210 likes | 329 Views
I. กลไกและความหมายที่สำคัญทางเศรษฐศาสตร์. 1. Poverty & Economic. 1/4 ของประชากรโลก มีรายได้ต่ำกว่า $ 1 per day 2/3 ของประชากรโลก นอนหลับ ท้องไม่อิ่ม นำไปสู่คำถาม (1) ทำไมถึงจน ? (2) อะไรทำให้จน ? (3) วิธีหลีกเลี่ยงความจน ?.
E N D
I. กลไกและความหมายที่สำคัญทางเศรษฐศาสตร์ 1. Poverty & Economic 1/4 ของประชากรโลก มีรายได้ต่ำกว่า $ 1 per day 2/3 ของประชากรโลก นอนหลับ ท้องไม่อิ่ม นำไปสู่คำถาม (1) ทำไมถึงจน ? (2) อะไรทำให้จน ? (3) วิธีหลีกเลี่ยงความจน ?
1.1 เศรษฐศาสตร์เกิดจากความต้องการ • มนุษย์มีความต้องการที่ไม่จำกัดหรือไม่อิ่มตัว • กิจกรรมที่สนองตอบต่อความต้องการทำให้เกิดความ ต้องการเพิ่มตามมา 1.2 ปัญหาหลักของเศรษฐศาสตร์ : ทรัพยากรจำกัด • เนื่องจากทรัพยากรไม่สามารถเพิ่มได้ทันกับความต้องการ • เทคโนโลยีที่มีในการผลิต มีขอบเขตในการพัฒนา • คน ทรัพยากรในการผลิตที่ถูกเชื่อมโยงด้วย ทุน เทคโนโลยี
1.3 กำลังทางเศรษฐกิจ • มีวิธีวัดอยู่ 2 แบบ คือ GDP & GNP • PPC ใช้แสดงถึงกำลังการผลิต ภายใต้ส่วนผสมของ ทรัพยากรที่มีอยู่ และระดับเทคโนโลยีที่ใช้ • The Opportunity Cost Principle เป็นหลักในการคิดต้นทุนในทางเศรษฐศาสตร์ 1.4 มาตรฐานการครองชีพ • GDP/GNP วัดในหน่วยของมูลค่ามากกว่าหน่วยของกายภาพ จึงมีภาพลวงตา จากระยะได้ง่าย • Per capita GDP อาจเป็นมาตรวัดมาตรฐานการครองชีพได้อย่างหยาบๆ
2. เหตุที่ทำให้ “จน”และเงื่อนไขที่ทำให้ “รวย” 2.1 คุณภาพของแรงงาน • ประชากร จำนวนแรงงาน คุณภาพ • นอกจากโรคภัยไข้เจ็บแล้ว การศึกษาเป็นกุญแจที่ สำคัญในการปรับปรุงคุณภาพของแรงงาน • Brain Drain จาก LDC ไป DC
2.2 จำนวนทุน และการสะสมทุน • ทุนมีน้อยเมื่อเทียบกับแรงงาน ทำให้แรงงานมี Productivity ต่ำ และเป็นที่มาของความจน • ทุน ไม่จำเป็นต้องเป็นเงินแต่เพียงอย่างเดียว การสะสมทุน = การเปลี่ยนแปลงในทุน = การลงทุน • คนรวยมีโอกาสในการสะสมทุนมากกว่าคนจน เนื่องจากรายได้ไม่หมดไปกับการบริโภค การไหลของทุนจึงมาจากประเทศที่รวย (DC) สู่ประเทศที่จน • Capital Flight
2.3 Technology • mean & method to combine available resources • การพัฒนาเทคโนโลยีมักจะไปด้วยกันกับความก้าวหน้าระดับการศึกษา และการสะสมทุน (คนต้องท้องอิ่มก่อน จึงจะมีสติปัญญา) • เทคโนโลยีอาจจะไม่จำเป็นต้องพัฒนาภายในประเทศแต่เพียงอย่างเดียว อาจมาจากการซื้อ ขาย ยืม ส่งคนไปศึกษา อบรม หรือแม้แต่ขโมย
2.4 Efficiency • การมีแรงงาน ทุน และทรัพยากร มิได้เป็นเงื่อนไขของความสำเร็จ • ประสิทธิภาพเป็นเงื่อนไขที่ทำให้สามารถบรรลุถึงศักยภาพของกำลังทางเศรษฐกิจของประเทศได้ เพราะจะทำให้อยู่บน PPC ในขณะที่คุณภาพ แรงงาน การสะสมทุน การพัฒนา เทคโนโลยี จะช่วยให้ PPC ขยายออกไปได้
