัดการการใช้พลังงาน เพื่อลดความต้องการพลังไฟฟ้า แนวทางในการลดค่าพลังไฟฟ้าสูงสุด 1 ) เปลี่ยนเวลาทำงานของเครื่องจักร 2 ) ลดปริมาณการใช้ไฟฟ้าของเครื่องจักรลง 3 ) ใช้วิธีการสะสมพลังงานล่วงหน้า 4 ) ลดขนาดของเครื่องจักรให้เหมาะสมกับขนาดของโหลด

  36. 1. วิธีจัดการการใช้พลังงาน เพื่อลดความต้องการพลังไฟฟ้า แนวทางในการลดค่าพลังไฟฟ้าสูงสุด 5 ) ใช้พลังงานรูปแบบอื่น เช่น LPG , น้ำมัน แทนไฟฟ้า 6 ) เดินเครื่องกำเนิดไฟฟ้าสำรองจ่ายโหลดแทน 7 ) ใช้อุปกรณ์ประสิทธิภาพสูง 8 ) ปรับเปลี่ยนวิธีการทำงาน 9 ) สร้างจิตสำนึกให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการลดไฟฟ้า

  37. 1. วิธีจัดการการใช้พลังงาน เพื่อลดความต้องการพลังไฟฟ้า 1.4.1.3 การดำเนินการควบคุมและติดตามผล 1 ) ทดลองปฏิบัติ 2 ) บันทึกผลการดำเนินงาน 3 ) ตรวจสอบผล - วัด Load Curves รายวัน - จากใบเสร็จรับเงิน วิเคราะห์ค่า LFMและ B/kWh

  38. 1. วิธีจัดการการใช้พลังงาน เพื่อลดความต้องการพลังไฟฟ้า 1.4.2 การหาข้อมูลการใช้ไฟฟ้ารายวัน ( Load Curves ) 1 ) จุดประสงค์ • ใช้วิเคราะห์หา LFD • ใช้วางแผนการใช้งานเครื่องจักร • ใช้ควบคุมการใช้พลังงานของหน่วยงาน • ใช้ตรวจสอบความผิดปกติอื่น ๆ 2 ) วิธีการหา • จาก Power Recorder • จาก kWh Meter • จากลักษณะการใช้งานเครื่องจักร

  39. 1. วิธีจัดการการใช้พลังงาน เพื่อลดความต้องการพลังไฟฟ้า 1.4.3 การประยุกต์ใช้ข้อมูล 1 ) เพื่อตรวจสอบสภาพการใช้ไฟฟ้า 2 ) เพื่อวางแผนการใช้ไฟฟ้าให้เหมาะสม และมีประสิทธิภาพสูงขึ้น 3 ) เพื่อตรวจสอบความสัมฤทธิ์ผลของการดำเนินการ

  40. 2. การตรวจสอบและการวิเคราะห์การใช้พลังงาน 2.1 การรวบรวมข้อมูล 1 ) ชนิดและปริมาณการใช้พลังงานต่อปี 2 ) ปริมาณผลผลิต ( โรงงาน ) หรือกิจกรรม ( อาคาร) ของหน่วยงาน 3 ) แผนผังแสดงการใช้พลังงานในระบบต่าง ๆ 4 ) รายละเอียดอุปกรณ์หลักที่ใช้พลังงาน 5 ) รายละเอียดการตรวจวัดสภาพการทำงาน และการใช้พลังงานของอุปกรณ์ หลักต่าง ๆ 6 ) รายละเอียดการใช้พื้นที่ของอาคาร 7 ) รายละเอียดโครงสร้างกรอบอาคาร

  41. 2. การตรวจสอบและการวิเคราะห์การใช้พลังงาน 2.2 การวิเคราะห์และตรวจสอบ 1 ) วิเคราะห์หาค่า OTTV ( W/m2 ) 2 ) วิเคราะห์หาค่า RTTV ( W/m2 ) 3 ) วิเคราะห์ค่า W/m2ในระบบแสงสว่าง 4 ) วิเคราะห์ประสิทธิภาพการทำความเย็น ( kW/TR ) 5 ) วิเคราะห์ค่าดัชนีการใช้พลังงานในรูปแบบต่าง ๆ

  42. 2. การตรวจสอบและการวิเคราะห์การใช้พลังงาน ศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 1 ) การลดความร้อนจากแสงอาทิตย์ที่เข้ามาในอาคาร 2 ) การปรับอากาศอย่างมีประสิทธิภาพ 3 ) การใช้วัสดุก่อสร้างอาคารที่ช่วยอนุรักษ์พลังงาน 4 ) การใช้แสงสว่างในอาคารอย่างมีประสิทธิภาพ 5 ) การใช้เครื่องจักร ฯ ที่ก่อให้เกิดการอนุรักษ์พลังงาน 6 ) การใช้ระบบควบคุมการทำงานของเครื่องจักร 7 ) การลดการสูญเสียจากระบบต่าง ๆ