3. การกระจายรายได้ • ผลพวงของรายได้หรือความเจริญก้าวหน้า อาจถูกแบ่งอย่างไม่เท่าเทียมกันก็ได้ • กำลังทางเศรษฐกิจที่จัดโดย GDP หรือมาตรฐานการครองชีพที่จัดโดย per capita GDP จึงอาจไม่ใช่เครื่องชี้ของการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม
4. บทบาทของรัฐ • ในการแก้ปัญหาความจน รัฐมักจะเป็นส่วนหนึ่งของปัญหา มากกว่าเป็นการช่วยแก้ปัญหา โดยเฉพาะอย่างยิ่งรัฐของประเทศ LDC • อุปสรรคที่สำคัญในการพัฒนาของ LDC คือสงครามและการเมืองที่ใช้เสถียรภาพ • บทบาทของรัฐจึงควรที่จะดำเนินนโยบาย ที่จะปรับปรุงคุณภาพแรงงาน สร้างโอกาส/เงื่อนไขในการสะสมทุนเพิ่มระดับเทคโนโลยีและประสิทธิภาพ ลดอัตราการเกิดของประชากร
II. เศรษฐกิจไทย และเศรษฐกิจโลก • Protection vs. Free Trade 1.1 Protectionist Viewpoint • ควบคุมการนำเข้าเพื่อลดการแข่งขันจากสินค้า ต่างประเทศ • เป็นหนทางในการแก้ไขดุลการค้า และ/หรือดุลการชำระเงิน • ส่งเสริม/ป้องกันกิจการที่มีความสำคัญต่อประเทศ ในบ้าน ความมั่นคง หรือสวัสดิการ
1.2 Free Trade Viewpoint • การลดสิ่งกีดขวางทางการค้า ทำให้ประชาชนมีสวัสดิการ ดีขึ้น • ทำให้เกิดการแบ่งงานตามความถนัด (Specialization)
2. กลไกทางเศรษฐศาสตร์ กับการค้าระหว่างประเทศเพื่อแก้ไขข้อขัดแย้งทั้ง 2 โดยกลไกเศรษฐศาสตร์ 2.1 การค้าเกิดขึ้นได้อย่างไร • Its takes two to tango การนำเข้า (ซื้อมา) ไม่สามารถทำได้โดยปราศจาก การส่งออก (ขายไป)
น้ำมัน น้ำมัน 200 c1 100 100 50 c0 P0 P1 50 ข้าว ข้าว 200 100 2.2 ผลของการซื้อขาย แลกเปลี่ยน (การค้า) • ในกรณีไม่มีการค้า การบริโภค/ผลิต จะอยู่ในระดับที่ต่ำ กว่า มีการค้าที่ C1และ P1 ก. ข. 25 50
Terms of trade ระหว่างข้าว และน้ำมันของประเทศ ก. และ ข. ก. ข. น้ำมัน 1 2 ข้าว 2 1 - กรณีที่มีการค้าระหว่างกัน จะก่อให้เกิด (1) การแบ่งงานที่ถนัด (2) ผู้บริโภคได้รับสินค้าในราคาที่ถูกกว่าเดิม (3) มีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ (Comparative advantage) - สาเหตุที่ทำให้มีความได้เปรียบที่แตกต่างกันไปก็เนื่องมาจากทรัพยากรและระดับของเทคโนโลยี
2.3 การชำระเงินค่าสินค้าระหว่างประเทศ • การค้าระหว่างประเทศต่างจากในประเทศที่ (1) มีความแตกต่างในสกุลของเงิน (2) จุดมุ่งหมายทางการเมือง และชาตินิยมที่ไม่เหมือนกัน • อัตราแลกเปลี่ยน (exchange rate) เป็นตัวเชื่อมระหว่างเงินตราสกุลต่างๆกัน • ในกรณีที่ไม่มีการแทรกแซงจากรัฐ อัตราแลกเปลี่ยนหรือราคาของเงินตราต่างประเทศ จะถูกกำหนดจากอุปสงค์และอุปทานของเงินตราต่างประเทศนั้นๆ ดังเช่น ราคาสินค้าอื่นๆ • อุปสงค์หรือความต้องการในเงินตราต่างประเทศจะมาจากการนำเข้า (ซื้อมา) ในขณะที่อุปทานในเงินตราต่างประเทศจะมาจากการส่งออก (ขายไป)