  43. 3. เทคนิคการคำนวณหาต้นทุนของการใช้พลังงาน ของระบบปรับอากาศจำแนกตามประเภท 3.1 แนวทางในการคำนวณ 1 ) รวบรวมข้อมูลการใช้และค่าใช้จ่ายพลังงานเพื่อนำมา วิเคราะห์ต้นทุนเฉลี่ยของพลังงาน 2 ) ทำสัดส่วนการใช้พลังงานแยกตามระบบ เพื่อนำมาหาต้น ทุนการใช้พลังงานของแต่ละระบบ

  44. 3. เทคนิคการคำนวณหาต้นทุนของการใช้พลังงานของ ระบบปรับอากาศจำแนกตามประเภท สัดส่วนการใช้พลังงานในระบบปรับอากาศ

  45. 4. การศึกษาและหามาตรการอนุรักษ์พลังงาน 4.1 การศึกษาและหามาตรการอนุรักษ์พลังงาน ปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่ลดลงจากการใช้งานเกิดจาก 1 ) ลดโหลดของเครื่องจักร ---> เพิ่มประสิทธิภาพของระบบ 2 ) ลดเวลาใช้งาน ---> เพิ่มประสิทธิภาพการใช้งาน 3 ) ดำเนินการทั้ง 2 แบบผสมกัน

  46. 4. การศึกษาและหามาตรการอนุรักษ์พลังงาน 4.2 เปรียบเทียบข้อมูลกับมาตรฐาน สภาพการทำงานปัจจุบัน ---> สภาพการทำงานตอนที่ ซื้อมาใหม่ ๆ ---> เทคโนโลยีใหม่ที่มาทดแทนของเดิม 1 ) สมรรถนะการทำงานของเครื่องจักรตอนที่ยังอยู่ในสภาพใหม่ 2 ) สมรรถนะการทำงานของเครื่องจักรที่ผู้ผลิตได้ออกแบบไว้ 3 ) สมรรถนะการทำงานของเครื่องจักรรุ่นใหม่ที่มีประสิทธิภาพสูงกว่า

  47. 4. การศึกษาและหามาตรการอนุรักษ์พลังงาน 4.3 เทคนิคเบื้องต้นในการอนุรักษ์พลังงานในระบบปรับอากาศ 1 ) ทดสอบการทำงานและปรับสภาพทุกปี 2 ) เริ่มเดินเครื่องช้า แต่หยุดเดินเครื่องเร็ว 3 ) เดินเครื่องทำความเย็นให้เหมาะสมกับสภาพโหลด 4 ) ตั้งอุณหภูมิของน้ำเย็นและน้ำหล่อเย็นอย่างเหมาะสม 5 ) ตั้งอุณหภูมิอากาศในห้องที่ค่าพอเหมาะ 6 ) ใช้ปริมาณอากาศบริสุทธิ์ที่พอเหมาะ

  48. 4. การศึกษาและหามาตรการอนุรักษ์พลังงาน 4.3 เทคนิคเบื้องต้นในการอนุรักษ์พลังงานในระบบปรับอากาศ 7 ) ควบคุมคุณภาพของน้ำเพื่อป้องกันการเกิดตะกรัน 8 ) ทำความสะอาด Cooling Coil อย่างสม่ำเสมอ 9 ) ทำความสะอาดแผงกรองอากาศอย่างสม่ำเสมอ 10 ) ล้างท่อน้ำ ( Strainer ) ให้สะอาดอยู่เสมอ 11 ) ตรวจสอบและซ่อมรอยรั่วในระบบส่งลมเย็น 12 ) ตรวจสอบและซ่อมรอยรั่วในระบบส่งน้ำเย็น

  49. 4. การศึกษาและหามาตรการอนุรักษ์พลังงาน 4.3 เทคนิคเบื้องต้นในการอนุรักษ์พลังงานในระบบปรับอากาศ 13 ) ตรวจสอบสภาพของฉนวนอย่างสม่ำเสมอ 14 ) ขจัดสิ่งกีดขวางทางลมเข้าและออกจากชุดระบายความร้อน 15 ) บำรุงรักษา( การหล่อลื่น และการปรับความตึงของสายพาน ) อย่างสม่ำเสมอ 16 ) ลดความร้อนจากภายนอกเข้าสู่อาคาร 17 ) ลดความร้อนที่เกิดขึ้นภายในตัวอาคาร

  50. 5. เทคนิคการบันทึกการใช้พลังงาน 5.1 การวิเคราะห์ข้อมูลในอดีต ทำให้ทราบแนวโน้ม 1 ) กำลังเพิ่มขึ้น หรือ ลดลง ( พลังงาน , ราคา ) 2 ) ขึ้นกับฤดูกาลหรือไม่ 3 ) มีข้อมูลครบถ้วนสมบูรณ์เพียงใด 4 ) ความสม่ำเสมอของการใช้พลังงาน

More Related