3. การวิเคราะห์ข้อขัดแย้ง 3.1 การควบคุมการนำเข้าเพื่อปกป้องอุตสาหกรรมภายในประเทศ • จะก่อให้เกิดผลเสียทั้งในด้านรายได้ และมาตรฐานการครองชีพของประชากรในประเทศ เนื่องจาก (1) มีสินค้า/บริการ ให้เลือกบริโภคน้อยและมีราคาแพง (2) การค้าระหว่างประเทศไม่สามารถทำด้านเดียว (ส่งออก/นำเข้า) ได้ จำเป็นต้องเกิดคู่กันไป ซึ่งทำให้มีการผลิตเกิดขึ้นมากกว่าไม่มีการค้า • การควบคุมการนำเข้าจะก่อให้เกิดผลดีและเสียกับหน่วยทางเศรษฐกิจอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ (ทำให้เกิดผู้ชนะและแพ้) น้ำหนักของผลดีที่เกิดขึ้น อาจน้อยกว่าผลเสีย
3.2 ปัญหาการชำระเงิน • ดุลการค้าที่ขาดดุล ทำให้ต้องมีเงินไหลเข้าเพิ่ม ทำให้ดุลการชำระเงินไม่ขาดดุลไปด้วย • หากให้มีการแทรกแซงอัตราแลกเปลี่ยนกลไกของอัตราแลกเปลี่ยนจะทำให้ดุลการค้าได้ดุลในที่สุด • หากมีการแทรกแซง หรือใช้อัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่ (fixed exchange rate) ทางเลือกในการแก้ดุลการค้าขาดดุล คือ (1) ลดค่าเงิน หรือ (2) ควบคุมการนำเข้า ซึ่งฝ่ายการเมืองมักจะมีแนวโน้มที่จะเลือกอย่างที่ (2) มากกว่า (1)
3.3 การปกป้องอุตสาหกรรมที่สำคัญต่อความมั่นคง/สวัสดิการ • เป็นข้ออ้างภาวะการเมืองมากกว่าเศรษฐกิจ • ถึงแม้ในเวลาสงคราม ก็ยังคงมีการพึ่งพาวัตถุดิบ สินค้าจากต่างประเทศอยู่ดี
III. หนี้ของประเทศ 1. หลักการและเหตุผล • การเพิ่มขึ้นในหนี้ของประเทศมักเกิดจาก สงคราม หรือ ความตกต่ำทางเศรษฐกิจ • การสื่อความหมายมักกระทำในรูปของ สัดส่วนหรือร้อยละ มากกว่าอย่างอื่น • หนี้สินทั้งภายในและภายนอกที่รัฐบาลเป็นผู้กู้และ/หรือค้ำประกัน • เป็นภาระผูกพันต่องบประมาณ ผู้รับภาระทั้งเงินต้นและดอกเบี้ยคือประชาชน • ไม่รวมหนี้นของสถาบันการเงินที่เป็นของรัฐ 2. อะไรคือหนี้สาธารณะ (public debt)
3. ปัญหาของหนี้สาธารณะ • รัฐบาลล้มละลายได้หรือไม่ • การผลักภาระหนี้ระหว่าง tax vs. debt financing • ผลกระทบในด้านเศรษฐศาสตร์ • โดยการเก็บภาษี • โดยการกู้ยืม • โดยการเพิ่มปริมาณเงิน • ทั้ง 3 วิธีก่อให้เกิดผลกระทบในทางเศรษฐกิจไม่เหมือนกัน 4. วิธีการสร้างหนี้ของรัฐ
5. เมื่อใดจึงควรกู้ • การลงทุนในสินค้าสาธารณะ (public goods) • เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ หนี้โดยตรง ภาระผูกพัน (direct liabilities) (contigent liabilities) explicit การกู้ของรัฐบาล การเข้าค้ำประกัน ค่าใช้จ่ายประจำ implicit บำเหน็จ/บำนาญ การผิดนัดชำระหนี้ กองทุนประกันสังคม 6. โครงสร้างหนี้สาธารณะ